ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ภาพรวมและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความตกลง FATCA
(Foreign Account Tax Compliance Act) ศรุต จงบัญญัติเจริญ
2
Background FATCA Intergovernmental Agreement Bradley Birkenfeld 2001
History U.S. Tax Rule Bradley Birkenfeld 2001 2009 2010 2016 Qualified Intermediary (QI) FATCA Intergovernmental Agreement Background
3
FATCA กฎหมายของสหรัฐอเมริกา ป้องกันการหลีกเลี่ยงภาษี
กำหนดหน้าที่รายงานข้อมูล หัก ณ ที่จ่าย FATCA
4
IGA ความตกลงระหว่างรัฐบาล 4 มีนาคม 2559 IGA คือ Model 1A
5
IGA สาระสำคัญของ IGA Common Agreement Annex I Annex II
6
Financial Institutions
สถาบันการเงิน สถานบันการเงินที่รับฝากเงิน สถาบันการเงินที่รับฝากหลักทรัพย์ นิติบุคคลที่ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการลงทุน บริษัทประกันภัยที่กำหนด
7
U.S. Account บุคคลสัญชาติสหรัฐฯ บุคคลที่ถือหนังสือเดินทางของสหรัฐฯ
บัญชีบุคคลสหรัฐฯ บุคคลสัญชาติสหรัฐฯ บุคคลที่ถือหนังสือเดินทางของสหรัฐฯ นิติบุคคลที่ถือหุ้นโดยบุคคลสหรัฐฯ มากกว่าร้อยละ 25 ผู้ที่ถือกรีนการ์ด และได้อาศัยอยู่ในสหรัฐฯ เป็นเวลาต่อเนื่องหลายวันในช่วงเวลาสามปี
8
การตรวจสอบการอาศัยอยู่ในสหรัฐฯ ตามปีปฎิทิน (Substantial Present Test)
1. ปีปัจจุบันนั้นบุคคลต้องอาศัยอยู่ในสหรัฐฯ อย่างน้อย 31 วัน หากนับรวมในสองปีที่ล่วงมาแล้ว บุคคลดังกล่าวอยู่ในสหรัฐฯ รวมกันได้ 183 วัน ในปีปัจจุบันให้นับจำนวนวันที่อาศัยอยู่ในสหรัฐฯ ตามจริง ย้อนหลัง 1 ปี : ให้นับหนึ่งในสาม (1/3) ของจำนวนวันที่อาศัยอยู่ในสหรัฐฯ ย้อนหลัง 2 ปี : ให้นับหนึ่งในหก (1/6) ของจำนวนวันที่อาศัยอยู่ในสหรัฐฯ บุคคลผู้นั้นอาศัยอยู่ในสหรัฐฯ ไม่ถึง 183 วัน ย่อมไม่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้สหรัฐฯ
9
การตรวจสอบการอาศัยอยู่ในสหรัฐฯ ตามปีปฎิทิน (Substantial Present Test)
ในปี 2017 นายศรี อยู่ในสหรัฐฯ 120 วัน (นับจำนวนวันตามจริง) ในปี 2016 นายศรี อยู่ในสหรัฐฯ 40 วัน (1/3 ของ 120 วัน) ในปี 2015 นายศรี อยู่ในสหรัฐฯ 20 วัน (1/6 ของ 120 วัน)
10
Financial Institutions under IGA
สถานบันการเงินที่ต้องรายงานข้อมูล สถาบันการเงินตาม IGA สถานบันการเงินที่ได้รับยกเว้นหรือผ่อนผัน
11
Reporting Financial Institutions
สถาบันการเงินที่ต้องรายงานข้อมูล ประเภทที่มีการรับฝากเงิน ประเภทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการลงทุน กลุ่มธุรกิจประกันภัยบางประเภท
12
Non-Reporting Financial Institutions
สถาบันการเงินที่ไม่ต้องรายงาน สถาบันการเงินและกองทุนที่ได้รับยกเว้น สถาบันการเงินที่เป็นหน่วยงานของรัฐเป็นเจ้าของ สถาบันการเงินที่องค์กรระหว่างประเทศ หรือหน่วยงานที่องค์กรระหว่างประเทศเป็นเจ้าของทั้งหมด ธนาคารกลาง กองทุนที่ได้รับยกเว้น กองทุนเพื่อการเลี้ยงชีพ กองทุนเพื่อการเลี้ยงชีพวงกว้าง กองทุนเพื่อการเลี้ยงชีพวงแคบ กองทุนบำเหน็จบำนาญ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (PVD) กองทุนการออมแห่งชาติ สถาบันการเงินที่ถือว่าปฏิบัติตาม FATCA แล้ว สถาบันการเงินขนาดเล็ก สถาบันการเงินท้องถิ่น สถาบันการเงินที่มีเฉพาะบัญชีมูลค่าต่ำ บริษัทผู้ออกบัตรเครดิต
13
สถาบันการเงินที่ไม่ต้องรายงานข้อมูล
สถาบันการเงินที่ไม่ต้องรายงาน ได้แก่ 1. สถาบันการเงินและกองทุนที่ได้รับยกเว้น (Exempt Beneficial Owner) 1.1 สถาบันการเงินได้รับยกเว้น - สถาบันการเงินที่หน่วยงานของรัฐเป็นเจ้าของ - สถาบันการเงินที่องค์กรระหว่างประเทศ หรือหน่วยงานที่องค์กรระหว่างประเทศเป็นเจ้าของทั้งหมด - ธนาคารกลาง (ธนาคารแห่งประเทศไทย)
14
1.2 กองทุนที่ได้รับยกเว้น - กองทุนเพื่อการเลี้ยงชีพ (ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามสนธิสัญญา) - กองทุนเพื่อการเลี้ยงชีพวงกว้าง - กองทุนเพื่อการเลี้ยงชีพวงแคบ - กองทุนบำเหน็จบำนาญ - กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (PVD) - กองทุนการออมแห่งชาติ
15
สถาบันการเงินที่ไม่ต้องรายงานข้อมูล
2. สถาบันการเงินที่ถือว่าปฏิบัติตาม FATCA แล้ว (Deemed – Compliant FI) - สถาบันการเงินขนาดเล็ก (Small or Limited Scope FI) - สถาบันการเงินท้องถิ่น (Local Bank) - สถาบันการเงินที่มีเฉพาะบัญชีที่มีมูลค่าต่ำ - บริษัทผู้ออกบัตรเครดิต
16
Information to be Exchanged
ข้อมูลที่ต้องรายงาน ชื่อ/ที่อยู่/U.S. TIN/เลขที่บัญชี ชื่อหรือเลขที่ระบุตัวตนของสถาบันการเงินไทย ยอดรวมของดอกเบี้ยและเงินปันผล และยอดรวมทั้งหมดของรายได้อื่น ยอดรวมสุทธิที่จ่ายหรือโอนเข้าบัญชีที่ต้องรายงาน
17
วิธีการในการนำส่งข้อมูล
ประเทศไทยเลือกใช้รูปแบบการนำส่งข้อมูลประเภท Model 1 A (Reciprocal) โดยใช้ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูล (International Data Exchange Service: IDES) เรียกวิธีนี้ว่า Model 1 Option 2 (M1O2)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.