ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ทิศทางการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
วันที่ 25 พฤศจิกายน 2555 ณ โรงแรมหินสวยน้ำใสรีสอร์ท จังหวัดระยอง โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
2
แนวคิดและกลยุทธ์การส่งเสริมสุขภาพ
3
สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
กฎบัตรออตตาวาว่าด้วย การส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มความสามารถของชุมชน สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ พัฒนา ทักษะ ส่วนบุคคล Enable Mediate Advocate ปรับระบบบริการสุขภาพ สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
4
กฎบัตรกรุงเทพ : กลยุทธ์การส่งเสริมสุขภาพในยุคโลกาภิวัฒน์
นโยบาย โครงสร้างพื้นฐาน ปฏิบัติการ พันธมิตร การลงทุน พัฒนานโยบาย ภาวะผู้นำ การปฏิบัติที่ดี การจัดการความรู้ รู้เท่าทันสุขภาพ กฎบัตรกรุงเทพ เพื่อการส่งเสริม สุขภาพ พันธสัญญาสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า ทำให้การส่งเสริมสุขภาพ วาระการพัฒนาโลก ความรับผิดชอบของรัฐ เป้าหมาย ชุมชน ประชาสังคม ข้อกำหนดที่ดีของบรรษัท การสร้าง ศักยภาพ การสร้าง กระแส กฎหมาย กฎ ระเบียบ
5
กลยุทธ์การส่งเสริมสุขภาพโลก ครั้งที่ 7 Nairobi call to action
ภาวะผู้นำ Community Empowerment Partnership & Intersectoral Action Individual Empowerment ข้อมูล เชิงประจักษ์ Building Capacity นโยบาย Strengthening Health System การทำงานเป็นระบบ การพัฒนาทักษะ
6
เสริมสร้างความเข้มแข็งระบบสุขภาพ
ไนโรบี : วิถีสู่การปฏิบัติ พัฒนาศักยภาพ รู้เท่าทันสุขภาพ ภาวะผู้นำ ไนโรบี : วิถีสู่การปฏิบัติ ข้อมูล เชิงประจักษ์ นโยบาย การทำงาน เป็นระบบ การพัฒนา ทักษะ เสริมสร้างความเข้มแข็งระบบสุขภาพ เสริมสร้าง พลังชุมชน พันธมิตร
7
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาสุขภาพใหม่
สุขภาพสู่สุขภาวะองค์รวม สร้างนำซ่อม - การส่งเสริมสุขภาพ จาก Ottawa สู่ Bangkok Charter – Health for All สู่ All for Health การบริหารแบบบูรณาการ – การบริหารคุณภาพ องค์กรแห่งการเรียนรู้ – การจัดการความรู้ พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐(ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๑๒๔ ตอนที่ ๑๖ ก วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๐) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙ แผนยุทธศาสตร์ทศวรรษกำลังคนด้านสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๙ นโยบายด้านสุขภาพ การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ
8
ยุทธศาสตร์เฉพาะ ระดับชาติ ของรัฐบาล (Agenda) ยุทธศาสตร์กระทรวง
การบูรณาการใน ๓ มิติ การวางแผน ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ การนำ สู่การปฏิบัติ การติดตาม กำกับ ประเมินผล ยุทธศาสตร์เฉพาะ ของรัฐบาล (Agenda) ระดับชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง (Function) ระดับกระทรวง ยุทธศาสตร์พื้นที่ (Area) ระดับจังหวัด
9
บทบาทกรมอนามัย ข้อมูล วิจัย&พัฒนา ติดตามประเมินผล คุ้มครองผู้บริโภค
บริหารจัดการ จัดการความรู้ สุขภาพดี สิ่งแวดล้อมดี ชีวีมีสุข บทบาทกรมอนามัย สนับสนุนผู้ให้บริการ ข้อมูล พันธมิตรกับแหล่งทุน เฝ้าระวัง ติดตามประเมินผล พัฒนากำลังคน
10
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
ปี
11
ผลกระทบ ระดับชาติ 10 ปี ผลลัพธ์ 3-5 ปี ผลลัพธ์1-2 ปี กระบวนการ
วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน ผลกระทบ ระดับชาติ 10 ปี อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 70 ปี ผลลัพธ์ 3-5 ปี เด็ก สตรี 1. อัตราตายมารดาไม่เกิน 18 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน [31.8 : 100,000 การเกิดมีชีพ (ปี 2553) ] เด็กวัยรุ่น วัยเรียน 1. อัตรามารดาอายุ ปี ไม่เกิน 50 ต่อพันประชากร [ 54.9 : 1,000 ประชากร (ปี 2554)] 2. เด็กวัยเรียนเป็นโรคอ้วน ไม่เกินร้อยละ 15 [ร้อยละ 17 (ปี 2554)] ผลลัพธ์1-2 ปี เด็ก สตรี 2. ร้อยละของภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอด ไม่เกิน 25 ต่อการเกิดมีชีพพันคน[27.3/25.18/26.65 ในปี 2552/2553/2554 ตามลำดับ ] 3. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่า 60 [ 50.3 (ปี 2554) ] เด็กปฐมวัย 7. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยได้รับการดูแล/กระตุ้นพัฒนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 [ ร้อยละ 80 (ปี 2554) ] 8. ร้อยละของเด็กปฐมวัย (3 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ ไม่เกิน 57 [ ร้อยละ 61.4 (ปี 2550) ] เด็กวัยรุ่น วัยเรียน 4. ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-12 ปี) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนไม่น้อยกว่า 70 [ร้อยละ 65 (2552)] วัยทำงาน 2. ร้อยละของสตรีที่มีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่า 80 [ ร้อยละ 74.4 (ปี 2555) ] (เพิ่ม) ร้อยละของหญิงและชายอายุ 15 ปีขึ้นไป ไม่อ้วน ผู้สูงอายุ 7. ร้อยละของผู้สูงอายุ ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกาย และ ใจ ไม่น้อยกว่า 80 [ ผ่านเกณฑ์“ตำบลต้นแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว” 701 ตำบลจาก 861 ตำบลที่เข้าร่วมกระบวนการ ] กระบวนการ ระบบบริการ 2. ร้อยละของ ANC คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 [ ร้อยละ ใน 14 จังหวัด ] 3. ร้อยละของ WCC คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 [ ร้อยละ 38 ใน 14 จังหวัด ] 4. ร้อยละของ ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ (ระดับดีและดีมาก) ไม่น้อยกว่า 70 [ ศูนย์เด็กเล็กทั่วประเทศ 20,043 แห่ง ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน 5,516 แห่ง (ร้อยละ 27.52) ระดับดี 7,421 แห่ง (ร้อยละ37.03) และระดับดีมาก 6,439 แห่ง (ร้อยละ 32.12) ]
12
แนวคิดและโครงการสำคัญ
ปีงบประมาณ 2556
13
(การส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยอย่างองค์รวม)
ระบบบริการคุณภาพ โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว (การส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยอย่างองค์รวม) ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด/หลังคลอด คลินิกสุขภาพเด็กดี ฝากครรภ์คุณภาพ - ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ - คัดกรอง Thal / HIV โรงเรียนพ่อแม่ อาหาร และโภชนาการ ทันตสุขภาพ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว รพ.ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย รพ.สายสัมพันธ์แม่-ลูก โรงเรียนพ่อแม่ คลินิกนมแม่ คัดกรองทารกแรกเกิด - Thyroid / PKU ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว WCC คุณภาพ โรงเรียนพ่อแม่ ตรวจพัฒนาการเด็ก โภชนาการ นิทาน ของเล่น ทันตสุขภาพ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ชุมชน ชมรมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ / ชมรมแม่อาสา/ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ผลลัพธ์ ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 30 ต่อพันการเกิดมีชีพ ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 7 หรือลดลงจากเดิมปีละ ร้อยละ 0.5 เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 25 หรือ เพิ่มขึ้นจากเดิมปีละ ร้อยละ 2.5 เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 90 %
14
หญิงตั้งครรภ์ / คลอด / หลังคลอด
ก่อนตั้งครรภ์ ลดการตั้งครรภ์วัยรุ่น ลูกครบ 32 สมองดี บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น มุมเพื่อนใจวัยรุ่น พรบ. คุ้มครองอนามัยการเจริญพันธุ์ เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า เด็ก ปี คลินิกสุขภาพเด็กดี วิตามินเสริมธาตุเหล็ก ศูนย์เด็กเล็กเรียนรู้ สรรถนะผู้ดูแลเด็ก รพ.สต. / อสม. กิน กอด เล่น เล่า การส่งเสริม หญิงตั้งครรภ์ / คลอด / หลังคลอด คลินิกฝากครรภ์คุณภาพ โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว วิตามินเสริมแร่ธาตุสำคัญ โรงเรียนพ่อแม่ รพ.สต. / อสม. พัฒนาการ เด็กปฐมวัย แรกเกิด - 3 ปี คลินิกเด็กดีคุณภาพ วิตามินเสริมธาตุเหล็ก หนังสือเล่มแรก รพ.สต. / อสม. กิน กอด เล่น เล่า
15
การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ
1. หนังสือเล่มแรก พัฒนาเจ้าหน้าที่สาธารณสุข มอบนิทานเด็กทุกคน อสม. ส่งเสริม/ติดตาม ผลลัพธ์ เด็กปฐมวัย สมส่วนพัฒนาการสมวัย ศูนย์เด็กเล็กเรียนรู้ ทักษะบุคลากรสาธารณสุข/ ผู้ดูแลเด็ก การมีส่วนร่วมของชุมชน 2. พัฒนาคุณภาพ ศูนย์เด็กเล็ก พัฒนาครูพี่เลี้ยง จัดทำสื่อสนับสนุน ประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก 4. การบริหารจัดการ รพ.สต. นิเทศ ติดตาม พ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก สร้างกระแสสังคม ประเมินโครงการ 3. อสม./องค์กรปกครองท้องถิ่น พัฒนาศักยภาพ อปท. มีส่วนร่วม สนับสนุน เยี่ยมติดตาม
16
โครงการสำคัญปี2556 1.โครงการพระราชดำริ - รพ.สายใยรักแห่งครอบครัว
เป้าหมาย - รพ.สายใยรักแห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ระดับทองร้อยละ 95 - รพ.สต. ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว ร้อยละ 35 ของอำเภอ (อำเภอละ 1 ตำบล)
17
2.โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัย อย่างองค์รวม (EWEC)
2.1 การดูแลหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ 2.2 การดูแลสุขภาพเด็กแรกเกิด-2 ปีอย่างมีคุณภาพ 2.3 การดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ(3-5ปี)
18
เป้าหมายการดำเนินงาน
1.อัตราตายมารดาไม่เกิน 18:100,000 การเกิดมีชีพ 2.หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ร้อยละ 60 3.ภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอด ไม่เกินร้อยละ 25:1,000 การเกิดมีชีพ 4.ANC คุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 5.WCC คุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 6.ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
19
การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและเยาวชน
1.โครงการพระราชดำริ การส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร เป้าหมาย - บุคลากรและประชาชนในพื้นที่เป้าหมายเฉพาะ ได้รับการพัฒนา ด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 2,500 คน 2.โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ - โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับเพชร 154 แห่ง 3.โครงการเด็กไทย ทำได้
20
ส่งเสริมสุขภาพวัยทำงาน
1. การป้องกันมะเร็งเต้านมในสตรี เป้าหมาย - สตรีอายุ ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 80 2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ - โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 180 แห่ง 3.ส่งเสริมสุขภาพชาย – หญิงวัยทอง 4.ส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ
21
แนวคิดการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
แพทย์/พยาบาล ฯลฯ - บริการโรคเรื้อรัง - สมรรถนะ - ระบบส่งต่อ ผู้ช่วยผู้ดูแล หลักสูตร มาตรฐาน พัฒนาสมรรถนะ ต้องพึ่งคนอื่น - บริการทางการแพทย์ - การดูแล กาย ใจ สังคม กองทุนเงินออม แห่งชาติ ส่งเสริมสุขภาพ ไร้พุง คัดกรอง สมองดี อาสาสมัคร สภา / ชมรม นโยบายที่บูรณาการ ยุทธศาสตร์ที่ปฏิบัติได้ คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ พึ่งตนเอง ช่วยคนอื่นได้ ผู้ช่วยผู้ดูแล - หลักสูตร - มาตรฐาน - พัฒนาศักยภาพ การดูแลในชุมชน - อาสาสมัคร - ชมรม - พระ - ระบบบริการทางการแพทย์คุณภาพ - การมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ดูแลตนเองได้บ้าง - การดูแลทางกาย ใจ - การดูแลทางสังคม การดูแลที่บ้าน ศูนย์ดูแลกลางวัน วัดส่งเสริมสุขภาพ
22
โครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ
การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่พึงประสงค์ การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การพัฒนาความพร้อมตามเกณฑ์สถานบริการรองรับผู้สูงอายุ วัดส่งเสริมสุขภาพ เป้าหมาย ผู้สูงอายุที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
23
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.