งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จารุพร ตามสัตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ(APN)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จารุพร ตามสัตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ(APN)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จารุพร ตามสัตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ(APN)
สรุปผลการติดตามการดำเนินงาน การดูแลแบบประคับประคองและการดูแลระยะท้าย จ.เชียงใหม่ (Palliative care & End of life care) จารุพร ตามสัตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ(APN)

2 คู่มือของกรมการแพทย์

3 กลุ่มเป้าหมายที่ต้องดูแลแบบประคับประคอง
1.Cancer 2.Neurological disease : Stroke 3.Renal replacement therapy 4.Pulmonary and Heart disease 5.Multiple trauma patient 6.Infection disease : HIV/AIDS 7.Pediatric 8.Aging/Dementia

4 สปสช.

5 4.บันทึกข้อมูล E-Claimโดยระบุวันที่เริ่มให้บริการเยี่ยมบ้าน
แนวทางการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขค่าบริการ Palliative care สำหรับผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน สิทธิ UC ปี 2560 1.เป็นการจ่ายชดเชยสำหรับหน่วยบริการที่มีการจัดการดูแลระยะท้ายแบบประคับประคอง ที่บ้านโดยสหสาขาวิชาชีพ 2.เป็นการจ่ายสำหรับบริการของหน่วยบริการที่ผู้ป่วยลงทะเบียนในหน่วยบริการชุมชนนั้นๆเท่านั้น 3.ครอบคลุมผู้ป่วยทุกกลุ่มโรคที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยระยะท้าย ตามเกณฑ์กรมการแพทย์กำหนด 4.บันทึกข้อมูล E-Claimโดยระบุวันที่เริ่มให้บริการเยี่ยมบ้าน

6 อัตราการจ่ายชดเชย 1.กรณีผู้ป่วยเสียชีวิตภายใน 30 วัน เหมาจ่ายรายละ 4,000บาท 2.กรณีผู้ป่วยเสียชีวิตภายใน วัน เหมาจ่ายรายละ 5,000บาท 3.กรณีผู้ป่วยเสียชีวิตภายใน วัน เหมาจ่ายรายละ 6,000บาท 4.กรณีผู้ป่วยเสียชีวิตภายใน วันขึ้นไป เหมาจ่ายรายละ 7,000บาท 5.กรณีผู้ป่วยเสียชีวิตภายใน วันขึ้นไป เหมาจ่ายรายละ 8,000บาท 6. กรณีผู้ป่วยเสียชีวิตภายใน 151วันขึ้นไป เหมาจ่ายรายละ 9,000บาท

7 สำนักการพยาบาล

8 การดูแลแบบประคับประคอง
เน้น 1.ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค อาการและอาการแสดง ความรุนแรงของโรค แผนการรักษา ทางเลือกการรักษาและการดูแล (Family counselling for advance care plan) 2.ประเมินผู้ป่วยในการดูแลแบบประคับประคอง โดยการใช้เครื่องมืออย่างเหมาะสม เช่น PPSV2, 2Q, Pain scale และจัดการอาการรบกวนและอาการปวดให้ผู้ป่วยสุขสบาย 3.เสริมพลังและฝึกสอน เป็นพี่เลี้ยงให้การสนับสนุนเพื่อให้สามารถดูแลตนเองที่บ้านได้ รวมทั้งให้กำลังใจ 4.การประสาน ส่งต่อการดูแล อย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งประคองทั้งผู้ป่วยและครอบครัวจนถึงลมหายใจสุดท้าย

9 Family group counseling for Advance
1.ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค อาการและอาการแสดง ความรุนแรงของโรค 2.แผนการรักษา ทางเลือกการรักษา (Aggressive or Palliative) 2.1 กรณี Aggressive Treatment (On ET-tube )ไม่เข้า Palliative care 2.2.กรณี Palliative care - การจัดการอาการรบกวน อาการปวด -จัดการอาการเหนื่อย -การให้ MO -การเตรียมอุปกรณ์ทางการแพทย์ -การค้นหา Care giver - เซนต์แบบฟอร์มดูแลแบบประคับประคองและการดูแลระยะท้าย 3.D/C Planing (Training care giver 4.ส่งHomeward

10 2.การประเมินอาการรบกวน
สมรรถนะ พยาบาลในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง และการดูแลระยะท้าย (Palliative care) ต้อง 1.การประเมินPPS(Palliative Performance Scale ) 2.การประเมินอาการรบกวน 3.การประเมินอาการปวด 4.การประเมิน 2Q

11 เครื่องมือ การประเมิน Palliative care เพื่อให้การพยาบาลที่เหมาะสม
1.การประเมินPPS(Palliative Performance Scale ) 2.การประเมินอาการรบกวน 3.การประเมินอาการปวด 4.การประเมิน 2Q

12 2.ประเมินอาการปวดและจัดการอาการปวด
ประเมิน PPSV2 PPSV % PPSV % PPSV % อาการรบกวน 1.คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร 4.แผลกดทับ กระสับกระส่าย 2.ท้องผูก ภาวะขาดน้ำ 3.กลั้นอุจจาระไม่ได้ ปากแห้ง หรือเป็นแผล PPSV % 1.ประเมินอาการรบกวน 2.ประเมินอาการปวดและจัดการอาการปวด 3.ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค ความรุนแรงของโรค แผนการรักษา การดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องแก่ผู้ป่วยและญาติ 4.ให้การดูแลที่ตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว 5.ประเมินและจัดการความเสี่ยงหรืออันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย เช่น ตกเตียง และฆ่าตัวตาย 6.ประเมินสภาพจิตใจของผู้ป่วยและครอบครัวต่อการยอมรับการเจ็บป่วย โดยประเมินภาวะซึมเศร้า ความวิตกกังวล (2Q) ความเครียด(ภาคผนวก9) 7.วางแผนจำหน่าย/เสริมพลัง 8.ส่ง Homeward ประเมินและจัดการอาการปวด ปวดมาก คะแนน8-10 ปวดปานกลาง คะแนน4-7 ปวดเล็กน้อย คะแนนปวด <3 Strong opioid ;Morphine+ non opioid Weak opiiod; Codeine+ non opioid paracetamol NSIAD+anticonvulsant/antidepressant ประเมิน 2Q ถ้าพบ 2Q=positive รายงานแพทย์

13 Nursing care 1.ประเมินอาการรบกวน 2.ประเมินอาการปวด
PPSV % 1.ประเมินอาการรบกวน 2.ประเมินอาการปวด 3.ประเมินภาวะซึมเศร้า 2Q 4.ทวนการรับรู้เรื้อรังความเจ็บป่วย แผนการรักษา การดูแลแบบประคับประคอง 5.ประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เช่น Falling, Bed sore 6.จัดสิ่งแวดล้อมหรือจัดให้อยู่ห้องแยก(ถ้ามี) 7.ให้การดูแลทางด้านจิตวิญญาณ ค้นหาความเชื่อ ความหวังของผู้ป่วยและครอบครัวพร้อมทั้ง ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับ 8.วางแผนจำหน่าย/เสริมพลัง ตามแบบฟอร์มการวางแผนจำหน่าย 9.ส่ง Homeward

14 Nursing care PPSV2 0-30% ก.กรณีผู้ป่วยวาระท้าย
1.ประเมินความเหมาะสมของการให้ยา ออกซิเจน สารน้ำรวมทั้งให้การดูแลอย่างเหมาะสม 2.ประเมินอาการรบกวน 3.ประเมินอาการปวด 4.ประเมินอาการหายใจเหนื่อยหอบ 5ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วยระยะและแผนการรักษา ทางเลือกเรื่องการตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแลระยะท้าย เช่น การใส่ท่อช่วยหายใจ การรับผู้ป่วยกลับบ้านเพื่อดูแล ระยะท้าย 6.ประเมินความพร้อมและความเศร้าโศกของผู้ป่วยและครอบรัวในการเผชิญระยะท้ายของชีวิตพร้อมทั้งให้คำปรึกษา 7.ให้การดูแลตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว 8.จัดสิ่งแวดล้อมที่ดีให้ผู้ป่วย เช่นห้องแยก(ถ้ามี) 9.ให้การดุแลทางจิตวิญญาณ ความเชื่อ สนับสนุนพิธีกรรมทางศาสนาหรือที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ 10.ส่งต่อข้อมูลให้ รพ.สต.ใกล้บ้าน หรือ Homeward ข.กรณีผู้ป่วยถึงแก่กรรม 1.ให้ญาติทำความสะอาดร่างกาย 3.ให้คำปรึกษาและจัดการความโศกเศร้า ค.กรณีผู้ป่วยมี PPSV % หลังจากได้รับการผ่าตัด ให้การดูแลหลังผ่าตัดตามปกติ เมื่อฟื้นสภาพจึงให้การดูแลตาม PPSV2

15 การวางแผนจำหน่าย ทางโรงพยาบาล เตรียมผู้ป่วยและครอบครัว (D-METHOD)
1.ความรู้เรื่องโรค ความรุนแรงของโรค อาการแทรกซ้อน แผนการรักษา การใช้ยา 2.ฝึกสอนญาติ การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เช่น NG-tube for feed, TT-tube,Jejunostomy,Colostomy,Bedsore, Foley cath,skin traction,Home O2,suction 3.การใช้ยา/แผนการรักษา 4.การเฝ้าระวังอาการผิดปกติ 5.การจัดสิ่งแวดล้อมที่บ้าน 6.การนัดติดตาม 7.ส่ง Homeward/ประสาน รพ.สต.

16 การส่งต่อผู้ป่วยสู่ชุมชน
1.ใบส่งHomeward ผ่าน COC 2.ประสานการเบิกจ่ายอุปกรณ์และเวชภัณฑ์ที่จำเป็น 3.การติดตามเยี่ยมที่บ้านอย่างต่อเนื่องทั้งทางร่างกายและจิตใจ จิตวิญญาณ 4.การติดตามและสนับสนุนด้านประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อทางศาสนา สิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ 5.ติดตามหลังการเสียชีวิต

17 Homeward กรณี PPSV2 30-60%+ออกซิเจนบำบัด+อุปกรณ์ทางการแพทย์
PPSV2 <30 %มีหรือไม่มี อุปกรณ์ทางการแพทย์หรือผู้ป่วยระยะท้าย(End of life) ประเมินความต้องการและปัญหาของผู้ป่วยและญาติ+ประเมินความเชื่อทางศาสนาและวัฒนธรรม การจัดการอาการปวด จัดการอาการรบกวนต่างๆ 1.จัดการอาการปวด 2.จัดการอาการหายใจหอบเหนื่อย 3.ดูแลการใช้ยาตามแผนการรักษา 4.จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม 5.ให้ญาติดูแลด้านการรับประทานอาหาร น้ำ ตามความสภาพอาการของผู้ป่วย ปวดมาก คะแนน8-10 ปวดปานกลาง คะแนน4-7 ปวดเล็กน้อย คะแนนปวด <3 Strong opioid ;Morphine+ non opioid Weak opiiod; Codeine+ non opioid paracetamol NSIAD+anticonvulsant/antidepressant ประเมินอาการหายใจเหนื่อย 1.RR<8>24 /min,PR<40>120/min 2.SBP<90mmhq,O2 sat<88% 3.ใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจ

18 ส่งข้อมูลให้ Coordinator Palliative care
Home ward ประเมินความต้องการและปัญหาของผู้ป่วยและญาติ+ประเมินความเชื่อทางศาสนาและวัฒนธรรม การจัดการอาการรบกวน(ข้างต้น) ประเมินความเชื่อทางวัฒนธรรมและศาสนา 1.ให้การดูแลด้านจิตวิญญาณ ความเชื่อ ความหวังของผู้ป่วยและครอบครัว พร้อมทั้งส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ เช่น บุคคลอันที่เป็นที่รัก พุทธศาสนา 2.แนะนำวิธีการบำบัดแบบทางเลือก เช่น ธรรมะบำบัด โภชนบำบัด ดนตรีบำบัด หรืออ่านหนังสือ อาการคงที่ เสียชีวิต ส่งข้อมูลให้ Coordinator Palliative care

19

20 ผลการ audit เวชระเบียน
ลำดับ กิจกรรม/เนื้อหา y หมายเหตุ 1 การวินิจฉัย Palliative care 33.33 มีบางรพ. (ไม่ครบ 100%) 2 การ consult Palliative care 16.66 3 การทำ Advance care plan 25 4 การประเมิน Pain score 5 การประเมินอาการรบกวน 6 การประเมิน PPSV2 7 การประเมินทางด้านจิตใจ(2Q) 8 แผนการรักษาของแพทย์ เพื่อการจัดการอาการรบกวนและอาการปวด

21 ผลการ audit เวชระเบียน(ต่อ)
ลำดับ กิจกรรม/เนื้อหา Y ร้อยละ หมายเหตุ 9 กิจกรรมการพยาบาล PPSV PPSV PPSV2 0-30 10 การวางแผนจำหน่าย Home oxygen 33.33 Dressing

22 ลำดับ กิจกรรม/เนื้อหา Y ร้อยละ หมายเหตุ 10 การใช้ MO 11 การส่งต่อเยี่ยมบ้าน(ระบบHomeward) 33.33 12 การทำ Living will 16.66

23 แผนการดำเนินงาน ปี 2561

24 เตียงห้าสีแบบประคับประคอง
สีแดง PPS 10-30% และผู้ป่วยจำเป็นใช้เครื่องช่วยหายใจ Bird respirator, ParaPACหรือ Home ventilator สีชมพู PPS 10-30% และผู้ป่วยต้องการการดูแลมาก, มีภาวะแทรกซ้อนอย่างมากหรือปัญหาซับซ้อน เช่น แผลกดทับระดับ 3-4,มีอาการรบกวนมาก,เข้ารับการรักษาในรพ.บ่อย, มีความเสี่ยงฆ่าตัวตาย, ต้องการทีมสหสาขาวิชาชีพร่วมดูแล ฯลฯ สีเหลือง PPS 10-30% และผู้ป่วยมีอุปกรณ์หรือมีภาวะแทรกซ้อน เช่น แผลกดทับระดับ 1-2, แผลเจาะคอ, ใส่สายอาหาร, ใส่สายสวนปัสสาวะ ฯลฯ สีเขียว PPS 40-60% สีขาว PPS %

25 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt จารุพร ตามสัตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ(APN)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google