ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ฮอร์โมนสามารถออกฤทธิ์ได้โดยใช้ประมาณเพียงเล็กน้อย
ฮอร์โมน (Hormone) ฮอร์โมน คือ สารเคมีที่สร้างขึ้นจากเนื้อเยื่อ ส่วนหนึ่งของร่างกายโดยเฉพาะจากต่อมไร้ท่อ (Endocrine gland) แล้วส่งเข้าสู่กระแสโลหิต กระจายไปทั่วร่างกาย ไปมีผลต่ออวัยวะเป้าหมาย โดยเหนี่ยวนำให้เกิดการเจริญเติบโต กระตุ้นหรือยับยั้งการทำงาน ฮอร์โมนสามารถออกฤทธิ์ได้โดยใช้ประมาณเพียงเล็กน้อย
2
ภาพแสดงฮอร์โมนที่หลั่งจากต่อมไร้ท่อ (a) หรือนิวโรซีครีตอรี เซลล์ (b)
จากไฮโพทาลามัส ซึ่งฮอร์โมนจะถูกลำเลียงในกระแสเลือดไปยังอวัยวะเป้าหมาย
4
ในวัยรุ่น หน้าที่ของฮอร์โมน ในวัยเด็ก 1. ฮอร์โมนกระตุ้น การเติบโต
ฮอร์โมนโกรท (GH) จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ในวัยเด็ก ฮอร์โมนไทรอกซิน (Thyroxin) จากต่อมไทรอยด์กระตุ้นการเจริญพัฒนาของสมองด้วย 1. ฮอร์โมนกระตุ้น การเติบโต เพศชาย ได้แก่ Testosterone จาก Interstitial cells of Leydig ในวัยรุ่น เพศหญิง ได้แก่ Estrogen จาก Graafian follicle
5
ลดปริมาณน้ำตาลกลูโคสในเลือด เพิ่มปริมาณน้ำตาลกลูโคสในเลือด
2. ฮอร์โมนควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ลดปริมาณน้ำตาลกลูโคสในเลือด เพิ่มปริมาณน้ำตาลกลูโคสในเลือด คือ Insulin จาก -cell ของ Islets of Langerhans Glucagon จาก -cells ของ Islets of Langerhans Cortisol (มีฤทธิ์แรงสุด) จาก Adrenal Cortex Adrenelin และ Noradrenalin จาก Adrenal medulla Thyroxin จาก Thyroid gland GH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
6
ฮอร์โมนควบคุมแร่ธาตุ Ca2+ และ Po
Calcitonin จากต่อมไทรอยด์ ลดปริมาณ Ca2+ และ Po ในเลือด Parathormone จากต่อมไทรอยด์ เพิ่มปริมาณ Ca2+ และ Po ในเลือด กระตุ้นการละลาย Ca2+ และ Po ออกจากกระดูกและฟันทำให้บาง เปราะ Ca2+ และ Po ในเลือด ทำให้ Parathormone กระตุ้น หลั่ง ต่อมไทรอยด์ ต่อมไทรอยด์ กระตุ้นการดูดซึม Ca2+ และ Po ที่ลำไส้เล็กโดยอาศัยวิตามิน D ช่วย หลั่ง กระตุ้น Calcitonin ทำให้ Ca2+ และ Po ในเลือด ยับยั้งการขับ Ca2+ และ Po ไปกับปัสสาวะ กระตุ้นการนำ Ca2+ และ Po สะสมที่กระดูกและฟันทำให้กระดูกหนาและแข็งแรง ยับยั้งการดูดซึม Ca2+ และ Po ที่ลำไส้เล็ก เพิ่มการขับ Ca2+ และ Po ไปกับปัสสาวะ
7
4. ฮอร์โมนควบคุม Na+ , K+ และ Cl–
Aldosterone จาก Adrenal Cortex กระตุ้นการดูด Na+ กลับคืนที่ท่อหน่วยไตตอนปลาย ยับยั้งการดูด K+ และ Cl– กลับที่ท่อหน่วยไตตอนปลาย
8
5. ฮอร์โมนควบคุมปริมาณน้ำ
5. ฮอร์โมนควบคุมปริมาณน้ำ ADH หรือ Vasopressin จากต่อมใต้สมองส่วนท้าย (ADH สร้างจาก Neurosecretory cells ใน hypothalamus แต่ลำเลียงกับใยแอกซอนมาเก็บสะสมไว้ที่ต่อมใต้สมองส่วนท้าย) เพิ่มการดูดน้ำกลับคืนที่ท่อหน่วยไตตอนปลายมากที่สุด โดยถ้า กระตุ้น ร่างกายขาดน้ำ ADH ยับยั้ง ร่างกายมีน้ำมาก ADH
9
6. ฮอร์โมนควบคุมสีตัว MSH จากต่อมใต้สมองส่วนกลางทำให้สีตัวเข้ม
6. ฮอร์โมนควบคุมสีตัว Melatonin จากต่อมไพเนียล ทำให้สีตัวจาง
10
และกบที่ถูกตัดต่อมใต้สมองที่ได้รับการฉีด MSH ทุกวัน (ขวา)
ฮอร์โมน MSH สารสี Melanin ภายในเซลล์กระจายทั่ว ไซโทพลาสซึมของเซลล์ มีลาโนไซต์ที่ผิวหนัง สารสี Melanin ภายในเซลล์รวมตัวกัน นิวเคลียส ฮอร์โมน Melatonin นิวเคลียส สีตัวจาง สีตัวเข้ม ภาพแสดงการเปลี่ยนสีของกบที่ถูกตัดต่อมใต้สมอง (ซ้าย) เปรียบเทียบกับกบปกติ (กลาง) และกบที่ถูกตัดต่อมใต้สมองที่ได้รับการฉีด MSH ทุกวัน (ขวา)
11
Pineal gland ไม่เติบโตดี
7. ฮอร์โมนควบคุมการเติบโตทางเพศ FSH และ LH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้ากระตุ้นการเติบโตทางเพศ Melatonin จากต่อมไพเนียล ยับยั้งการเติบโตทางเพศ การทดลองหนู ขังหนูในที่มืด หนูได้รับแสง กระตุ้น Pineal gland เติบโตดี Pineal gland ไม่เติบโตดี หลั่ง ลดการหลั่ง Melatonin Melatonin ยับยั้ง กระตุ้น ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ลดการหลั่ง เพิ่มการหลั่ง FSH , LH FSH , LH รังไข่ไม่เติบโต รังไข่เติบโต
12
8. ฮอร์โมนควบคุมรอบเดือน (Menstrual cycle)
FSH จากต่อม ใต้สมอง ส่วนหน้า กระตุ้น การสร้าง และการเจริญเติบโต LH จากต่อม ใต้สมอง ส่วนหน้ากระตุ้น ให้ไข่เติบโตเต็มที่ และการตกไข่ Estropgen จาก Graafian follicle กระตุ้นการหลั่ง LH Progesterone จาก Corpus luteum ควบคุม การตั้งครรภ์
13
รอบเดือน วันที่ใน ตกไข่ (Ovulation) Progesterone สูงสุด
Estrogen สูงสุด Progesterone ต่ำสุด LH สูงสุด ไม่มีการฝังตัวของเอมบริโอ 1 5 9 12 13 14 21 28 รอบเดือน มีประจำเดือน (Menses) ตกไข่ (Ovulation) เยื่อบุผนังมดลูกชั้นในเริ่มสลาย วันที่ใน วันแรกสุดของการมีประจำเดือน Estrogen ต่ำสุด เยื่อบุผนังมดลูกชั้นใน (endometrium) หนาสุด วันฝังตัวของเอมบริโอ (implantation)
15
Ovulation Proliferative phase Menstrual phase Secretory phase
16
ตั้งครรภ์ Progesterone จาก Corpusluteum
9. ฮอร์โมนควบคุมการ คลอด oxytocin กระตุ้นการบีบตัวของผนังมดลูกชั้นกลาง (Myometrium)
17
การสร้างน้ำนม Prolactin จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า 10. ฮอร์โมนกระตุ้น
10. ฮอร์โมนกระตุ้น การหลั่งน้ำนม oxytocin กระตุ้นการบีบตัวของกล้ามเนื้อเรียบรอบต่อมน้ำนม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.