งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 7 งบประมาณ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 7 งบประมาณ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 7 งบประมาณ

2 การดำเนินธุรกิจจะเป็นไปตามที่กำหนดเป้าหมาย หรือไม่ขึ้นอยู่กับการวางแผนกการใช้ทรัพยากรมนุษย์ ต่าง ๆ ของกิจการที่มีอยู่จำกัดหรือระดับหนึ่ง ใน ระยะเวลาที่กำหนดได้อย่างเหมาะสมก่อให้ผลการ ดำเนินงานที่ดี และเกิดความมั่งคั่งแก่กิจการต่อไป หรือ ถ้าเป็นกิจการที่มุ่งหวังกำไรจะเรียกว่าการวางแผนกำไร นั่นเอง การวางแผนในลักษณะนี้ เรียกว่า งบประมาณ

3 การจัดทำงบประมาณ ขึ้นอยู่กับปัจจัย 6 ประการดังนี้
เป้าหมายของกิจการต้องชัดเจน ผู้บริหารจะต้องมีความเชื่อมั่น สนับสนุนและยอบรับ ควรให้ผู้ปฏิบัติทุกส่วนงานมีส่วนร่วมในการจัดทำ งบประมาณ ผู้บริหารงบประมาณต้องเข้าใจข้อจำกัดของงบประมาณ และควรมีการปรับปรุงงบประมาณให้เข้ากับสถานการณ์ ที่เกิดขึ้น ต้องเป็นงบประมาณที่ดีมีความเป็นไปได้ ต้องสอดคล้องกับระบบบัญชีของกิจการ

4 ความหมายของงบประมาณ งบประมาณ หมายถึง แผนงานที่องค์กรจัดทำขึ้นใน รูปของตัวเลขทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินเกี่ยวกับการ ได้มาและใช้ไปซึ่งทรัพยากรมนุษย์ต่าง ๆ ในช่องระยะเวลา หนึ่งในอนาคตเป็นแผนที่จัดทำไว้ล่วงหน้า เป็นแนวทางการ ดำเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ ในธุรกิจเพื่อนำไปสู่ เป้าหมายโดยรวมเพื่อใช้ในการวางแผน การประสานงาน และการควบคุม

5 ประโยชน์ของการจัดทำงบประมาณ
ประสานงานและติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องในองค์กร เป็นเครื่องมือในการวางแผน ควบคุม และประเมินผลการ ดำเนินงานของกิจการทั้งองค์กร และฝ่ายต่าง ๆ เป็นแหล่งข้อมูลสำหรับผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นแนวทางในการจัดสรร และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดของ กิจการอย่างเหมาะสม และมีเป้าหมายที่ชัดเจน เป็นเครื่องมือให้บุคคล หรือหน่วยงานต่างๆ ในองค์กรมีส่วน ร่วมในการดำเนินงาน

6 งบประมาณกับการวางแผน และควบคุม

7 การกำหนดกลยุทธ์เพื่อการวางแผนกำไรสู่ความสำเร็จของกิจการสามารถกำหนดได้เป็น 3 องค์ประกอบดังนี้
การกำหนดเป้าหมายการดำเนินงานของกิจการ การกำหนดกลยุทธ์ในการวางแผนกำไรในระยะ ยาว การกำหนดกลยุทธ์ในการวางแผนกำไรในระยะ สั้น

8 งบประมาณหลัก สามารถจำแนกได้ดังนี้
งบประมาณการดำเนินงาน งบประมาณหลักในกิจการอุตสาหกรรม จะประกอบด้วย 1. งบประมาณการขาย 2. งบประมาณการผลิต 2.1. งบประมาณวัตถุทางตรง(เกี่ยวกับการใช้และซื้อวัตถุทางตรง) 2.2. งบประมาณแรงงานทางตรง 2.3. งบประมาณค่าใช้จ่ายในการผลิต 2.4. งบประมาณสินค้าคงเหลือปลายงวด 3. งบประมาณต้นทุนสินค้าขาย 4. งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 5. งบประมาณงบกำไรขาดทุน

9 งบประมาณหลักในกิจการพาณิชยกรรม จะประกอบด้วย
1. งบประมาณขาย 2. งบประมาณซื้อ 3. งบประมาณสินค้าคงเหลือปลายงวด 4. งบประมาณต้นทุนสินค้าขาย 5. งบประมาณค่าใช้ในการขายและบริหาร 6. งบประมาณกำไรขาดทุน 2. งบประมาณการเงิน 1. งบประมาณเงินสด 2. งบประมาณงบดุล 3. งบประมาณกระแสเงินสด 4. งบประมาณการจ่ายลงทุน (สำหรับแผนงานระยะยาว)

10 ขั้นตอนในการจัดทำงบประมาณหลัก
ในการจัดทำงบประมาณหลักมีขั้นตอนดังนี้ 1. กำหนดเป้าหมายในการจัดทำงบประมาณในปีนั้นๆ 2. ว่างแผนงานให้สอดคล้องกับเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ 3. วิเคราะห์ทรัพยากรมนุษย์ที่มีอยู่และที่สามารถจัดหาได้ 4. วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและภายในอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อ เป้าหมายของกิจการ 5. ทำการพยากรณ์ยอดขาย และจัดทำงบประมาณขายเสนอต่อฝ่ายบริหารเพื่อ พิจารณา 6. รวบรวมงบประมาณจากแต่ละหน่วยงานในองค์กรเพื่อทบทวนและประเมินผล ย้อนกลับเมื่อถูกต้องแล้วนำงบประมาณทั้งหมดเสนอผู้บริหารระดับสูงพิจารณา

11 ความสัมพันธ์ของงบประมาณ

12 แสดงความสัมพันธ์ของงบประมาณงบประมาณหลักในกิจการพาณิชยกรรม

13 ความสัมพันธ์ของงบประมาณหลักในกิจการอุตสาหกรรม

14 งบประมาณการขาย งบประมาณการขาย(sale budget) เป็นงบประมาณที่สำคัญที่ต้องจัดทำเป็นอันดับแรก ของงบประมาณหลัก เป็นการวางแผนการขายผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดโดยแสดงเป็นตัวเลขทั้ง จำนวนหน่วยและจำนวนเงินในช่วงระยะเวลาที่กำหนด เป็นงวดเดือน งวดสามเดือน หรือ งวดปี แต่จะไม่เกิน 1 ปี การวางแผนการขาย ปัจจัยที่สำคัญที่นำมาพิจารณาในการคาดคะเนการขายได้แก่ 1. ยอดขายในอดีตที่ผ่านมา 2. ภาวะเงื่อนไขเศรษฐกิจโดยทั่วไป 3. แนวโน้มของอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน 4. การวิจัยตลาด 5. แผนการโฆษณาและส่งเสริมการขาย 6. อัตราส่วนการขายในตลาด 7. นโยบายราคา และการเปลี่ยนแปลง 8. การพัฒนาของเทคโนโลยี 9. การประมาณยอดขายของพนักงานเป็นต้น

15 งบประมาณการขายจะแสดงยอดขายที่กิจการคาดหวัง เป็นจำนวนหน่วย และเป็นจำนวนเงิน สามารถแสดงการคำนวณได้ดังนี้ ชื่อกิจการ งบประมาณการขาย สำหรับงวด สิ้นสุด………. จำนวนหน่วยขาย XX คูณ ราคาขายต่อหน่อย XX ยอดขายที่ประมาณ XX

16 การจัดทำงบประมาณการผลิต สามารถแสดงการคำนวณได้ดังนี้
งบประมาณการผลิต (Production budgrt) เป็นการวางแผนการผลิตที่แสดง เป็นจำนวนหน่วยของสินค้าแต่ละประเภทที่ผลิตในช่วงเวลาหนึ่งที่กิจการต้องการ จะต้องสอดคล้องกับงบประมาณการขาย การจัดทำงบประมาณการผลิต สามารถแสดงการคำนวณได้ดังนี้ ชื่อกิจการ สำหรับงวด สิ้นสุด …………….. หน่วยขายกะประมาณ XX บวก สินค้าคงเหลือปลายงวดที่ต้องการ XX สินค้าที่ต้องการทั้งหมด XX หัก สินค้าคงเหลือต้นงวด XX จำนวนสินค้าที่จะผลิต XX

17 การจัดทำงบประมาณวัตถุดิบทางตรง สามารถแสดงการคำนวณได้ดังนี้
งบประมาณวัตถุทางตรง(direct material budget) เป็นการวางแผนเกี่ยวกับวัตถุที่ จะต้องซื้อมาเพื่อใช้ในการผลิตสินค้า ต้องสัมพันธ์กับงบประมาณการผลิตและนโยบาย เกี่ยวกับวัตถุดิบคงเหลือที่กิจการต้องการ การจัดทำงบประมาณวัตถุดิบทางตรง สามารถแสดงการคำนวณได้ดังนี้ ชื่อกิจการ งบประมาณวัตถุทางตรง สำหรับงวด สิ้นสุด…………….. จำนวนสินค้าที่ผลิต XX คูณ วัตถุดิบที่ใช้ต่อหน่วย X จำนวนวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต XX บวก วัตถุดิบคงเหลือปลายงวดที่ต้องการ XX วัตถุดิบที่ต้องการ XX หัก วัตถุดิบคงเหลือต้นงวด X จำนวนวัตถุดิบที่ต้องการซื้อ XX คูณ ราคาวัตถุดิบต่อหน่วย XX ต้นทุนวัตถุดิบที่ต้องซื้อ XX

18 งบประมาณแรงงานทางตรง งบประมาณแรงงานทางตรง(direct labor budget) เป็นการวางแผนเกี่ยวกับแรงงานทางตรงที่ใช้ใน การผลิตซึ่งจะสัมพันธ์กับงบประมาณการผลิตที่คาดการณ์ได้ ชื่อกิจการ สำหรับงวด สิ้นสุด………… จำนวนหน่วยที่ผลิต XX คูณ ชั่วโมงแรงงานที่ใช้ต่อหน่วย XX จำนวนชั่วโมงแรงงานทางตรงที่ใช้ XX คูณ อัตราค่าแรงงานต่อชั่วโมง XX ต้นทุนแรงงานทางตรงที่ใช้ในการผลิต XX

19 งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต
งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต(manufacfuring overhead budget) เป็นการวางแผนที่ เกี่ยวกับการค่าใช่จ่ายการผลิตอื่นๆ นอกเหนือจากวัตถุดิบทางตรงและแรงงานทางตรง และ แรงงานทางตรง ซึ่งจะสัมพันธ์กับงบประมาณการผลิต ค่าใช้จ่ายการผลิตจะแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรและค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ ชื่อกิจการ สำหรับงวด สิ้นสุด……. ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร: วัตถุดิบทางอ้อม XX แรงงานทางอ้อม XX ฯลฯ XX XX ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ เงินเดือน XX ค่าเสื่อมราคา XX รวมค่าใช้จ่ายการผลิตที่ประมาณ XX

20 งบประมาณสินค้าคงเหลือปลายงวด
งบประมาณสินค้าคงเหลือปลายงวด(ending finished goods inventory budget) เป็นการวางแผนเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือปลายงวดใน รูปของจำนวนเงิน หรือเป็นการคำนวณหาต้นทุนของสินค้าคงเหลือ ปลายงวดนั่นเอง

21 ค่าใช้จ่ายดำเนินงานผันแปร: ค่าตอบแทนพนักงานขาย XX ค่าขนส่งออก XX
งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร งบประมาณค่าใช่จ่ายในการขายและบริหาร(selling and administrative expenses budget) เป็น การวางแผนเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับการผลิต คือ ค่าใช้จ่ายการดำเนินงานในระยะเวลาหนึ่งๆ ที่ทำ งบประมาณ ค่าใช้จ่ายการดำเนินงานจะจำแนกตามพฤติกรรมต้นทุนเหมือนกับค่าใช้จ่ายการผลิต ชื่อกิจการ สำหรับงวด สิ้นสุด………. ค่าใช้จ่ายดำเนินงานผันแปร: ค่าตอบแทนพนักงานขาย XX ค่าขนส่งออก XX ค่านายหน้า XX ฯลฯ XX XX ค่าใช้จ่ายการดำเนินงานคงที่: เงินเดือนผู้จัดการ XX ค่าเช่าสำนักงาน XX ค่าเสื่อมราคา XX ค่าใช้จ่ายการดำเนินงานที่ประมาณ XX

22 งบประมาณงบกำไรขาดทุน
งบประมาณงบกำไรขาดทุน(profit and loss budget) เป็น งบประมาณหลักในส่วนของงบประมาณการดำเนินงานงบสุดท้ายที่ จะต้องจัดทำโดยนำผลการดำเนินงานที่ได้วางแผนไว้ตั้งแต่งบประมาณ การขาย งบประมาณต้นทุนขาย งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและ บริหารมาแสดงเป็นแผนของกำไรที่คาดว่าจะเกิดในงวดที่จัดทำ งบประมาณ

23 1. เงินสดต้นงวด เป็นเงินสดคงเหลืองวดที่แล้วยกมาต้นงวดนี้
งบประมาณเงินสด งบประมาณเงินสด(cash budget) เป็นงบประมาณหลักในส่วนของงบประมาณการเงิน เป็นการวางแผนเกี่ยวกับเงินสดกับและเงินสดจ่าย ตามงบประมาณการดำเนินงานต่างๆที่ เกิดขึ้น รวมทั้งจากงบประมาณการจ่ายลงทุน ถ้ามีเงินสดรับและเงินสดจ่ายก็จะรวมด้วย เป็น งบที่แสดงให้ผู้บริหารได้ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับเงินสดว่าในระหว่างงวดมีเงินขาดหรือเงิน เกินอย่างไรจะได้วางแผนการเงินได้ถูกต้อง เช่นถ้ามีเงินขาดก็จะต้องยืม หรือถ้ามีเงินเกินก็ ต้องชำระหนี้ตามความเหมาะสม สุดท้ายจะทราบถึงเงินสดคงเหลือปลายงวดที่คงเหลือที่ กิจการ วางแผนไว้ใช้แสดงเป็นฐานะการเงินคงเหลือในงบดุล งบประมาณเงินสดแบ่งเป็น 4 ส่วนดังนี้ 1. เงินสดต้นงวด เป็นเงินสดคงเหลืองวดที่แล้วยกมาต้นงวดนี้ 2. เงินสดรับ เป็นเงินสดที่คาดการณ์ว่าจะได้รับจริง 3. เงินสดจ่าย เป็นเงินสดที่คาดว่าจะจ่ายออกไปจริงในงวดที่จัดทำงบประมาณ 4. การจัดการเงินสด เป็นกระบวนการของการวางแผนทางการเงิน จะเกิดขึ้นเมื่อกิจการมีการ กำหนดเงื่อนไขเงินสดขั้นต่ำที่จะให้เหลือในงวดที่จัดทำงบประมาณ

24 การจัดทำงบประมาณเงินสด จัดทำได้ 2กรณี ถ้าเป็นกรณีที่ไม่กำหนดเงื่อนไขใดๆ แบบฟอร์มสามารถคำนวณได้ดังนี้ เงินสดคงเหลือต้นงวด XX บวก เงินสดรับ XX เงินสดที่ต้องการ XX หัก เงินสดจ่าย XX เงินสดคงเหลือปลายงวด XX ถ้าเป็นกรณีที่กำหนดเงื่อนไขเงินสดขั้นต่ำ และเงื่อนไขอื่นๆ สามารถคำนวณได้ดังนี้ เงินสดคงเหลือต้นงวด XX การจัดหาเงินสด บวก เงินกู้ XX หรือ หัก จ่ายคืนเงินกู้และดอกเบี้ย (XX) เงินสดคงเหลือปลายงวดที่ต้องการ XX

25 งบประมาณงบดุล งบประมาณงบดุล(balance sheet budget) เป็นงบประมาณหลักในส่วนของงบประมาณ การเงินงบหนึ่ง เป็นงบที่แสดงถึงฐานะการเงินคงเหลือจากการวางแผนการดำเนินงาน ณ วันสิ้นงวด โดยนำงบดุลต้นปีที่ประมาณมาปรับกับงบประมาณการดำเนินงานที่จัดทำ ตัวอย่างที่ 1 บริษัท มั่นใจอุตสาหกรรมจำกัด ต้องการจัดทำงบประมาณสำหรับปี 25x1 เป็นราย ไตรมาส โดยเตรียมจัดทำงบประมาณดังต่อไปนี้ 1.งบประมาณการขาย และตารางคำนวณเงินสดรับกะประมาณจากการขาย 2.งบประมาณการผลิต 3.งบประมาณวัตถุดิบทางตรง และตารางคำนวณเงินสดจ่าย กะประมาณจากการซื้อวัตถุดิบ 4.งบประมาณแรงงานทางตรง 5.งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต 6.งบประมาณสินค้าคงเหลือปลายงวด 7.งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 8.งบประมาณเงินสด 9.งบประมาณงบกำไรขาดทุน 10.งบประมาณงบดุล

26 จากข้อมูลดังนี้ 1.บริษัทมีฐานะการเงินของปลายปี ณ 31 ธันวาคม 25x0 ดังนี้ เงินสด 75,000 บาท ลูกหนี้ (จากการขายสินค้า) 60,000 บาท วัตถุดิบคงเหลือ(500กก.) 5,000 บาท สินค้าคงเหลือ(200หน่วย) 15,000 บาท ที่ดิน 150,000 บาท อาคารและอุปกรณ์ 345,500 บาท ค่าเสื่อมราคาสะสม 30,000 บาท เจ้าหนี้ (ค่าซื้อวัตถุดิบ) 56,250 บาท ทุนห้างสามัญ 450,000 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 45,000 บาท กำไรสะสม 68,750 บาท

27 2. มีการคาดการณ์การขายสินค้าสำหรับปี 25+1 แต่ละไตรมาสดังนี้ ไตรมาสที่ 1 2,250 หน่วย ไตรมาสที่ 3 4,500 หน่วย ไตรมาสที่ 2 3,750 หน่วย ไตรมาสที่ 4 6,000 หน่วย มีราคาขายสินค้าหน่วยละ 150 บาท 3. มีนโยบายเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือปลายงวด ดังนี้ วัตถุดิบคงเหลือ เป็น 20% ของจำนวนที่ใช้ในงวดถัดไป สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือเป็น 10% ของจำนวนหน่วยขายในงวดถัดไป 4. การผลิตสินค้า 1 หน่วย ประกอบด้วย วัตถุดิบ 5 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 10 บาท แรงงานทางตรง 1 ชั่วโมง ค่าแรงชั่วโมงละ 10 บาท 5. ค่าใช้จ่ายการผลิตที่ใช้มีอัตราค่าใช้จ่ายผันแปรเท่ากับ 7 บาท ต่อชั่วโมงแรงงาน ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ เกิดเท่ากันทุกไตรมาสโดยประมาณเท่ากับ 34,200 บาท

28 ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรต่อหน่วย: วัตถุดิบทางอ้อม 2.- บาท แรงงานทางอ้อม 2.25 บาท ค่ากำลังไฟฟ้า 1.50 บาท ค่าบำรุงรักษา 1.25 บาท รวม 7.- บาท ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ต่อไตรมาศ: เงินเดือนผู้ควบคุมโรงงาน 10,500บาท ค่าภาษีทรัพย์สิน 3750 บาท ค่าเบี้ยประกันภัย 5,000 บาท ค่ากำลังไฟฟ้า 1,200 บาท ค่าบำรุงรักษา 3,750 บาท ค่าเสื่อมราคา 10,000บาท รวม 34,200บาท

29 6.ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารที่เกิดขึ้นมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารผันแปรต่อหน่วย เท่ากับ 2 บาท ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารคงที่ต่อไตรมาสมีรายละเอียดดังนี้ เงินเดือน 12,500 บาท ค่าเช่าสำนักงาน 2,250 บาท ค่าโฆษณา 4,500 บาท ค่าใช้เบี้ยประกันภัย 1,500 บาท ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน 3,750 บาท รวม 24,500 บาท

30 7.มีรายละเอียดเกี่ยวกับการรับ-จ่ายเงินสดดังนี้
7.1การขายสินค้าเป็นการขายเชื่อทั้งหมดโดยมีเงื่อนไขการชำระดังนี้ 70% เก็บได้ในไตรมาสที่ขาย 30% เก็บได้ในไตรมาสถัดไป 7.2 การซื้อวัตถุดิบเป็นการซื้อเชื่อทั้งหมดโดยมีเงื่อนไขการชำระดังนี้ 60% จ่ายได้ในไตรมาสที่ซื้อ 40% จ่ายได้ในไตรมาสถัดไป

31 7. 3 ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายการผลิตและค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร
7.3 ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายการผลิตและค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร ทั้งหมดจ่ายในไตร มาศที่เกิดขึ้นนั้น 7.4 บริษัทที่นโยบายกู้เงินในไตรมาศที่ 1 จำนวนเงิน 150,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 10 % ต่อปี และจ่ายในไตรมาสที่ 4 พร้อมดอกเบี้ย 7.5 บริษัทมีนโยบายจ่ายเงินปันผล ทุกไตรมาส ไตรมาสละ 30,000 บาท 7.6 ประมาณว่ามีค่าภาษีเงินได้นิติบุคคลเกิดขึ้นปีละ 140,000 บาท จะจ่ายเท่าๆ กันทุกไตร มาส

32 ตารางที่ 7.1 แสดงงบประมาณการขาย งบประมาณการขาย
บริษัท มั่นใจอุตสาหกรรม จำกัด งบประมาณการขาย สำหรับปี สิ้นสุด 31 ธันวาคม 25x1 ไตรมาส รวม ยอดขายที่กะประมาณ 2, , , , ,500 ราคาขายต่อหน่วย ยอดขายที่กะประมาณ 337, , , , ,475,000

33 ตารางแสดงการรับชำระเงิน (บาท)
ลูกหนี้คงเหลือต้นงวด , ,000 ขายในไตรมาสที่ , , ,500 ขายในไตรมาสที่ , , ,500 ขายในไตรมาสที่ , , ,000 ขายในไตรมาสที่ _______ _______ _______ , ,000 296, , , , ,265,000

34 ตารางที่ 7.2 แสดงงบประมาณการผลิต
บริษัท มั่นใจอุตสาหกรรม จำกัด งบประมาณการผลิต สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ ธันวาคม 25X1 รวม หน่วยขายกะประมาณ 2, , , , ,500 บวก สินค้าปลายงวดที่ต้องการ * รวม 2, , , , ,300 หัก สินค้าคงเหลือต้นงวด ปริมาณการผลิตโดยประมาณ 2, , , , ,100 *จำนวนประมาณ

35 ตารางที่ 7.3 แสดงงบประมาณวัตถุดิบทางตรง
บริษัท มั่นใจอุตสาหกรรม จำกัด งบประมาณวัตถุดิบทางตรง สำหรับ 1 ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25X ไตรมาส ______________________________________________________ รวม จำนวนหน่วยการผลิต , , , , ,100 คูณ วัตถุดิบที่ใช้ต่อหน่วย จำนวนวัตถุดิบที่ต้องการใช้ , , , , ,500 บวก วัตถุคงเหลือปลายงวด , , , ,100* ,100 รวม , , , , ,600 หัก วัตถุดิบคงเหลือต้นงวด , , , วัตถุดิบที่ต้องซื้อ , , , , ,100 คูณ ราคาวัตถุดิบต่อหน่วย งบประมาณซื้อวัตถุดิบ , , , , ,000 *จำนวนที่ประมาณ

36 ตารางแสดงการจ่ายชำระเงินค่าซื้อวัตถุดิบทางตรง
เจ้าหนี้ต้นงวด 56, ,250 ซื้อวัตถุดิบไตรมาสที่ 1 92, , ,500 ซื้อวัตถุดิบไตรมาสที่ , , ,500 ซื้อวัตถุดิบไตรมาสที่ , , ,000 ซื้อวัตถุดิบไตรมาสที่ 4 ______ _______ _______ , ,400 รวมเงินสดจ่ายซื้อวัตถุดิบ , , , , ,650

37 ตารางที่ 7.4 แสดงงบประมาณแรงงานทางตรง
บริษัท มั่นใจอุตสาหกรรม จำกัด งบประมาณแรงงานทางตรง สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25X1 ไตรมาส ____________________________________________ รวม จำนวนหน่วยผลิต , , , , ,100 คูณ จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อหน่วย จำนวนชั่วโมงที่ใช้ในการผลิต 2, , , , ,100 คูณ อัตราค่าแรงงานต่อชั่งโมง ต้นทุนแรงงานทางตรง , , , , ,000

38 ตารางที่ 7.5 แสดงงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต
บริษัท มั่นใจอุตสาหกรรม จำกัด งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต สำหรับ สิ้นงวดวันที่ 31 ธันวาคม 25X1 ไตรมาส ___________________________________________ รวม จำนวนหน่วยผลิตที่กะประมาณ 2, , , , ,100.- ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร : วัตถุดิบทางอ้อม 4, , , , ,200.- แรงงานทางอ้อม 5, , , , ,475.- ค่ากำลังไฟฟ้า 3, , , , ,650.- ค่าบำรุงรักษา 3, , , , ,375.- รวม 16, , , , ,700.-

39 ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ :
เงินเดือน 10,500 10,500 10,500 10,500 42,000 ค่าภาษีทรัพย์สิน 3,750 3,750 3,750 3,750 15,000 ค่าประกันภัย 5,000 5,000 5,000 5,000 20,000 ค่ากำลังไฟฟ้า 1,200 1,200 1,200 1,200 4,800 ค่าบำรุงรักษา 3,750 3,750 3,750 3,750 15,000 ค่าเสื่อมราคา 10,000 10,000 10,000 10,000 40,000 รวม 34,200 34,200 34,200 34, ,800 รวมค่าใช้จ่ายการผลิต 51,175 60,975 66,750 77, ,500 หัก ค่าเสื่อมราคา 10,000 10,000 10,000 10,000 40,000 ค่าใช้จ่ายการผลิต ที่จ่ายเงินสด 41,175 50,975 56,750 67, ,500 จากงบประมาณจะได้อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานล่วงหน้า เท่ากับ 256,0 = 15 ชั่วโมงแรงงานทางตรง 17,100

40 ตารางที่ 7.6 แสดงงบประมาณสินค้าคงเหลือปลายงวด
บริษัท มั่นใจอุตสาหกรรม จำกัด งบประมาณสินค้าคงเหลือปลายงวก สำหรับปี สิ้นวุดวันที่ 31 ธันวาคม 25X1 ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย จำนวน ต้นทุน วัตถุดิบทางตรง กิโลกรัม บาท/กิโลกรัม บาท แรงงานทางตรง ชั่วโมง บาท/ชั่วโมง บาท ค่าใช้จ่ายการผลิต ชั่วโมง บาท/ชั่วโมง บาท รวม บาท งบประมาณสินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือปลายงวด (งบประมาณ) หน่วย คูณ ต้นทุนสินค้าต่อหน่วย บาท ต้นทุนสินค้าคงเหลือปลายงวด ,000 บาท *ดูตารางที่ 6.5

41 ตารางที่ 7.7 แสดงงบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร
บริษัท มั่นใจอุตสาหกรรม จำกัด งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร สำหรับ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25X1 ไตรมาส รวม จำนวนหน่วยขาย 2,250 3,750 4,500 4,000 16,500 ค่าใช้จ่ายขายและบริหารต่อหน่วย ค่าใช้จ่ายขายและบริหารผันแปร 4,500 7,500 9,000 12,000 33,000 ค่าใช้จ่ายการขายและบริหารคงที่ : เงินเดือน 12,500 12,500 12,500 12,500 50,000 ค่าเช่าสำนักงาน 2,250 2,250 2,250 2,250 9,000 ค่าโฆษณา 4,500 4,500 4,500 4,500 18,000 ค่าเบี้ยประกัน 1,500 1,500 1,500 1,500 6,000 ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน 3,750 3,750 3,750 3,750 15,000 งบประมาณค่าใช้จ่าย ในการขายและบริหาร 29,000 32,000 33,500 36, ,000 หัก ค่าเสื่อมราคา 3,750 3,750 3,750 3,750 15,000 เงินสดจ่ายค่าใช้จ่าย 25,250 28,250 29,750 32, ,000 และบริหาร

42 ตารางที่ 7.8 แสดงงบประมาณเงินสด
บริษัท มั่นใจอุตสาหกรรม จำกัด งบประมาณเงินสด สำหรับ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25X1 ไตรมาส รวม เงินสดคงเหลือต้นงวด 75, , , ,300 75,000 บวก เงินสดรับ (ตารางที่ 6.1) 296, , , ,500 2,265,000 รวม 371, , ,900 1,394,800 2,340,000 หัก เงินสดจ่าย วัตถุดิบทางตรง (ตารางที่ 6.3) 148, , , , ,650 แรงงานทางตรง (ตารางที่ 6.4) 24,250 38,250 46,500 62, ,000 ค่าใช้จ่ายการผลิต (ตารางที่ 6.5) 41,175 50,975 56,750 67, ,500 ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร 25,250 28,250 29,750 32, ,000 ภาษีเงินได้ 35,000 35,000 35, , ,000 เงินปันผลจ่าย 30,000 30,000 30,000 30, ,000 รวม 304, , , ,950 1,619,150 เงินสดรับมาก (น้อย) 66, , , , ,850 การวางแผนทางการเงิน เงินกู้ 150, ,000 จ่ายชำระ ณ สิ้นงวด (150,000) (150,000) ดอกเบี้ยจ่าย (10%) (15,000) (15,000) เงินสดคงเหลือ 216, , , , ,850

43 ตารางที่ 7.9 แสดงงบกำไรขาดทุน
บริษัท มั่นใจอุตสาหกรรม จำกัด งบประมาณงบกำไรขาดทุน สำหรับ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25X1 ขาย (16,500 X 150) (ตารางที่ 6.1) ,475,000 หัก ต้นทุนสินค้าขาย (16,500 X 75) (ตารางที่ 6.6) ,237,500 กำไรขั้นต้น ,237,500 หัก ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (ตารางที่ 6.7) ,000 กำไรจากการดำเนินงาน ,106,500 หัก ดอกเบี้ยจ่าย (ตารางที่ 6.8) ,000 กำไรสุทธิก่อนหักภาษีเงินได้ ,091,500 หัก ภาษีเงินได้* ,000 กำไรสุทธิ ,500 *จากประมาณการ

44 ตารางที่ 7.10 แสดงงบประมาณงบดุล
บริษัท มั่นใจอุตสาหกรรม จำกัด งบประมาณงบดุล สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25X1 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน ,850 (1) เงินสด ,000 (2) ลูกหนี้ ,000 (3) วัตถุดิบคงเหลือ (8,100 X 10) ,000 (4) สินค้าสำเร็จรูป (800 X 75) รวมสินทรัพย์หมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ที่ดิน ,000 (5) อาคารและอุปกรณ์ ,000 (6) ค่าเสื่อมราคาสะสม (85,000) (7) รวมที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ,000 รวมสินทรัพย์ ,526850

45 หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ ,600 (8) ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนหุ้นสามัญ ,000 (9) ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 45,000 (10) กำไร (68, ,500 – 120,000) ,250 (11) 1,395,250 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ,526,850

46 อธิบายรายการต่างๆ ในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1
1. เงินสดคงเหลือปลายงวด ซึ่งได้จากการประมาณการเงินสดในตารางที่ 6.8 2. ยอดลูกหนี้คงเหลือเกิดจากยอดขายของไตรมาสที่ 4 ดูตาราง 6.2 ที่ยังไม่ได้รับชำระ 30% คือ 30% 900,000 เท่ากับ 270,000 3. วัตถุดิบคงเหลือปลายงวดจากตารางที่ 6.3 เท่ากับ 8,100 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 10 บาท เท่ากับ 81,000 บาท 4. สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ จากตารางที่ 6.6 งบประมาณสินค้าคงเหลือปลายงวด 5. จากฐานะการเงิน ณ 31 ธันวาคม 25X0 6. อาคารและอุปกรณ์ จากฐานะการเงิน ณ 31 ธันวาคม 25X0 7. ค่าเสื่อมราคาสะสม จากฐานการเงิน ณ 31 ธันวาคม 25X0 ซึ่งเป็น ณ วันต้นงวดมีอยู่ 30,000 บาท ระหว่างปี 25X1 ประมาณการว่าตัดค่าเสื่อมราคาสะสม ณ 31 ธันวาคม 25X1 เท่ากับ 30, , ,000 = 85,000 บาท 8. เจ้าหนี้ปลายงวดเกิดจากการซื้อวัตถุดิบทางตรงของไตรมาสที่ 4 ดูตารางที่ 6.3 เป็นยอดซื้อ วัตถุดิบที่ยังไม่ได้จ่ายชำระ 40% คือ 329,000 X 40% เท่ากับ 131,600 บาท 9. จากฐานการเงิน ณ 31 ธันวาคม 25X0 ซึ่งมีอยู่ ณ วันต้นงวดไม่เปลี่ยนแปลง 10. จากฐานการเงิน ณ 31 ธันวาคม 25X0 ซึ่งมีอยู่ ณ วันต้นงวดไม่เปลี่ยนแปลง 11. กำไรสะสมปลายงวด คำนวณได้จาก

47 กำไรสะสมต้นงวด (31 ธันวาคม 25X0) 68,750
บวก กำไรสุทธิ (ตารางที่ 6.9) ,500 รวม ,020,250 หัก เงินปันผลจ่าย ,000 กำไรสะสมปลายงวด ณ 31 ธันวาคม 25X ,250

48 สรุป งบประมาณเป็นเครื่องมือที่ผู้บริหารใช้ในการวางแผนการดำเนินงานในอนาคต การจัดทำงบประมาณจะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกๆฝ่ายในองค์กร เพื่อให้มีความ สอดคล้องกัน มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ งบประมาณ หลักเป็นงบประมาณที่จัดทำขึ้น ณ ระดับการผลิตหนึ่งที่กิจการคาดหวังไว้ในงวดการ ดำเนินงาน งบประมาณหลักแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ งบประมาณดำเนินงานและงบประมาณ การเงิน งบประมาณการดำเนินงานสำหรับกิจการพาณิชยกรรมประกอบด้วย งบประมาณ การขาย งบประมาณการซื้อสินค้า งบประมาณค่าใช้จ่ายการดำเนินงาน งบประมาณกำไร ขาดทุนส่วนงบประมาณการดำเนินงานของกิจการอุตสาหกรรม จะไม่มีงบประมาณการ ซื้อสินค้า เพราะไม่ได้ซื้อสินค้ามาไว้ขายแต่ละสินค้าเองแล้วขาย ดังนั้นงบประมาณที่ จะต้องจัดทำเพิ่มขึ้นได้แก่ งบประมาณการผลิต งบประมาณการซื้อวัตถุดิบ งบประมาณ แรงงานทางตรง งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต และงบประมาณสินค้าคงเหลือปลายงวด ส่วนงบประมาณการเงิน จะประกอบไปด้วย งบประมาณเงินสด งบประมาณงบดุล

49 นอกจากงบประมาณจะใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผนแล้ว ผู้บริหารยัง สามารถใช้งบประมาณในการควบคุมซึ่งทำได้โดยการเปรียบเทียบระหว่างงบประมาณ ยืดหยุ่นได้กับผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริง งบประมาณยืดหยุ่นได้เป็นการจัดทำ งบประมาณในช่วงกิจกรรมที่เกี่ยวข้องซึ่งจะมีประโยชน์มนการนำไปใช้เปรียบเทียบกับ ผลการดำเนินงานจริงในระดับกิจกรรมเดียวกัน จากการเปรียบเทียบจะทราบถ้าผลต่างที่ดี และไม่ดี เพื่อเป็นแนวทางในการหาสาเหตุและแก้ไขปรับปรุงต่อไป


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 7 งบประมาณ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google