งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์
ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์ รศ พญ ธันยวีร์ ภูธนกิจ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย HIVNAT, ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย 9 มีนาคม 2560 สัมมนาเอดส์ชาติ

2 1

3

4

5 มุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์
ลดการติดเชื้อรายใหม่ ลดการป่วย ลดการตีตรา

6 HIV/AIDS in Thailand 2015

7 Ending AIDS in Thailand Less than 1,000 new HIV cases per year
Eliminate MTCT HIV testing 90% ในกลุ่มประชากรหลัก 10% ในประชากรกลุ่มอื่น Early ART For all HIV cases UN Joint Team Thailand

8 การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีแบบผสมผสาน
ถุงยางอนามัย ไมโครบิไซด์ ยาต้านไวรัสเอดส์ (HAART) วัคซีนเอชไอวี การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี การป้องกันจาก แม่สู่ลูก (PMTCT) เข็มสะอาด PrEP และ PEP การขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย รักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ดัดแปลงจากสไลด์ พญ นิตยา ภานุภาค

9 การใช้ยาต้านไวรัสเพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
PrEP เพร็พ (Pre-Exposure Prophylaxis) PEP เพ็พ (Post-Exposure Prophylaxis) TasP (Treatment as prevention) ก่อนสัมผัสเชื้อ เวลาของการถ่ายทอดเชื้อ หลังติดเชื้อ ข้อดี มีการศึกษารองรับประสิทธิผล ความท้าทาย การกินยาถูกต้องสม่ำเสมอ ให้บริการที่ไหน อย่างไร โดยใคร ความคุ้มทุน ข้อดี ใช้ยาระยะสั้นกว่า PrEP ความท้าทาย การกินยาถูกต้องสม่ำเสมอ ต้องเริ่มยาภายใน 72 ชั่วโมง ข้อดี ผลดีต่อสุขภาพผู้กินยาเอง และต่อการลดโอกาสถ่ายทอดเชื้อลง ความท้าทาย การกินยาถูกต้องสม่ำเสมอระยะยาว ผลข้างเคียงระยะยาว ชี้ให้เห็นว่า HCT เป็นส่วนสำคัญที่สุดทั้งสำหรับ PrEP และ PEP โดยอธิบายสั้นๆ ว่า PrEP และ PEP คืออะไร Modified from clinicaloptions.com/hiv

10 การยุติการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก Elimination of HIV mother to child transmission
7 มิถุนายน 2559 HIV transmission rate in Thailand is 1.9%

11 แสดงพัฒนาการนโยบายป้องกันการติดเชื้อในไทย
พัฒนาการของนโยบายและแนวทางการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกในประเทศไทย DNA PCR ในทารก - การตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในเด็กที่เกิดจากแม่ติดเชื้อโดยวิธีแอนติบอดี้ที่ เดือน DNA PCRตามความเสี่ยงทารก การวินิจฉัยในทารก - นมผง (12 เดือน) - นมผง (18 เดือน) นม ยาต้าน PMTCT ลูก ยาลูก AZT x 4 สัปดาห์ AZT x 4 สัปดาห์ หรือ AZT/3TC 6 สัปดาห์ +NVP 2-4 สัปดาห์ AZT/3TC/NVP 6 สัปดาห์ ยาต้าน PMTCT แม่ การให้ยาสูตรสั้น (AZT 34 สัปดาห์) AZT 28 สัปดาห์+ NVP 1 ครั้ง HAARTในหญิง ตั้งครรภ์ติดเชื้อทุกราย (14 wks) และให้ยาต่อตามข้อบ่งชี้ HAART ทุกราย เริ่มยาทันที และให้ยาต่อเนื่องหลังคลอดทุกรายที่สมัครใจ AZT 28 สัปดาห์+ NVP 1 ครั้ง และ HAART ตามข้อบ่งชี้ แสดงพัฒนาการนโยบายป้องกันการติดเชื้อในไทย การให้การปรึกษาเพื่อตรวจหาการติดเชื้อโดยสมัครใจและเป็นความลับ(VCT) -การให้การปรึกษาแบบคู่ VCT VCT และนมผสมสำหรับเด็กที่เกิดจากแม่ติดเชื้อ 12 เดือน

12 อัตราการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกประเทศไทย พ.ศ. 2544- 2558
อัตราการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกประเทศไทย พ.ศ MTCT rate >20% in mid 1990 PHOMS sentinel provincial data, (2001 = 4 provinces; 2004 = 14 provinces) National AIDS Program data , all provinces WHO option A (AZT+single dose NVP) WHO option B (HAART) WHO option B+ (lifelong HAART) Short-course AZT implemented * : estimates of MTCT transmission for women not reported in PHOMS; : global AIDS response report ; : SPECTRUM version 5.4 Lolekha r et al, MMWR 2016

13 ลดอัตราการติดเชื้อ ต่ำกว่าร้อยละ 2
2558 ลดอัตราการติดเชื้อ ต่ำกว่าร้อยละ 2 2563 ลดอัตราการติดเชื้อ ต่ำกว่าร้อยละ 1 2573 ไม่มีทารกติดเชื้อรายใหม่

14 ทารกไม่ติดเชื้อ เอชไอวี
ลดอัตราการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงไทย ให้ยาต้านไวรัส (สูตรสามตัว) ในหญิงตั้งครรภ์ ทารกไม่ติดเชื้อ เอชไอวี ตรวจเอชไอวี ในหญิงตั้งครรภ์และสามี ให้ยาต้านไวรัสสูตรเข้มข้น แก่หญิงตั้งครรภ์ & ทารกที่เสี่ยงสูง

15 รู้เร็ว...เข้าถึงยาต้าน...ชีวิตยืนยาว

16 Thailand treatment cascade 2015
90% of PLHIV diagnosed 90% of diagnosed PLHIV are on treatment 90% PLHIV on treatment have suppressed viral load Source: Prepared by based on UNAIDS 2016 HIV Estimates; and Global AIDS Response Progress Reporting (GARPR)

17 รู้เร็ว... การวินิจฉัยเอชไอวีในผู้ใหญ่
Thomas S. Alexander Clin. Vaccine Immunol. 2016;23:

18 รู้เร็ว... การวินิจฉัยเอชไอวี…ตรวจที่ไหน

19 รู้เร็ว... การวินิจฉัยเอชไอวี...ในสถานพยาบาล
Facility-based HIV testing

20 รู้เร็ว... การคัดกรองด้วยตนเอง
การคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวีด้วยตัวเอง (HIV self-test) ตรวจตั้งครรภ์ ตรวจระดับน้ำตาล ตรวจเอชไอวี ออสเตรเลีย,ชายรักชาย Self HIV testing เพิ่มความถี่ในการตรวจเลือดจาก 2 เป็น 4 ครั้ง/ปี Jamil MS. Lancet HIV 2017 Feb

21 การวินิจฉัยทารกติดเชื้อเอชไอวี HIV Early infant diagnosis
Naiwatanakul T. Int AIDS Soc 2016;19:20511. Sirirungsri W. Lancet HIV 2016, 3;e259-e265.

22 Pediatric Treatment Coordinator
โครงการบูรณาการวินิจฉัยและรักษาทารกติดเชื้อเอชไอวี (ACC) เริ่มสิงหาคม 2557 Blood samples from HIV-exposed infants for HIV DNA PCR PCR in infants 16 Laboratories 2 Laboratories EID Coordinator PCR positive PCR positive Pediatric Treatment Coordinator Via + Line 80% ของทารกได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสก่อนอายุ 6 เดือน Active case management to promote early ART initiation North: Chiang Rai 18 province Northeast: Sri Nakarindh 20 provinces South: Hat Yai: 14 provinces Central: Prachomkloa 14 provinces Central: HIVNAT 14 provinces North Chiang Rai Northastern Srinagarindh South Hat Yai Central Prachomklao Central HIVNAT

23 การเข้าถึงการรักษายาต้านไวรัส
CD4 ≤ 200 CD4 ≤ 350 CD4 ≤ 350 + TasP CD4 ≤ 500 All HIV+ 1 2 3 4 5 Recommended since 2003 Recommended since 2010 Incremental approach 2012 + indications for ART at any CD4 Treat ALL 2013 guidelines 2015 guidelines

24

25 ยาต้านไวรัส...หนึ่งเม็ด...วันละครั้ง
AZT/3TC/NVP TDF/3TC/EFV ABC/3TC/DTG TDF/3TC/ETG/COBI

26 ยาต้านไวรัส...ชีวิตยืนยาว
Source: Adapted from Lohse et al, 2007; Hoog et al, 2008, May et al, 2011 & Hogg et al, 2013. Era before highly active antiretroviral therapy (mono- and dual therapy) Era of highly active (triple therapy)

27 Carbotegravir injection + Rilpivirine
                  Long-Acting/Extended Release Antiretroviral Resource Program ยาต้านไวรัส...ชนิดฉีด Carbotegravir injection + Rilpivirine Margolis DA (LATTE-2). Lancet Infect Dis. 2015;15:

28 ลดการตีตรา ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์

29 ลดการตีตรา ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์

30 ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์
ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์ ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการยุติปัญหาเอดส์ ความร่วมมือของภาคีทุกภาคส่วน สิทธิมนุษยชน และ ความเสมอภาค การให้ความรู้ และความเข้าใจภาคประชาสังคม การป้องกัน และ รักษาผู้ติดเชื้อ โดยใช้นวัตกรรมที่เหมาะสม มุ่งสู่เป้าหมาย: ไม่ติด-ไม่ตาย-ไม่ตีตรา


ดาวน์โหลด ppt ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร... เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google