งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
การจัดบริการ Service Plan จังหวัดยะลา พญ.นิตยา ภูวนานนท์ รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา

2 สาขาโรคหัวใจและหลอดเลือด
ตัวชี้วัด อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ( 28 ต่อประชากรแสนคน ) ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 (ต.ค.59-ม.ค.60) 36.59: แสนประชากร 31.93: แสนประชากร 7.59 : แสนประชากร ตัวชี้วัด ร้อยละโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลาย ลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วย STEMI ได้ ผลการดำเนินงาน ร้อยละ100 โรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไป สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด

3 สาขาโรคหัวใจและหลอดเลือด
การดำเนินการเปิดให้บริการห้องตรวจสวนหัวใจ การเปิดบริการยังต้องอาศัยทีมแพทย์จากหน่วยงานอื่นๆ ดังนี้ 21 ก.พ. 60 ทีมแพทย์และพยาบาล รพ.ราชวิถี มาประเมินความพร้อมบุคลากร เครื่องมือ สถานที่ 18 เมษายน 60 รพ.ราชวิถี ส่งทีมมาทำ CAG Pre Op จำนวน 9ราย และ CAG + PCI จำนวน 1ราย 18 เมษายน 60 รับการประเมินหน่วยบริการจาก สปสช. ไม่ผ่านการประเมิน ติดเงื่อนไข การมีแพทย์ Interventionist Plan MOU กับราขวิถี 22 พฤษภาคม 60 แพทย์จาก รพ. จุฬาลงกรณ์ ส่งทีมทำ CAG + PCI จำนวน 6 ราย

4 สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ มีผู้แสดงความจำนงขอบริจาคอวัยวะไตรมาส 1/60 จำนวน 15 ราย ปัจจุบันมีผู้แสดงความจำนงเพิ่มเป็น 69 ราย ( ณ เม.ย. 60 ) อวัยวะที่รับบริจาค จำนวน ( ราย ) ไต 67 ตับ หัวใจ ปอด 66 ดวงตา 24

5

6 สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
การพัฒนาระบบ ECS คุณภาพ (ปี 2560 ไตรมาส1)

7 อัตราตายจากการบาดเจ็บ (Trauma) PS score ≥ 0

8 การดำเนินงานสาขาอุบัติเหตุ ที่ผ่านมา
- มีการใช้ Fast Track รวมใน Trauma level 1 ทุกประเภททั้งจังหวัด - ตั้ง TEAU ที่โรงพยาบาลยะลาและเบตง - มีการทำ Trauma สัญจร ที่ รพช ** ปัญหาการคัดกรอง Level ผู้ป่วยที่ รพช ** ปัญหาการขาดแคลน Neuro Surgeon

9 ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน
สาขาโรคมะเร็ง ลำ ดับ รายการ/ตัวชี้วัด Base Line 2560 อำเภอ รวมข้อมูล (ต.ค59.-ม.ค.60) 2558 2559 เมืองยะลา เบตง 1 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ ≥ 80% 159 198 เป้าหมาย 58 2 60 120 150 ผลงาน 43 45 75.47 75.76 ร้อยละ/อัตรา 74.14 100 75 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ ≥ 80% 104 108 51 - 72 74 40 69.23 68.52 78.43 1. การรักษามะเร็งเต้านมโดยการผ่าตัดผู้ป่วยจะสูญเสียภาพลักษณ์ และในสภาพ สังคม วัฒนธรรม 3 จังหวัด ต้องได้รับการยินยอมจาก สามี ก่อนการรักษา 2. มีความเชื่อในการรักษากับแพทย์ทางเลือกก่อน ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน

10 การดำเนินงานสาขามะเร็ง
- มี อายุรแพทย์โรคมะเร็ง รับ refer ผู้ป่วย 3 จังหวัด - มีระบบ line consult onco 3 จังหวัด - เดือน ก.ค. 60 มี onco นรีเวช - มีการส่ง ยาเคมีบำบัด ไปให้โรงพยาบาลเบตง - วางแผนจัดประชุม update guideline

11 สาขาทารกแรกเกิด อัตราการตายของทารกอายุ ≤ 28 วัน (น้ำหนักแรกเกิด ≥ 500 กรัม) เป้าหมาย 4 : 1,000 ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 2558 2559 ไตรมาส 1 / 2560 2 / 2560 ทารกเกิดมีชีพทั้งหมด 10,919 8,415 2017 1981 จำนวนทารกแรกเกิดที่เสียชีวิตที่อายุ ≤ 28 วัน 51 47 10 6 อัตราการตายของทารกแรกเกิดอายุ ≤ 28วัน 4.67 5.59 4.96 3.03

12 ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข
ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/การแก้ไข 1. Preterm , LBW ลด preterm และ LBW (ดูแล preterm labor , antenatal steroid) 2. Birth asphyxia 2. เพิ่มศักยภาพ (therapeutic hypothermia) 3. Hospital acquired infection 3. การควบคุมป้องกันการติดเชื้อ (Hand hygiene) 4. ศักยภาพพยาบาลเฉพาะทาง 4. เพิ่มศักยภาพพยาบาลเฉพาะทาง ในการดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิด

13 Service plan ที่เป็นปัญหา

14 สาขาการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (RDU)
ขั้นที่ 1 RDU 1 : ประเมินผลการดำเนินงาน (Output) ผลการดำเนิน 6 เดือน (8 รพ.) 1. การสั่งใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติผ่านเกณฑ์ฯ ผ่าน 8 รพ. 2. การดำเนินงานของ PTC ผ่านเกณฑ์ระดับ 3 ผ่าน 3 รพ. 3. รายการยาที่ควรพิจารณาตัดออก 8 รายการ 4. จัดทำฉลากยามาตรฐานและฉลากยาเสริม 13 กลุ่มยา 5. การส่งเสริมจริยธรรมฯ ผ่านเกณฑ์ระดับ 3 ผ่าน 6 รพ. โรงพยาบาลทุกแห่งต้องพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์ RDU 1 ภายในปี 2560

15 ตัวอย่างฉลากยา เก่า ใหม่

16 4 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด
ประเด็น ภาพรวมทั้งจังหวัด 1 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบในผู้ป่วยนอก (ร้อยละ 20 ) ไม่ผ่านทุกรพ. 32.56 2 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก(ร้อยละ 20 ) (รพ. รามัน ผ่าน ) 31.48 3 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ( ร้อยละ40) ไม่ผ่านทุกรพ. 62.64 4 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด (ร้อยละ 10 ) ( รพ.ยะลา รพ.รามัน รพร.ยะหา ผ่าน ) 20.96 5 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบในผู้ป่วยนอก ( รพ.สต. ) (ร้อยละ 20 ) เครือข่าย เบตง ไม่ผ่าน 15.93 6 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก (ร้อยละ 20 ) ( รพ.สต ) ไม่ผ่านทุกเครือข่าย 36.24

17 สาขาโรคไม่ติดต่อ (NCD)
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน - ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมได้ > ร้อยละ40 17.69 - ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ > ร้อยละ 50 18.92 - ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) > ร้อยละ 80 90.03 ข้อมูลจาก HDC 25 เม.ย.60

18 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้

19 ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้

20 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)

21 ปัญหาอุปสรรค การแก้ไขปัญหา
การจัดการรายกรณีได้ไม่ครอบคลุมเนื่องจากผู้ป่วยในพื้นที่มีจำนวนมากและมีปัญหาแตกต่างกัน คณะกรรมการ NCD Board ขาดความต่อเนื่องในการประชุมหาแนวทางแก้ไขปัญหา การนำเข้าข้อมูล จัดระบบการดูแลผู้ป่วย การดูแลต่อเนื่อง ให้ข้อมูลสุขภาพ การจัดการระบบฐานข้อมูล อบรมหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การนิเทศ ติดตาม การแก้ไขปัญหา

22 ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่ส่งกลับไป รพช. / เยี่ยมบ้าน
สาขาโรคไม่ติดต่อ (Stroke) อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (<ร้อยละ 7) ผลการดำเนินงาน 2.45 ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่ส่งกลับไป รพช. / เยี่ยมบ้าน

23 สาขาสุขภาพทางช่องปาก
ร้อยละ รพ.สต./ศสม. ที่จัดบริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ ≥ ร้อยละ 60 ผลการดำเนินงาน 56.18 อัตราการใช้บริการสุขภาพช่องปากรวมทุกสิทธิของประชาชนในเขต ≥ ร้อยละ ผลการดำเนินงาน

24 ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน
ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ข้อเสนอแนะในเชิงบริหารและวิชาการ -ข้อจำกัดด้านการใช้กำลังคนร่วมกันภายในโซน รพสต. ทั้งทันตาภิบาลและ ผู้ช่วยเหลืองานทันตกรรม - คปสอ.มีนโยบายสนับสนุนการ จัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุก นอกเขตพื้นที่รับผิดชอบ มีการ ช่วยเหลือกันภายในโซน และจัดระบบส่งต่อ - สสอ. มีส่วนร่วมกำกับติดตาม และประเมินผล การจัดบริการ สุขภาพช่องปากเป็นโซน รพสต. -ระบบข้อมูลHDCการตรวจสอบข้อมูลลงข้อมูลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ส่งไม่ทันเวลา -คุณภาพข้อมูล HDC - พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากรโดยมีการอบรม เรื่องการบันทึกข้อมูลจากโปรแกรม JHCIS และ HOSXP

25 คลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดำเนินการในพื้นที่อำเภอเมือง
(Primary Care Cluster) เครือข่าย ทีม ชื่อทีม สถานที่ทำการ ประชากร (คน) อำเภอเมือง 1 ธนวิถี เวชกรรม 1 ศสม.ธนวิถี 11,300 2 ผังเมือง 4 ศสม.ผังเมือง 4 8,048 3 ตลาดเก่า ศสม.ตลาดเก่า 11,894 การดำเนินงานในไตรมาสแรก ขึ้นทะเบียน PCC Mapping พื้นที่ กำหนดบุคลากรตามกรอบ จัดทำแนวทางการดำเนินงานของ PCC ร่วมกับเขตบริการสุขภาพที่ 12

26 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google