Advocacy :อัตลักษณ์เชิงคุณธรรม ของวิชาชีพพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Advocacy :อัตลักษณ์เชิงคุณธรรม ของวิชาชีพพยาบาล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Advocacy :อัตลักษณ์เชิงคุณธรรม ของวิชาชีพพยาบาล
พว.สุนีย์ เอี่ยมศิรินุกูล หัวหน้างานการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตโรคหัวใจ(CCU) โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ 5 สค.59

2 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
หัวข้อ ความเป็นมา ความสำคัญ  ความหมาย  กิจกรรม Advocacy  เรื่องเล่า : ประสบการณ์ที่ผ่านมา ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต

3 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
ความเป็นมา “Advocacy” ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต

4 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
“ การพยาบาลเป็นการกระทำต่อบุคคลในฐานะมนุษย์ การพยาบาลจึงต้องกระทำในสิ่งที่เป็นประโยชน์เกิดผลดีต่อความเป็นมนุษย์ ” (Fawcett, 2005, p. 6) ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต ที่มา : กระบวนการปกป้องสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ : โสรัตน์ วงศ์สุทธิธรรม , 2558

5 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
ฟลอเรนซ์ ไนติงเกลกับ Advocacy สิทธิมนุษยชนและ ความเท่าเทียมเสมอภาคของมนุษย์ ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต การป้องกันอันตรายต่อสุขภาพผู้ป่วยทั้งร่ายกายและจิตใจ การดูแลสิ่งแวดล้อมให้สะอาดปลอดภัย (Selanders & Crane, 2012)

6 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
Advocacy เริ่มใช้ในทางกฎหมาย ซึ่งต้องมีบุคคลที่สามารถแก้ต่าง (To plead) หรือให้ คำปรึกษา (To counsel) ก่อนที่จะนำ บุคคลที่เป็นผู้ต้องหาไปขึ้นศาล (Mallik, 1997) ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต ที่มา : กระบวนการปกป้องสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ : โสรัตน์ วงศ์สุทธิธรรม , 2558

7 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
แนวคิด Advocacy นำมาใช้ในการดูแลสุขภาพในปี ค.ศ โดย Annas and Healey นักกฎหมายที่พบปัญหาเกี่ยวกับประโยชน์ที่ผู้ป่วยพึงได้รับ จึงได้มีส่วนร่วมในการเสนอระบบในการปกป้องสิทธิของผู้ป่วย ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต ที่มา : กระบวนการปกป้องสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ : โสรัตน์ วงศ์สุทธิธรรม , 2558

8 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
“Advocacy in Nursing” ใช้เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ โดยสภาการพยาบาลระหว่างประเทศ (International Council of Nursing) (Vaartio & Leino-Kilpi, 2005) ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต

9 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
ความสำคัญ “Advocacy” ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต

10 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
เป็น 1 ใน 4 แนวคิดทางจริยธรรมที่สำคัญในการปฏิบัติการพยาบาล 1.การทำหน้าที่แทน (Advocacy) 2.ความรับผิดชอบ Accountability/Responsibility) 3.ความร่วมมือ (Cooperation) 4.ความเอื้ออาทร ( Caring) ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต

11 ความหมาย Advocacy ??

12 รากศัพท์ของคำ “Advocacy” -การกระทำ เพื่อแก้ต่าง สนับสนุน และชี้แนะ
มาจากภาษาลาตินว่า “Advocatia” The act of pleading for, supporting, or recommending; active espousal -การกระทำ เพื่อแก้ต่าง สนับสนุน และชี้แนะ -การเรียกร้องเพื่อให้บุคคลอื่นได้ช่วยเหลือ (Oxford Dictionaries, 2012)

13 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
รากศัพท์ของคำ “Advocacy” มาจากภาษาลาตินว่า “Advocatia” The act of pleading for, supporting, or recommending; active espousal ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต -การกระทำ เพื่อแก้ต่าง สนับสนุน และชี้แนะ -การเรียกร้องเพื่อให้บุคคลอื่นได้ช่วยเหลือ (Oxford Dictionaries, 2012) ที่มา : กระบวนการปกป้องสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ : โสรัตน์ วงศ์สุทธิธรรม , 2558

14 ความหมายAdvocacy ทางด้านสุขภาพ
“เป็นการให้ข้อมูลและสนับสนุนบุคคลให้สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง” Kohnke (1990) “เป็นการช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถตัดสินใจด้วยตนเองอย่างอิสระ” Gadow (1990) ที่มา : กระบวนการปกป้องสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ : โสรัตน์ วงศ์สุทธิธรรม , 2558

15 ความหมาย Advocacy ทางการพยาบาล
พจนานุกรมทางการพยาบาล (Mcferran,2004) “โดยทั่วไปในทีมสุขภาพผู้ที่ทำหน้าที่ปกป้องผู้ป่วยจะหมายถึงพยาบาลผู้ซึ่งมีบทบาทในการปกป้องสิทธิผู้ป่วย เพื่อส่งเสริมคุ้มครองให้ผู้รับบริการคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพที่ดี และคำนึงถึงประโยชน์ที่ผู้รับบริการควรได้รับตามสิทธิของผู้รับบริการ รวมทั้งผู้รับบริการสามารถเข้าถึงข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจ จึงถือว่าการปกป้องสิทธิผู้ป่วย เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีพการปฏิบัติ การพยาบาล” ที่มา : กระบวนการปกป้องสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ : โสรัตน์ วงศ์สุทธิธรรม , 2558

16 กิจกรรม Advocacy

17 1.การคำนึงถึงประโยชน์ที่ควรได้รับ
สรุป ประเด็น Advocacy in Nursing 1.การคำนึงถึงประโยชน์ที่ควรได้รับ 2.การให้ข้อมูล และสนับสนุนให้ตัดสินใจ ด้วยตนเอง 3.การช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยตัดสินใจได้ อย่างอิสระ

18 4.การส่งเสริมคุ้มครองให้ผู้รับบริการให้ดำรงไว้ไว้ซึ่งภาวะสุขภาพที่ดี
5.เป็นการช่วยเหลือผู้ป่วยให้ได้รับการดูแลที่ถูกต้อง 6. การช่วยเรียกร้องสิทธิให้บุคคลที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ที่มา : กระบวนการปกป้องสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ : โสรัตน์ วงศ์สุทธิธรรม , 2558

19 สรุป กิจกรรมหลัก Advocacy
การส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับสิทธิพื้นฐาน ในฐานะมนุษย์ 2. การเป็นตัวแทนของผู้ป่วย (Acting on behalf of patients) 3. การคุ้มครองผู้ป่วยให้ได้รับข้อมูลที่เพียงพอและชัดเจน (Safeguarding patient’informs) ที่มา : กระบวนการปกป้องสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ : โสรัตน์ วงศ์สุทธิธรรม , 2558

20 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
เรื่องเล่า : ประสบการณ์ “Advocacy” ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต

21 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
ระดับกลุ่มงานการพยาบาล ประธานคณะกรรมการ จริยธรรมทางการพยาบาล ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต

22 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
สิ่งที่ทำ ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต

23 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
เรื่องดีที่อยากเล่า ประเมินผลการปฏิบัติตามคู่มือ การจัดอบรมเรื่องกฎหมายและจริยธรรม ทุกปี การปฐมนิเทศพยาบาลเรื่องจริยธรรมทางการพยาบาล จัดโครงการพบธรรมนำสุข / แสงธรรมส่องใจ จัดโครงการทัวร์ธรรมะ / ปฏิบัติธรรมนำสุข จัดทำสารจริยธรรม เสวนาจริยธรรม จัดทำคู่มือแนวปฏิบัติเรื่องสิทธิผู้ป่วย จริยธรรม… ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต

24 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
สิ่งที่จะทำต่อไป Ethics Conference Ethics Round ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต

25 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
คู่มือแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วย คุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต

26 ความเป็นมาและความสำคัญ
-กลุ่มงานการพยาบาลจึงได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาลมาตั้งแต่ปี 2547 - ในปี คณะกรรมการจริยธรรม จึงได้จัดทำคู่มือแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วย คุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล ขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะสื่อสารให้พยาบาลทุกคน ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามมาตรฐานของสภาการพยาบาล

27 คู่มือแนวทางปฏิบัติการพยาบาล เรื่องสิทธิผู้ป่วย คุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล กลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2555

28 คู่มือแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วย

29 ประกาศ นโยบายสิทธิผู้ป่วย
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้พยาบาลปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วยเป็นแนวทางเดียวกัน 2.เพื่อพิทักษ์เรื่องสิทธิผู้ป่วยของผู้รับบริการ ก่อให้เกิดความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับ

30 นโยบาย 1.ให้พยาบาล กลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ รับทราบและปฏิบัติตามคำประกาศสิทธิผู้ป่วย 10 ข้อที่ประกาศใช้เมื่อ 16 เมษายน 2541 2. กำหนดให้มีการบรรจุเรื่องสิทธิผู้ป่วยในแผน ปฐมนิเทศพยาบาลใหม่ของกลุ่มงานการพยาบาล 3. จัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมเรื่องสิทธิผู้ป่วยทุกปี 4. สนับสนุนการเผยแพร่ความรู้ ประชาสัมพันธ์เรื่องสิทธิผู้ป่วย 5. ให้บุคลากรทางการพยาบาลทุกคนปฏิบัติตามคู่มือแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วย 6. ให้มีการประเมินผลการปฏิบัติตามคู่มือแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วยปีละ 1 ครั้ง

31 สิทธิผู้ป่วย คำจำกัดความ (สุกัญญา ประจุศิลป, 2546)
ความชอบธรรมที่ผู้รับบริการทางสุขภาพสาขาต่างๆจะพึงได้รับ เพื่อคุ้มครองหรือรักษาผลประโยชน์ของตนเอง โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น สิทธิผู้ป่วยจึงเป็นแนวทางหรือหลักการที่ใช้ในการตัดสินใจของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ โดยการกำหนดหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติต่อผู้ป่วยด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวังตามมาตรฐานวิชาชีพและตามกฎหมายบ้านเมือง (สุกัญญา ประจุศิลป, 2546)

32 ข้อที่1 ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
ข้อที่ 2 ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติเนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิการเมือง เพศ อายุ และลักษณะของการเจ็บป่วย ข้อที่ 3 ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอและ เข้าใจชัดเจนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถตัดสินใจในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพ ด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตนเว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนจำเป็น สิทธิผู้ป่วย

33 ข้อที่ 4 ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะฉุกเฉินเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับความช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ โดยทันทีตามความจำเป็นแก่กรณี โดยไม่คำนึงว่าผู้ป่วยจะร้องขอความช่วยเหลือหรือไม่ ข้อที่ 5 ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็นผู้ให้บริการแก่ตน ข้อที่ 6 ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มีได้เป็นผู้บริการแก่ตนและมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการและสถานบริการได้

34 ข้อที่ 7 ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเองจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ โดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย ข้อที่ 8 ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้ข้อมูลอย่างครบถ้วนในการตัดสินใจร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ

35 ข้อที่ 9 ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับรักษาพยาบาลเฉพาะของตน ที่ปรากฏในเวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิส่วนตัวของบุคคลอื่น ข้อที่ 10 บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกินสิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิตซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเอง

36 แนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วย
การพยาบาลที่มีการเคารพสิทธิผู้ป่วย หมายถึง กิจกรรมของพยาบาลที่ตอบสนองความต้องการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม โดยมีพื้นฐานอยู่บนความรับผิดชอบต่อสิทธิพื้นฐานอันเป็นความชอบธรรมที่ผู้ป่วยควรได้รับการตอบสนองตามมาตรฐานของผู้ประกอบวิชาชีพและสิทธิทางกฎหมาย การละเลยหรือไม่ตระหนักต่อสิทธิเหล่านี้ ทำให้เกิดปัญหาทางศีลธรรมและกฎหมายได้ (สุกัญญา ประจุศิลปะ,2546)

37 แนวทางปฏิบัติการพยาบาล ตามสิทธิผู้ป่วย10 ข้อ
แนวทางปฏิบัติการพยาบาล ตามสิทธิผู้ป่วย10 ข้อ (ตัวอย่าง) สิทธิผู้ป่วยข้อที่ 1 ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ

38 แนวทางปฏิบัติการพยาบาล
1. ให้การพยาบาลผู้รับบริการแบบองค์รวม 2. ให้การพยาบาลตามมาตรฐานการพยาบาล 3. เมื่อแรกรับให้การต้อนรับผู้รับบริการทุกรายด้วยอัธยาศัยอันดี มีการให้ข้อมูลผู้ป่วยผู้รับบริการกรณีต้องรักษาตัวใน โรงพยาบาลให้คำแนะนำสถานที่ การปฏิบัติตัวในหอผู้ป่วย 4. มีการตรวจเยี่ยมผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ

39 5. มีการแนะนำการใช้อุปกรณ์สื่อสารกับเจ้าหน้าที่แก่ผู้รับบริการทุกราย
6. ให้ความรู้แก่ผู้รับบริการในโรคที่เป็นอยู่ 7. การป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการพยาบาลกับผู้รับบริการ 8. มีการฟื้นฟูร่างกายผู้รับบริการ 9. ประสานงานช่วยเหลือ กรณีผู้ใช้บริการมีปัญหาค่ารักษาพยาบาลและอื่นๆ

40 (ตัวอย่าง)....สิทธิผู้ป่วยข้อที่ 4
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะฉุกเฉินเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับความช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ โดยทันทีตามความจำเป็นแก่กรณี โดยไม่คำนึงว่าผู้ป่วยจะร้องขอความช่วยเหลือหรือไม่

41 แนวทางปฏิบัติการพยาบาล
1. หน่วยงานมีการเตรียมพร้อมเครื่องมือ บุคลากร ในการช่วยชีวิต 2. มีการทบทวนปรับปรุงขั้นตอน ฝึกปฏิบัติการช่วยชีวิตอย่างสม่ำเสมอ 3. จัดอัตรากำลังที่เหมาะสมในการดูแลผู้ป่วย

42 การประเมินผลตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาล เรื่องสิทธิผู้ป่วย
แบบประเมินที่ใช้ มี 2 แบบ 1.แบบประเมินการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วย (ฉบับบุคลากร)มีทั้งหมด 45 ข้อ โดยให้เลือกตอบว่าปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติ 2.แบบประเมินการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วย(ฉบับผู้รับบริการ)มีทั้งหมด 35 ข้อ โดยให้เลือกตอบว่าใช่/ไม่ใช่

43 พยาบาลทุกคนในกลุ่มงานการพยาบาล 1.พยาบาลทุกระดับประเมินตนเอง
ผู้รับประเมิน พยาบาลทุกคนในกลุ่มงานการพยาบาล ผู้ประเมิน 1.พยาบาลทุกระดับประเมินตนเอง 2.หัวหน้างานประเมินพยาบาลในงาน/ หน่วยงานตนเอง 3.ผู้รับบริการประเมินพยาบาลที่ให้การพยาบาล  ระยะเวลาที่ประเมิน ปีละ1ครั้งคือระหว่างวันที่ มิถุนายนของทุกปี จำนวนแบบประเมิน ฉบับผู้รับบริการ 30ราย ฉบับบุคลากรทุกคน

44 แบบประเมินการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วย (ฉบับบุคลากร)
สิทธิผู้ป่วยข้อที่1 ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการ ด้านสุขภาพที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญให้การพยาบาลผู้รับบริการแบบองค์รวม(ครอบคลุมกาย-จิต-สังคม-จิตวิญญาณ) 1.ให้การพยาบาลตามมาตรฐานการพยาบาล 2.เมื่อแรกรับให้การต้อนรับผู้รับบริการทุกราย ด้วยอัธยาศัยอันดี มีการให้ข้อมูล กรณีรักษาตัวในโรงพยาบาลให้คำแนะนำสถานที่การปฏิบัติตัว

45 แบบประเมินการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วย (ฉบับบุคลากร) ต่อ...
3.มีการตรวจเยี่ยมผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ 4.มีการแนะนำการใช้อุปกรณ์สื่อสารกับเจ้าหน้าที่แก่ผู้รับบริการทุกราย 5.ให้ความรู้แก่ผู้รับบริการในโรคที่เป็นอยู่ 6.การป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการพยาบาลกับผู้รับบริการ 7.มีการฟื้นฟูร่างกายผู้รับบริการ 8.ประสานงานช่วยเหลือกรณีผู้รับบริการมีปัญหาค่ารักษาพยาบาลและอื่นๆ

46 9.มีการดูแลผู้รับบริการทุกคนตามมาตรฐานและเท่าเทียมกัน
แบบประเมินการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วย (ฉบับบุคลากร) ต่อ... 9.มีการดูแลผู้รับบริการทุกคนตามมาตรฐานและเท่าเทียมกัน 10.มีการต้อนรับ ให้ข้อมูลแก่ผู้รับบริการและญาติทุกราย ด้วยอัธยาศัยอันดี 11.มีการตรวจเยี่ยมผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ 12.ให้ความรู้แก่ผู้รับบริการในโรคที่เป็นอยู่ 13.ได้รับการประสานงานเมื่อมีปัญหาด้านสิทธิการรักษาและอื่นๆ

47 สิทธิผู้ป่วยข้อที่ 4 ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะฉุกเฉินเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับความช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ โดยทันทีตามความจำเป็นแก่กรณี โดยไม่คำนึงว่าผู้ป่วยจะร้องขอความช่วยเหลือหรือไม่ แบบประเมินการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วย (ฉบับบุคลากร) 1.มีการเตรียมพร้อมเครื่องมือบุคลากรในการช่วยชีวิต 2.มีการทบทวนปรับปรุงขั้นตอน ฝึกปฏิบัติการ ช่วยชีวิตอย่างสม่ำเสมอ 3.จัดอัตรากำลังที่เหมาะสมในการดูแลผู้รับบริการ

48 แบบประเมินการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วย (ฉบับบุคลากร)
4.มีความพร้อมของเครื่องมือ บุคลากรในการช่วยชีวิต 5.มีบุคลากรเพียงพอในการช่วยเหลือ

49 1.จำนวนข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับสิทธิผู้ป่วย เป้าหมาย 0 ครั้ง
ตัวชี้วัด 1.จำนวนข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับสิทธิผู้ป่วย เป้าหมาย 0 ครั้ง 2.อัตราการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องสิทธิผู้ป่วยของพยาบาลเป้าหมายร้อยละ 80

50 คู่มือแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
คู่มือแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ

51 2. เพื่อผดุงเกียรติยศ และศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพพยาบาล
ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล (ประกาศ ณ วันที่ 26มีนาคม 2555) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้พยาบาลใช้คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ เป็นหลักในการประพฤติปฏิบัติและเป็นกรอบในการตัดสินใจในสถานการณ์ที่มีความซับซ้อนหรือประเด็นที่เกี่ยวข้องด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. เพื่อผดุงเกียรติยศ และศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพพยาบาล

52 ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล
ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล คำจำกัดความ คุณธรรม หมายถึง คุณสมบัติที่ดีในจิตใจที่จะทาให้คนมีจริยธรรมได้ โดยไม่ต้องฝืนใจ จริยธรรมเมื่อนำไปประยุกต์ใช้ในกลุ่มวิชาชีพเรียกว่า จรรยาบรรณ (พระเมธีธรรมาภรณ์)

53 ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล
ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล คำจำกัดความ จริยธรรม 1.หลักความประพฤติที่ดีงามเพื่อประโยชน์แก่ตนเองและสังคม 2.การรู้จักพิจารณาไตร่ตรองว่าอะไรควรทาอะไรไม่ควรทา เมื่อเผชิญกับสถานการณ์ที่ต้องตัดสินใจเลือก 3.ธรรมที่เป็นข้อปฏิบัติ(พจนานุกรม พ.ศ.2525) 4.ความประพฤติหรือการปฏิบัติตนที่ถูกต้องหรือสอดคล้องตามความจริงอันเป็นไปตามธรรมชาติ 5.การกระทำทั้งกาย วาจาและใจที่ดีงามเป็นประโยชน์ต่อตนเองผู้อื่นและสังคม

54 ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล
ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล คำจำกัดความ คุณธรรมจริยธรรม หมายถึง หลักความประพฤติปฏิบัติที่ดีงามของบุคคล โดยมีพื้นฐานจากหลักศีลธรรมทางศาสนา ค่านิยมทางวัฒนธรรม ประเพณี กฎหมายรวมถึงจรรยาบรรณของวิชาชีพ เพื่อให้บุคคลแสดงออกในสิ่งที่ดี เหมาะสม ถูกต้องอย่างมีหลักการ โดยใช้ความรู้สติปัญญา เหตุผลพิจารณาไตร่ตรองว่าอะไรควรทาหรือไม่ควรทา เพื่อประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม

55 ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล
ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล คำจำกัดความ จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล หมายถึงประมวลความประพฤติที่วงการวิชาชีพพยาบาลกำหนดขึ้นเพื่อเป็นมาตรฐานหรือแนวทางปฏิบัติของการประกอบวิชาชีพ โดยทั่วไปแล้วองค์กรวิชาชีพที่เป็นศูนย์รวมหรือตัวแทนของสมาชิกทั่วประเทศมีภารกิจหนึ่งคือ การประกาศจรรยาบรรณของวิชาชีพ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติสาหรับสมาชิกทุกคน

56 ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล
ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล นโยบาย กลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มีนโยบายให้พยาบาลทุกคนปฏิบัติการพยาบาล โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม 6 ประการและจรรยาบรรณวิชาชีพ (พ.ศ. 2546) 9 ประการ ดังนี้

57 ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล
ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล นโยบาย หลักคุณธรรม จริยธรรม 6 ประการ 1. สิทธิของผู้ป่วยในการตัดสินใจอย่างเป็นอิสระ (Autonomy) 2. การกระทำเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วยเป็นสำคัญ (Beneficence) 3. การกระทำเพื่อหลีกเลี่ยงสาเหตุ หรืออันตรายที่อาจเกิดขึ้น (Nonmaleficience) 4. การกระทำด้วยความซื่อสัตย์ ตามพันธะสัญญาของวิชาชีพ (Fidelity) 5. การกระทำต่อผู้ป่วยและครอบครัวด้วยความยุติธรรม (Justice) 6. การบอกความจริง (Veracity)

58 ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล
ประกาศเรื่องนโยบายคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล นโยบาย จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล (ฉบับ พ.ศ. 2546) 9 ประการ 1.พยาบาลรับผิดชอบต่อประชาชนผู้ต้องการการพยาบาลและ บริการสุขภาพ 2. พยาบาลประกอบวิชาชีพด้วยความเมตตากรุณา เคารพในคุณค่าของชีวิต ความมีสุขภาพดีและความผาสุกของเพื่อนมนุษย์

59 จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล
(ฉบับ พ.ศ. 2546) 9 ประการ 3. พยาบาลมีปฏิสัมพันธ์ทางวิชาชีพกับผู้ใช้บริการ ผู้ร่วมงานและประชาชนด้วยความเคารพในศักดิ์ศรี และสิทธิมนุษยชนของบุคคล 4. พยาบาลยึดหลักความยุติธรรม และความเสมอภาคในสังคมมนุษย์ 5. พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งความเป็นเลิศ 6. พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการ

60 จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล
(ฉบับ พ.ศ. 2546) 9 ประการ 7. พยาบาลรับผิดชอบในการปฏิบัติให้สังคม เกิดความเชื่อถือไว้วางใจต่อพยาบาล และต่อวิชาชีพการพยาบาล 8. พยาบาลพึงร่วมในการทาความเจริญก้าวหน้าให้แก่วิชาชีพการพยาบาล 9. พยาบาลพึงรับผิดชอบต่อตนเองเช่นเดียวกัน

61 1. ผู้อำนวยการกลุ่มงานการพยาบาล 2. หัวหน้าสาขาการพยาบาล
กลุ่มเป้าหมาย พยาบาลทุกคนในกลุ่มงานการพยาบาล ผู้รับผิดชอบ 1. ผู้อำนวยการกลุ่มงานการพยาบาล 2. หัวหน้าสาขาการพยาบาล 3. หัวหน้างาน /หัวหน้าหน่วย 4. คณะกรรมการจริยธรรม กลุ่มงานการพยาบาล 5. พยาบาลทุกคนในกลุ่มงานการพยาบาล

62 แนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล
กิจกรรมการพัฒนา 1. จัดประชุมคณะกรรมการจริยธรรมวางแผนการดำเนินงานตามนโยบายสิทธิผู้ป่วย 2. จัดทำคู่มือแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 3. นำเสนอผู้บริหารกลุ่มงานการพยาบาล เพื่อพิจารณาและประกาศใช้

63 แนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล
4. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์นโยบายและคู่มือแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกคนเพื่อนาไปปฏิบัติ 5. จัดอบรมให้ความรู้แก่พยาบาลทุกคนในปีงบประมาณ 2555 6. จัดกิจกรรมส่งเสริมเรื่องคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ทุกปี 7. จัดให้มีการปฐมนิเทศพยาบาลใหม่เรื่องเรื่องคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทุกปี

64 แนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล
8. ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติตามคู่มือปีละ 1 ครั้ง 9. วิเคราะห์ สรุปผลการประเมินและนาไปใช้เพื่อการ พัฒนาต่อไป 10. มีการทบทวนคู่มือแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ

65 การประเมินผลตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
แบบประเมินที่ใช้ แบบประเมินผลการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพที่จัดทาโดยสภาการพยาบาล เป็นการประเมินพฤติกรรมของพยาบาลในการให้บริการพยาบาลโดยแบ่งเป็น 1.แบบประเมิน ฉบับบุคลากรประเมิน มีทั้งหมด 40 ข้อ มีให้เลือก 5 ระดับ 2.แบบประเมิน ฉบับผู้รับบริการประเมิน มีทั้งหมด 20 ข้อ มีให้เลือก 6 ระดับ

66 การประเมินผลตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
ผู้รับประเมิน พยาบาลทุกคนในกลุ่มงานการพยาบาล ผู้ประเมิน 1. พยาบาลทุกระดับประเมินตนเอง 2. หัวหน้างานประเมินพยาบาลในหน่วยงานตนเอง 3. ผู้รับบริการประเมินพยาบาลที่ให้การพยาบาล

67 1. แบบประเมินฉบับบุคลากร ตามจานวนพยาบาลที่มีในแต่ละงาน/หน่วยงาน
การประเมินผลตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ระยะเวลาที่ประเมิน ปีละ 1 ครั้ง คือระหว่างวันที่ มิถุนายนของทุกปี จำนวนแบบประเมินที่ใช้ประเมิน 1. แบบประเมินฉบับบุคลากร ตามจานวนพยาบาลที่มีในแต่ละงาน/หน่วยงาน 2. แบบประเมินฉบับผู้รับบริการ ใช้จำนวนอย่างน้อย 30 ราย

68 ตัวอย่างแบบประเมิน ฉบับบุคลากร
ตัวอย่างแบบประเมิน ฉบับบุคลากร แบบประเมินการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล (ฉบับบุคลากร) งาน/หน่วยงาน………………………………………………………วันที่ประเมิน ชื่อผู้รับการประเมิน…………………………………………..… ชื่อผู้ประเมิน…………………………….……….. คำชี้แจง โปรดขีดเครื่องหมาย (/) ในช่อง “พฤติกรรมที่ปรากฏ” ตามความเป็นจริงในแต่ละหัวข้อของพฤติกรรมจริยธรรม

69 พฤติกรรมจริยธรรม พฤติกรรมที่ปรากฎ 1
ลำดับที่ พฤติกรรมจริยธรรม พฤติกรรมที่ปรากฎ ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย ควรปรับปรุง 1 มีบุคลิกภาพดี เหมาะสมในการประกอบวิชาชีพและในการดำรงตนอยู่ในสังคม 5 4 3 2 1.1การแต่งกายถูกต้องตามระเบียบ สะอาด เรียบร้อย 1 .2รักษาสุขวิทยาส่วนบุคคล 1.3วางตัวได้เหมาะสมตามกาลเทศะ น่าเชื่อถือเป็นแบบอย่างที่ดี สังคมยอมรับ 1.4กิริยาท่าทางสุภาพ น้าเสียงอ่อนโยนใช้คำสุภาพ 1.5คล่องแคล่ว ว่องไว 1.6 สุขภาพกายแข็งแรง 1.7สุขภาพจิตสมบูรณ์

70 2.ประพฤติตนอยู่ในศีลธรรม สอดคล้องกับค่านิยม
วัฒนธรรมและกฎเกณฑ์ของสังคม 2.1 ไม่มีประวัติการทำผิดศีลธรรม 2.2 ดำรงตนอยู่ในขอบเขตกฎหมายบ้านเมือง 2.3 ซื่อสัตย์ สุจริต ไม่แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ 2.4 รักษาระเบียบ วินัย วัฒนธรรมขององค์การ 2.5 มีความเสียสละ 2.6 มีความเพียรพยายาม มานะ อดทน 2.7 ละเว้นการส่งเสริม ปกป้องผู้ประพฤติผิด 2.8 ดำรงชีวิตอย่างเรียบง่าย ไม่ฟุ้งเฟ้อ

71 3 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
3 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 3.1 กระตือรือร้น ให้ความช่วยเหลือผู้รับบริการและ ผู้ร่วมงานอย่างเต็มความสามารถ 3.2 ยกย่องให้เกียรติ เคารพในศักดิ์ศรีซึ่งกันและกัน 3.3 ยกย่องผู้มีความรู้ ความสามารถและผู้ประพฤติดี 3.4 สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดี 3.5 มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 3.6 ได้รับการยอมรับจากผู้อื่น

72 5.ให้บริการพยาบาลด้วยความเอื้ออาทรเต็มใจ
4. แสดงความเป็นมิตรต่อผู้รับบริการและ ประชาชนทั่วไป 4.1 ให้การต้อนรับด้วยอัธยาศัยอันดี 4.2 สนใจรับฟังตอบข้อซักถามและอธิบายให้ผู้รับบริการทราบด้วย ความเต็มใจ 5.ให้บริการพยาบาลด้วยความเอื้ออาทรเต็มใจ 5.1 ดูแลเอาใจใส่ ห่วงใยผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอด้วยความเต็มใจ และเท่าเทียมกัน 5.2 แสดงออกด้วยกิริยา วาจา น้ำเสียง และสัมผัสที่อ่อนโยนอย่าง เหมาะสม

73 6. รักษาสิทธิของผู้รับบริการ
6.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้องเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ ของผู้รับบริการ 6.2 ปกป้องสิทธิในความเป็นส่วนตัว และไม่เปิดเผย ความลับของผู้รับบริการ 6.3 เป็นตัวแทนผู้รับบริการที่สื่อความต้องการด้วย ตนเองไม่ได้ 6.4 ไม่ละเมิดสิทธิของผู้รับบริการ

74 7.3 ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้สำเร็จครบถ้วน
7.มีความรับผิดชอบต่อตนเองผู้รับบริการและสังคม 7.1 ตรงต่อเวลา 7.2 ไม่ละทิ้งหน้าที่ 7.3 ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้สำเร็จครบถ้วน 7.4 ช่วยเหลืองานนอกเหนือจากงานที่ได้รับ มอบหมายตามโอกาสอันสมควร

75 8.1 ปฏิบัติการพยาบาลถูกต้องตามหลักการ วิธีการ ตรงกับ
8.ให้บริการด้วยเทคนิคที่ถูกต้อง ตามขอบเขต และมาตรฐานวิชาชีพ 8.1 ปฏิบัติการพยาบาลถูกต้องตามหลักการ วิธีการ ตรงกับ ปัญหา และความต้องการของผู้รับบริการ 9. มีการพัฒนาความรู้อย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง เกี่ยวกับการดำรงตนในการประกอบวิชาชีพ 9.1สนใจศึกษาค้นคว้าหาความรู้และทักษะด้านศาสตร์ทางวิชาชีพศาสตร์ทางจริยธรรม และศาสตร์อื่นๆ ที่เป็นประโยชน์กับการปฏิบัติวิชาชีพและการดำรงตนในสังคม

76 10. มีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กรวิชาชีพ
10.1 เป็นสมาชิกขององค์กรวิชาชีพ 10.2 เข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาวิชาชีพ 10.3 ส่งเสริมสนับสนุน และเผยแพร่กิจกรรมวิชาชีพ 10.4 ปฏิบัติตามมาตรฐานจรรยาบรรณและกฎหมาย วิชาชีพ 10.5 ติดตามข้อมูลข่าวสารของวิชาชีพอย่างสม่ำเสมอ

77 ตัวอย่างแบบประเมิน ฉบับผู้รับบริการ
งาน/หน่วยงาน………………………………………………………วันที่ประเมิน………………………………………….. ชื่อผู้ประเมิน…………………………….…………… คำชี้แจง โปรดขีดเครื่องหมาย (/)ในช่อง “พฤติกรรมที่ปรากฏของพยาบาล” ตามความเป็นจริงในแต่ละหัวข้อของพฤติกรรมจริยธรรม

78 พฤติกรรมที่ปรากฎของพยาบาล
ลำ ดับ ที่ หัวข้อการประเมิน พฤติกรรมที่ปรากฎของพยาบาล ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย ควรปรับปรุง ไม่ได้ใช้บริการ 5 4 3 2 1 อัธยาศัยในการต้อนรับ ความสุภาพและความอ่อนโยน มีมนุษยสัมพันธ์ ความกระตือรือร้น

79 พฤติกรรมที่ปรากฎของพยาบาล
ลำ ดับ ที่ หัวข้อการประเมิน พฤติกรรมที่ปรากฎของพยาบาล ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย ควรปรับปรุง ไม่ได้ใช้บริการ 5 4 3 2 1 การควบคุมอารมณ์ 6 การให้ความเสมอภาค 7 การให้เกียรติ 8 ตอบคำถามด้วยความเต็มใจ

80 พฤติกรรมที่ปรากฎของพยาบาล
ลำ ดับ ที่ หัวข้อการประเมิน พฤติกรรมที่ปรากฎของพยาบาล ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย ควรปรับปรุง ไม่ได้ใช้บริการ 5 4 3 2 1 9 ให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ 10 รับฟังและช่วยคลี่คลายปัญหาและให้คำปรึกษา 11 รักษาสิทธิของผู้รับบริการ 12 รักษาความลับของผู้รับบริการ

81 พฤติกรรมที่ปรากฎของพยาบาล
ลำ ดับ ที่ หัวข้อการประเมิน พฤติกรรมที่ปรากฎของพยาบาล ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย ควรปรับปรุง ไม่ได้ใช้บริการ 5 4 3 2 1 13 อธิบายให้เข้าใจทั้งก่อนและหลังการให้บริการ 14 ปลอบโยนให้กาลังใจ 15 ความรวดเร็วและประสิทธิภาพในการบริการ 16 ความนิ่มนวลในการปฏิบัติการพยาบาล

82 พฤติกรรมที่ปรากฎของพยาบาล
ลำ ดับ ที่ หัวข้อการประเมิน พฤติกรรมที่ปรากฎของพยาบาล ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย ควรปรับปรุง ไม่ได้ใช้บริการ 5 4 3 2 1 17 มีน้ำใจ (สนใจ เต็มใจ เอาใจใส่) 18 ช่วยเหลือให้บรรเทาความเจ็บปวดหรือความไม่สุขสบาย 19 ความสะอาดเรียบร้อยในการ แต่งกาย 20 พฤติกรรมโดยทั่วไปน่าเชื่อถือและน่าศรัทธา

83 ตัวชี้วัด 1.จำนวนข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล เป้าหมาย 0 ครั้ง 2. อัตราการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล เป้าหมาย ร้อยละ80

84 คำอธิบาย : ข้อร้องเรียนของผู้รับบริการที่เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และ
KPI Template ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน เรื่องคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล ชื่อตัวชี้วัด : 1. จำนวนข้อร้องเรียนของผู้รับบริการที่เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ หน่วยวัด : จำนวนครั้ง น้ำหนัก : คำอธิบาย : ข้อร้องเรียนของผู้รับบริการที่เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ หมายถึงเอกสารหรือการสื่อสารช่องทางต่างๆที่เกิดจากการปฏิบัติงานของพยาบาล ในกลุ่มงานการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ สูตรการคำนวณ : ไม่มี

85 KPI Template ชื่อตัวชี้วัด : 2. อัตราการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ หน่วยวัด : ร้อยละ น้ำหนัก : คำอธิบาย : การปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่องคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ หมายถึง การที่พยาบาลระดับปฏิบัติได้มีการปฏิบัติตามแบบประเมินการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่อง คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล ที่คณะกรรมการจริยธรรม กลุ่มงานการพยาบาล จัดทำขึ้น สูตรการคำนวณ : จำนวนข้อที่พยาบาลปฏิบัติตามแบบประเมิน X 100 จำนวนข้อทั้งหมดที่กำหนดในแบบประเมินการปฏิบัติตามแนวทาง

86 การปฏิบัติด้านคุณธรรม…
ผลการประเมินปี2555 ที่ ผู้ประเมิน การปฎิบัติด้านสิทธิ การปฏิบัติด้านคุณธรรม… ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ (คะแนนเต็ม5) 1 พยาบาลประเมินตนเอง 95.02% 4.40% 3.77 2 หัวหน้างานประเมิน 94.95% 5.05% 4.38 3 ผู้รับบริการประเมิน 80.92% 19.08% 4.17

87 ดอกปีบ กับพยาบาลไทย สภาการพยาบาลได้กำหนดให้ใช้ " ดอกปีบ " เป็นสัญลักษณ์ของพยาบาลไทยตั้งแต่ปี พ.ศ เป็นต้นมา เนื่องจาก " ดอกปีบ " เป็นดอกไม้สีขาวที่มีกลิ่นหอม ต้นปีบเป็นไม้ยืนต้น ขึ้นได้ในที่ดินแห้งแล้ง ราก ลำต้น และดอกใช้เป็นสมุนไพรได้ เปรียบกับพยาบาลในชุดสีขาวผู้พร้อมที่จะประกอบคุณงามความดี ประดุจกลิ่นหอมของดอกปีบ และพร้อมที่สร้างประโยชน์เช่นเดียวกับการเป็นสมุนไพรของ " ดอกปีบ "

88 ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต
ขอบคุณค่ะ ตัวชี้วัดในหอผู้ป่วยวิกฤต


ดาวน์โหลด ppt Advocacy :อัตลักษณ์เชิงคุณธรรม ของวิชาชีพพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google