งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อ๊อซ: OARS: Micro skills

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อ๊อซ: OARS: Micro skills"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อ๊อซ: OARS: Micro skills
Darunee Phukao, Ph.D. Mahidol University การถามคำถามปลายเปิด (Open-ended questioning) การชื่นชมยืนยันรับรอง (Affirmation) การฟังอย่างเข้าใจและสะท้อนความ / ฟังแบบโดนใจ (Reflective listening) การสรุปความ (Summarization)

2 วัตถุประสงค์ เพื่อ refresh ทักษะการปรึกษา จุลภาค (Micro skills) OARS ไปใช้ ในการสร้างแรงจูงใจ

3 ทักษะหลัก (primary skills)
อาร์ R: ฟัง แบบโดนใจ (Reflective listening) ความสำคัญ กลไกสำคัญที่ใช้สื่อว่าผู้ให้คำปรึกษาสนใจในตัว ผู้รับบริการ เข้าอกเข้าใจ (Empathy) ในตัวผู้ป่วย เป็นอย่างไร การกล่าวข้อความ มิใช่การตั้งคำถาม มิใช่กับดักการ สื่อสาร

4 การกล่าวข้อความ...ที่ไม่ใช่.... การฟังแล้วไม่โดนใจ (Reflective listening)
กับดักการสื่อสาร

5 2. ให้คำแนะนำ (Sending solutions)
ลักษณะการสื่อสารที่มีความเสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดความไม่ราบรื่นในกระบวนการสื่อสาร (Communication Roadblock) ตัดสิน (Judging) - (การวิพากษ์วิจารณ์/การตีตรา/การวินิจฉัย /การชมเชยแบบเลื่อนลอย) 2. ให้คำแนะนำ (Sending solutions) การสั่ง /การข่มขู่คุกคาม /การใช้เหตุผลทางคุณธรรม /การแนะนำอย่างตรงไปตรงมา/การถามคำถามมากเกินไป 3. หลีกเลี่ยงที่จะตอบสนองต่อความกังวลใจของคู่สนทนา (Avoiding other’s concerns) -การเบี่ยงประเด็น/การให้เหตุผล/การให้กำลังใจอย่างเลื่อนลอย ดร. ดรุณี ภู่ขาว ภาควิชาสังคมและสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล Carl Rogers, Reul Howe, Haim Ginott, Jack Gibb

6 ตัวอย่าง (กับดักการสื่อสาร)
CL CO 1. ลุงคะ เข้าใจคะ ว่าลุงรักลูก แต่ลุงควรรักตัวเอง และห่วงตัวเอง ด้วยนะคะ สุขภาพลุงแย่แล้วนะคะ น้ำหนักก็มากกว่าคนอายุรุ่นราว คราวเดียวกัน ความดันก็สูง 2. ลุงคะ ลุงพอทราบไหมคะ ว่าเดี๋ยวนี้ความก้าวหน้าของการช่วยคนที่ มีปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมต่างๆที่เสี่ยงต่อผลเสียทาง สุขภาพ แบบที่ลุงเป็นอยู่เนี่ย นะมันมีอยู่จริงนะคะลุง 3. เข้าใจคะว่าลุงไม่แน่ใจ ไม่เป็นไรคะ ทุกคนมาครั้งแรกก็เป็นแบบนี้ เอางี้ดีกว่า ลืมเรื่อง ไม่แน่ใจไว้ก่อน ลุงมาฟังคำแนะนำจากดิฉันก่อน ดีกว่าคะ ว่าลุงควรจะทำตัวอย่างไร บอกตรงๆนะหมอ ไอ้ผมเนี่ยไม่ค่อย แน่ใจ การมีคงมีโค๊ช บำบง บำบัด ในเรื่อง ของการเปลี่ยนแปลง มาก็เพราะลูกเนี่ย แหละ

7 ตัวอย่าง (กับดักการสื่อสาร)
CL CO 1. ลุงคะ เข้าใจคะ ว่าลุงรักลูก แต่ลุงควรรักตัวเอง และห่วงตัวเอง ด้วยนะคะ สุขภาพลุงแย่แล้วนะคะ น้ำหนักก็มากกว่าคนอายุรุ่นราว คราวเดียวกัน ความดันก็สูง 2. ลุงคะ ลุงพอทราบไหมคะ ว่าเดี๋ยวนี้ความก้าวหน้าของการช่วยคนที่ มีปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมต่างๆที่เสี่ยงต่อผลเสียทาง สุขภาพ แบบที่ลุงเป็นอยู่เนี่ย นะมันมีอยู่จริงนะคะลุง 3. เข้าใจคะว่าลุงไม่แน่ใจ ไม่เป็นไรคะ ทุกคนมาครั้งแรกก็เป็นแบบนี้ เอางี้ดีกว่า ลืมเรื่อง ไม่แน่ใจไว้ก่อน ลุงมาฟังคำแนะนำจากดิฉันก่อน ดีกว่าคะ ว่าลุงควรจะทำตัวอย่างไร ก่อนอื่นลุงต้องทำ ทั้งหมด 4 เทคนิค นะคะ ฟังนะคะ 1…… บอกตรงๆนะหมอ ไอ้ผมเนี่ยไม่ค่อย แน่ใจ การมีคงมีโค๊ช บำบง บำบัด ในเรื่อง ของการเปลี่ยนแปลง มาก็เพราะลูกเนี่ย แหละ

8 ทักษะการฟังแบบโดนใจ ทักษะการฟังแบบโดนใจ จะเชื่อมโยง D กลับไปยัง A
คนพูด (CL) คนฟัง (CO) C B A D ทักษะการฟังแบบโดนใจ จะเชื่อมโยง D กลับไปยัง A : Hypothesis testing Thomas Gordon’s communication model

9 ผมไม่ค่อยแน่ใจ การมีคงมีโค๊ช บำบง บำบัด ในเรื่องของ การเปลี่ยนแปลง
เราไม่มั่นใจยังงัยก็ไม่รู้ การเข้ามาหาผู้ให้คำปรึกษาเป็นสิ่งที่ฉันต้องการหรือ มันดูแปลกๆที่จะต้องมาคุยกับใครก็ไม่รู้ ที่ฉันไม่เคยรู้จักมาก่อน โดยเฉพาะมาคุยเรื่องนี้อีก นอกจากนั้น ฉันจะเชื่อใจได้อย่างไร ว่าถ้าคุยไปแล้ว เขาจะไม่เอาเรื่องที่เราคุยกันไปบอกพ่อแม่ฉัน เฮ๊อ แต่ถ้าฉันไม่คุย ฉันคงโดนพ่อแม่สวดยับ อาจจะโดนยิ่งกว่าคุยกับคนพวกนี้ เซ็งจริงๆเลยตรู A ผมไม่ค่อยแน่ใจ การมีคงมีโค๊ช บำบง บำบัด ในเรื่องของ การเปลี่ยนแปลง B

10 ทักษะการฟังแบบโดนใจ ทักษะการฟังแบบโดนใจ จะเชื่อมโยง D กลับไปยัง A
ผมไม่ค่อยแน่ใจ การมีคงมีโค๊ช บำบง บำบัด ในเรื่องของการเปลี่ยนแปลง คนพูด (CL) คนฟัง (CO) C B A D ทักษะการฟังแบบโดนใจ จะเชื่อมโยง D กลับไปยัง A Thomas Gordon’s communication model

11 ฉันไม่แน่ใจ ว่าการพูดคุยจะช่วยให้ฉันเปลี่ยนได้
C= หู & หัว หู หัว 1.  สังเกตว่าผู้พูดรู้สึกอย่างไร มุ่งที่คำที่แสดงออกซึ่งความรู้สึก 2.  จำเนื้อหาของข้อความอย่างคร่าวๆ 3.  สังเกตท่าทางของผู้พูดขณะพูด 4.  ถามตัวเองว่าถ้าเราอยู่ในสถานการณ์นั้น ในแบบเดียวกับผู้พูด เราจะรู้สึกอย่างไร ถ้าผู้พูดพูดไปด้วยอารมณ์ใด อารมณ์หนึ่งอย่างท่วมท้น ให้พยายามกระตุ้นให้เขาระบายความรู้สึกนั้น เพื่อเป็นการลด อารมณ์ดังกล่าว 6. ใช้ข้อความที่มิได้จัดอยู่ในหมวดหมู่ ของลักษณะการสื่อสารที่มีความเสี่ยงสูง ที่จะก่อให้เกิดความไม่ราบรื่นในกระบวนการสื่อสาร (Communication Roadblock) C คุณไม่ต้องการเสียเวลามาพูดคุยที่นี่ คุณไม่แน่ใจว่าตัวคุณต้องการมาที่นี่จริงหรือเปล่า คุณรู้สึกหงุดหงิด ไม่พอใจ ที่พ่อแม่บังคับให้คุณมาที่นี่ ดูเหมือนว่าคุณไม่มั่นใจว่าการพูดคุยจะช่วยคุณได้ D

12 ทักษะการฟังแบบโดนใจ ฉันไม่แน่ใจ ว่าการพูดคุย จะช่วยให้ฉันเปลี่ยนได้
ผมไม่ค่อยแน่ใจ การมีคงมีโค๊ช บำบง บำบัด ในเรื่องของการเปลี่ยนแปลง คนพูด (CL) คนฟัง (CO) C B D A คุณไม่ต้องการเสียเวลามาพูดคุยที่นี่ คุณไม่แน่ใจว่าตัวคุณต้องการมาที่นี่จริงหรือเปล่า คุณโกรธที่พ่อแม่บังคับให้คุณมาที่นี่ คุณไม่มั่นใจว่าการพูดคุยจะช่วยคุณได้ เราไม่มั่นใจยังงัยก็ไม่รู้ การเข้ามาหาผู้ให้คำปรึกษาเป็นสิ่งที่ฉันต้องการหรือ มันดูประหลาดๆที่จะต้องมาคุยกับใครก็ไม่รู้ ที่ฉันไม่เคยรู้จักมาก่อน โดยเฉพาะมาคุยเรื่องนี้อีก นอกจากนั้น ฉันจะเชื่อใจได้อย่างไร ว่าถ้าคุยไปแล้ว เขาจะไม่เอาเรื่องที่เราคุยกันไปบอกพ่อแม่ฉัน เฮ๊อ แต่ถ้าฉันไม่คุย ฉันคงโดนพ่อแม่สวดยับ อาจจะโดนยิ่งกว่าคุยกับคนพวกนี้ เซ็งจริงๆเลยตร Thomas Gordon’s communication model

13 ทักษะการฟังแบบโดนใจ คนพูด (CL) คนฟัง (CO)
B A D ทักษะการฟังแบบโดนใจ จะเชื่อมโยง D กลับไปยัง A Thomas Gordon’s communication model

14 หลักทักษะการฟังแบบสะท้อนความ (D)
1.  สังเกตว่าผู้พูดรู้สึกอย่างไร มุ่งที่คำที่แสดงออกซึ่งความรู้สึก 2.  จำเนื้อหาของข้อความอย่างคร่าวๆ 3.  สังเกตท่าทางของผู้พูดขณะพูด 4.  ถามตัวเองว่าถ้าเราอยู่ในสถานการณ์นั้น ในแบบเดียวกับผู้พูด เราจะรู้สึกอย่างไร 5. ถ้าผู้พูดพูดไปด้วยอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งอย่างท่วมท้น ให้ พยายามกระตุ้นให้เขาระบายความรู้สึกนั้น เพื่อเป็นการลด อารมณ์ดังกล่าว 6. ใช้ข้อความที่มิได้จัดอยู่ในหมวดหมู่ของลักษณะการสื่อสารที่มี ความเสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดความไม่ราบรื่นในกระบวนการสื่อสาร (Communication Roadblock) Express Empathy: How to do this!: ดร. ดรุณี ภู่ขาว ภาควิชาสังคมและสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

15 ประเภทของการฟังแบบโดนใจ
ง่าย ซับซ้อน รู้สึก (Feelings) สองด้าน (Double- side) หนัก (Amplified ) พยาบาลสุขสมร: คุณมาที่นี่เพราะ กำลังยุ่งยากใจ เรื่องราวที่มีกับ น้องสาวคุณ พยาบาลสุขสมร: ถึงแม้ว่าคุณจะ ตระหนักว่าตัวคุณดูแลสุขภาพ ตนเองได้อย่างดี แต่ดูเหมือนว่า น้องสาวก็กังวลเป็นห่วงคุณอยู่บ้าง พยาบาลสุขสมร: น้องสาว มักจะ มาหาเรื่องรบกวนคุณ อิจฉาคุณ บ่อยๆและตอนนี้เธอกำลังหาเรื่อง คุณโดยข่มขู่ว่าจะเอาเรื่องคุณไป ฟ้องเจ้านายของคุณ ดร. ดรุณี ภู่ขาว ภาควิชาสังคมและสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


ดาวน์โหลด ppt อ๊อซ: OARS: Micro skills

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google