ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMarie-Dominique René ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
การส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล ในโรงพยาบาล RDU Hospital
Rational Drug Use นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล วุฒิบัตรกุมารเวชศาสตร์ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล ในโรงพยาบาล RDU Hospital การบรรยายในการประชุมชี้แจง “การใช้ข้อมูลเพื่อติดตามการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use)” ด้วยโปรแกรมอิเล็กทรอนิกส์ วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ เวลา ๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. ณ โรงแรมไดมอนด์พลาซา จ.สุราษฎร์ธานี
3
เภสัชกรชุมชนกับการใช้ยาสมเหตุผล
Rational Drug Use เภสัชกรชุมชนกับการใช้ยาสมเหตุผล นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล วุฒิบัตรกุมารเวชศาสตร์ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การบรรยายในการประชุมวิชาการ “วันร้านยาคุณภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๕” วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๙ เวลา ๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. ณ ห้องบอลรูม ๒ ชั้น ๓ โรงแรมดิเอมเมอรัล ถนนรัชดาภิแษก กรุงเทพมหานคร
4
เภสัชกรร้านยาคุณภาพ 31 มกราคม 2559
5
มากกว่าครึ่งหนึ่งของการใช้ยา เป็นไปอย่างไม่เหมาะสม
การประเมินจากองค์การอนามัยโลก มากกว่าครึ่งหนึ่งของการใช้ยา เป็นไปอย่างไม่เหมาะสม (ไม่สมเหตุผล) Promoting rational use of medicines: core components in WHO Policy Perspectives on Medicines. World Health Organization. Geneva. September 2002.
6
System & Patient Safety
ความปลอดภัยต่อผู้ป่วยในระบบยา นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล วุฒิบัตรกุมารเวชศาสตร์ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การประชุม การพัฒนาเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย (Engagement for Patient Safety) วันพุธที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมบอลรูม โรงแรมนารายณ์ เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. จัดโดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.)
7
การประชุม การพัฒนาเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย (Engagement for Patient Safety) วันพุธที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมบอลรูม โรงแรมนารายณ์ เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. จัดโดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.)
8
การได้รับยาโดยไม่จำเป็น
Patient Safety Engagement Concept (HA) การได้รับยาโดยไม่จำเป็น นำอันตรายไปสู่ผู้ป่วย อันเป็นอันตรายที่ป้องกันได้ การบริหารความเสี่ยง คือการค้นหา ประเมินความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง กำหนดมาตรการ และติดตาม/ประเมินผล เฝ้าระวังความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง
9
คำถามจาก HA (1) ปัญหาการปรับขนาด/แนวทางการรักษาตามสภาวะโรคหรือเภสัช-จลนศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น eGFR < 30 ml/min ยังได้รับ metformin (2) การสั่งใช้ยาที่มีอันตรกิริยาต่อกัน (3) การสั่งใช้ NSAIDs ใน CVD และ CRF Dose Drug Interaction Special Populations
10
Lactic Acidosis --> Dialysis
Dosage adjustment - metformin Lactic Acidosis --> Dialysis Drug interaction เช่น simvastatin/gemfibrozil หรือ domperidone/macrolide Rhabdomyolysis, QT prolong High risk drug & Special population – NSAIDs in CVD Myocardial infarction, High risk drug & Special population – NSAIDs in CRF Renal function deterioration (1) ปัญหาการปรับขนาด/แนวทางการรักษาตามสภาวะโรคหรือเภสัช-จลนศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น eGFR < 30 ml/min ยังได้รับ metformin (2) การสั่งใช้ยาที่มีอันตรกิริยาต่อกัน (3) การสั่งใช้ NSAIDs ใน CVD และ CRF Dose Drug Interaction Special Populations
11
การสั่งจ่ายยาเดิม (remed) ซึ่งผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องใช้แล้ว (หายแล้ว)
การสั่งใช้ยาหลายชนิดในการรักษา 1 โรค เช่น dyspepsia ใช้ air-x + gaszyme + m.carminative หรือ dizziness ให้ dimenhydrinate + betahistine + flunarizine สั่งใช้ยาที่มีฤทธิ์ anticholinergic เช่น amitriptyline ในผู้สูงอายุ ทำ ให้เกิด delirium การสั่งจ่ายยาเดิม (remed) ซึ่งผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องใช้แล้ว (หายแล้ว) (4) การใช้ NSAIDs เกินความจำเป็นและต่อเนื่องระยะยาว (5) การใช้ยาซ้ำซ้อน เช่น prazosin + doxazosin, propranolol + atenolol (6) การใช้ยาในขนาดต่อวันสูงเกินกว่าข้อมูลหรือ evidence เช่น omeprazole 2*2, metformin(850) 2x3 (7) แพทย์เลือกใช้ยานอกบัญชียาหลักก่อน โดยไม่ผ่านการใช้ยาในบัญชีฯ (8) การใช้ยาปฏิชีวนะเกินจำเป็น Polypharmacy Special Populations - Geriatrics Cost Risk/Benefit Duplication Dosage NLEM Responsible use of Antibiotics
12
no evidence of infection improper dose adjustment
no indication ได้รับยาโดยไม่จำเป็น ได้รับยาโดยไม่จำเป็น ได้รับยาโดยไม่จำเป็น หมายเหตุ รายการยาที่ปรากฏในตาราง เป็นรายการยาที่มีผู้วิจัยและตีพิมพ์ในวารสาร ทางการแพทย์ ยังมียาอื่น ๆ อีกมากมายที่มีการใช้อย่างไม่เหมาะสมในประเทศไทยซึ่ง ไม่ได้แสดงไว้ในตาราง
13
ประเด็นความไม่เหมาะสมของ การใช้ allupurinol
Inappropriate prescription of allopurinol in a teaching hospital. Only 77 (53.1%) received allopurinol with appropriate indications. No Indication Among 131 patients, prescribed allopurinol for the diagnosis of gout, only 55 (42.0%) were diagnosed in accordance with the American Rheumatism Association criteria. No Indication Thirty-eight patients (26.2%) did not have allopurinol dose adjustment according to the patients' creatinine clearance. No Dose Adjustment Athisakul S, Wangkaew S, Louthrenoo W. Inappropriate prescription of allopurinol in a teaching hospital. J Med Assoc Thai May;90(5):
14
ยา 5 อันดับแรกที่ทำให้เกิดการแพ้ที่ผิวหนังรุนแรงได้บ่อยที่สุดในประเทศไทย
กลุ่มอาการสตีเวนส์-จอห์นสัน กลุ่มอาการเท็น (TEN) 46.9% ได้รับยา โดยไม่จำเป็น >50% ได้รับยา โดยไม่จำเป็น ขอบคุณ ศ. ดร.วิจิตรา ทัศนียกุล สำหรับกราฟที่ใช้ประกอบภาพ
15
ผลข้างเคียงด้านผิวหนังรุนแรง จากการแพ้ยา
Co-trimoxazole อันดับ 1 Allopurinol อันดับ 2 Amoxicillin อันดับ 5 ผลข้างเคียงด้านผิวหนังรุนแรง จากการแพ้ยา SJS/TEN ยาอันตรายทุกชนิดต้องใช้ด้วยความรับผิดชอบรอบคอบ และระมัดระวัง อัตราการเสียชีวิต 20-25%
16
ผลข้างเคียง 8 ใน 12 อันดับแรก เกิดจากยาปฏิชีวนะ
ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ยาที่ก่อให้เกิดผลข้างเคียงบ่อยที่สุดคือยาปฏิชีวนะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง amoxicillin
17
การใช้ยาปฏิชีวนะตั้งแต่อายุน้อย ๆ เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคภูมิแพ้ที่จมูก
Clinical manifestations and epidemiology of allergic rhinitis (rhinosinusitis) in UpToDate Last literature review version 19.2 : May This topic last updated: April 29, 2010.
19
เอ็นร้อยหวายฉีกขาดจากควิโนโลนส์
20
แบคทีเรียดีตาย แบคทีเรียร้ายเข้าแทนที่
Clostridium difficile associated diarrhea (CDAD) ลำไส้ใหญ่อักเสบเป็นแผล จนท้องร่วงอย่างรุนแรงจากการใช้ยาปฏิชีวนะต่อเนื่อง หรือใช้บ่อยครั้ง Antibiotics-associated colitis (AAC) อัตราตาย 27% พบบ่อยที่สุดกับ clindamycin, cephalosporin, penicillin แบคทีเรียดีตาย แบคทีเรียร้ายเข้าแทนที่
22
Fecal Transplant คือการนำอุจจาระของผู้มีสุขภาพดีใส่เข้าไปลำไส้ใหญ่ของผู้ป่วยเป็นวิธีการรักษา CDAD ที่ได้ผลดี
23
HIGH RISK?
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.