ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยDulcie Glenn ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 เขตสุขภาพที่ 1 คณะที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิต(ด้านสุขภาพ)ทุกกลุ่มวัย
2
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย
0 – 5 ปี ลดการตายของมารดา ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
3
กลยุทธ์ขับเคลื่อนงาน MCH : PIRAB
MCH board/Service Plan/CIPO พัฒนาระบบบริการ ระบบส่งต่อและข้อมูล/ พัฒนาองค์ความรู้/ฟื้นฟู บุคคลากร building capacity กำหนดนโยบายระดับเขต ประเด็นมารดาตาย และ พัฒนาการเด็ก คืนข้อมูลการสำรวจสถานการณ์และพฤติกรรมสุขภาพ (เขต จังหวัด อำเภอ) advocate นิเทศติดตาม เยี่ยมเสริมพลัง ประเมินรับรองมาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข regulate งบดำเนินงาน ศูนย์วิชาการในเขตสุขภาพที่ศอ. / ศจ / สคร./ สบส. งบเขตสุขภาพที่ 1 / งบ PP ระดับเขต ระดับจังหวัด invest partnership เขต MCH board/ Service Plan ศูนย์วิชาการ สปสช เขตสุขภาพ จังหวัด MCH board/ Service Plan คณะอนุกรรมการเด็กปฐมวัยจังหวัด (สท ศธ พม มท) อำเภอ MCH Board/DHS /FCT คณะอนุกรรมการเด็กปฐมวัยอำเภอ ตำบล PCC/FCT/ตำบลบูรณาการฯ/อสม.เชียวชาญ/อสค./หมู่บ้านจัดการสุขภาพ การดำเนินงานตามEssential TASK 6 เดือน 1. มีการวิเคราะห์สาเหตุการตายของมารดา (GAP analysis) เพื่อจัดทำแผนและแนวทางการดำเนินงานปี 2560 โดยใช้กระบวนการขับเคลื่อนการดำเนินงาน CIPO/ MCH Board /Service plan ระดับ เขต จังหวัด โซน และอำเภอ 2. ติดตามการจัดทำแผนระดับอำเภอโดยทีม MCH Board ระดับจังหวัดและเขต 3. ประชุม/ทบทวน case conference มารดาตาย ปี 2560 วางแผนการกำกับ ติดตามและการดำเนินงานเยี่ยมเสริมพลัง MCH Board ระดับเขต 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฏิบัติ โดยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดระบบพี่เลี้ยงโซน การเพิ่มช่องทางสื่อสารให้มากขึ้น ความเชื่อ วัฒนธรรม การเข้าถึงบริการ (เชิงรุก) มาตรการ 1. เพิ่มศักยภาพของ MCH Board ระดับอำเภอและจังหวัดในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก 2. พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ รพสต.ในการดำเนินงานฝากครรภ์คุณภาพ/การติดตามเยี่ยมหลังคลอด 3. ใช้มาตรการ LABOR / PPH / PIH ของเขตสุขภาพที่ 1 และแนวทางการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัด 4. พัฒนาระบบการ กำกับ ติดตามการดำเนินงานแม่และเด็กให้มีประสิทธิภาพ 5. พัฒนาโรงพยาบาลให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก 6. พัฒนาการมีส่วนร่มของภาคีเครือข่ายในการการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก (สามารถลดการตายมารกาจากPPHได้ แต่ต้องเพิ่มคววามเข้มแข็งมาตรการPIH)
4
ผลการดำเนินงาน ปี2560
5
ผลการดำเนินงานเขตสุขภาพที่ 1
จำนวนมารดาตาย ปี 2560 (6 ด.) -PIH with myocarditis. 1 ราย - Eclampsia 2 ราย Suicide 2ราย Post op C/S with Rupture Hepatic capsule of right lobe with massive bleeding 1ราย Sepsis 1 ราย Acute fatty liver 1 ราย PPH 1 ราย รวม8 ราย รายที่8 จว. แพร่ ยังไม่รายงาน (กำลังติดตาม) อัตรามารดาตาย = ต่อแสนการเกิดมีชีพ (8 ราย ) สาเหตุจากPIH 3 ราย , Medical complication 2 ราย จิตเวช 1 ราย , PPH=2ราย จากข้อมูลรายงาน CE ณ วันที่ 31 มี.ค 2560
6
ที่มา HDC วันที่ 20 เมย.60
7
มาตรการและการดำเนินงาน 6 เดือน
ตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด มาตรการและการดำเนินงาน 6 เดือน การป้องกันการคลอดก่อนกำหนด (progesterone) -คัดกรองความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์ -Hi-Risk Fast tract -แนวทางการดูแลและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง CPG จังหวัด/เขต Focus มาตรการ 1.ห้องคลอดคุณภาพ 2.กลยุทธ์ LABOR-PPH 3. กลยุทธ์ PIH Ending preventable Maternal death Early ANC Risk identify Risk manage. Post partum care Surveillance response การติดตาม/ดูแลหลังคลอด= % Anemia =12.44% Prevention Preterm labour LBW=3.28% ผลลัพธ์ ลดสาเหตุการตายจากPPH GAP แม่ตายสูง/ ฝากครรภ์ช้ายังมีอยู่ค่อนข้างมาก /ฝากครรภ์คุณภาพและการดูแลหลังคลอดยังไม่ผ่านเกณฑ์ /ความเชื่อ วัฒนธรรมทำให้ การเข้าถึงบริการช้า(เชิงรุก) ANC ≤12wk. =65.12% ฝากครรภ์ช้า =34.88% ANC 5 ครั้งต่ำกว่าเป้าหมาย =50.13 % Focal point MCH Board ประธาน เลขา เร่งรัดเชิงรุก ในระดับรพ.สต. เน้นอสม.ค้นหาหญิงตั้งครรภ์/ความตระหนักในการฝากครรภ์ /ถอดบทเรียนพื้นที่ ข้อเสนอแนะ MCHBระดับอำเภอ / นิเทศติดตาม 100%
8
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการ เพื่อป้องกันมารดาตาย
เขตสุขภาพที่1 ทุก รพ.มียากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูก methergin/cytotec/ nalador √ High risk pregnancy fast track √ √ Line group ทุก Zone รพ.มีคลังเลือด ครบทุกแห่ง ซ้อมสถานการณ์จำลอง √ √ ทุก รพ.มีถุงตวงเลือด Nurse supervisor เวรบ่าย/ดึก √ √ ทุก รพ.ใช้ถุงตวง รพ.ช หัวหน้าเวรควบคุมดูแล มีเหตุเกินอำนาจหน้าที่ รายงานหัวหน้ากลุ่มการพยาบาล ใช้หลักการ Risk Management ทีม MCHB CIPO สนับสนุน วิชาการ จัดอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติ เพื่อให้เกิด ความรู้สู่การปฏิบัติ เน้นการนิเทศติดตามอย่างความเข้มแข็ง ทำให้ลดสาเหตุการตายจาก PPH ได้ Hysterectomy 1:1,000 birth สุจริต มุ่งมั่น วิริยะ จิตอาสา
9
16/11/2018 ผลการดำเนินงานพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
10
ผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก อายุ 9,18,30 และ 42 เดือน เขตสุขภาพที่1 ข้อมูล 1 ตุลาคม 2559 – 31 มีนาคม 2560 การตรวจคัดกรอง ยังไม่ครอบคลุม จังหวัดที่คัดกรองได้มาที่สุด คือ เชียงใหม่ ร้อยละ 87.32 ที่มา: ณ วันที่ 20 เมษายน 2560
12
ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ( มากกว่าร้อยละ 51)
การดำเนินงานตำบลบูรณการ ด้านพัฒนาการ โภชนาการและทันตสุขภาพ อยู่ระหว่างการจัดทำแผน และเริ่มดำเนินการในบางพื้นที่ โดยนำร่อง1 ตำบลต่อ จังหวัด ส่วนสูงเฉลี่ยไม่ผ่านเกณฑ์ทุกจังหวัด ชาย ( 113) หญิง (112) ที่มา : HDC ณ วันที่ 20 เมย. 60
13
อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างเดียว 6 ด.
(ร้อยละ 30) จุดเด่น การอบรมมิสนมแม่ และมีมิสนมแม่ ในโรงพบาบาลอย่างน้อย 1 คน การเฝ้าระวังการละเมิด พรบ. นมแม่ /บุคลากรตระหนัก และให้ความร่วมมือ (ไม่ขายนมเด็กต่ำกว่า1 ปี) และการให้ความรู้ในโรงเรียนพ่อแม่ (จังหวัดลำพูน เป็นข้อมูล AT6m ส่วนจังหวัดอื่นเป็นยอดสะสม ใช้เกณฑ์ร้อยละ50) ที่มา : HDC ณ วันที่ 20 เม.ย. 60 ข้อมูล under 6 m.
14
- เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
การดำเนินงาน Essential TASK 6 เดือน เป้าหมายผลลัพธ์ พัฒนาการเด็ก ประชุม คณะทำงานเลขานุการร่วม 4 กระทรวงหลัก (พม. มท. ศธ. และ สธ.) เจ้าหน้าที่รับผิดชอบระดับอำเภอ/จังหวัด ได้รับการชี้แจงนโยบายและแนวทางการดำเนินงานพัฒนาการเด็ก และตำบลบูรณการ ปี 2560 จากเขตสุขภาพที่ 1 CPM ระดับอำเภอ มีข้อมูลวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงานและมีแผนการดำเนินงานทุกระดับ เจ้าหน้าที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ในเรื่องการตรวจพัฒนาการและการบันทึกข้อมูลในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม และโรงเรียนพ่อแม่ และมีการจัดกิจกรรมในสถานบริการทุกระดับ สถานบริการตรวจสอบ การมีและใช้เครื่องมืออุปกรณ์ DSPM /TEDA4I เด็ก0-5 ปีได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการและติดตาม ทุกจังหวัดมีการดำเนินงานตำบลบูรณการ เด็ก0-5ปี พัฒนาการดี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ อยู่ระหว่างการจัดทำแผน และเริ่มดำเนินการในบางพื้นที่ สร้างแกนนำอาสาสมัครในชุมชน/อสม. เชี่ยวชาญเด็กปฐมวัย - เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - เด็ก 0-5 ปี มีรูปร่างสูงดีสมส่วน ร้อยละ 51 กลยุทธฯ พัฒนาและสนับสนุนการบริหารจัดการระบบสุขภาพ พัฒนาระบบบริการและ ระบบส่งต่อ ที่มีคุณภาพ สร้างความเข้มแข็งการจัดการสุขภาพเชิงรุก โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย เป้าหมายบริการ 1. เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและคัดกรองพัฒนาการเด็ก ร้อยละ 80 เด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้นภายใน 1 เดือน ร้อยละ 100 2 เด็กที่ล่าช้าได้รับการวินิจฉัยและรักษาโดยกุมารแพทย์ ร้อยละ 100 3.เด็ก 0-5ปี พัฒนาการดี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ
15
ปัญหาอุปสรรค/ปัจจัยเงื่อนไขที่มีผลต่อการดำเนินงาน
ความชำนาญ/สมรรถนะของบุคลากรในการใช้เครื่องมือ DSPM และการบริหารจัดการข้อมูล เด็กไม่มารับบริการตามกำหนด/ตามไม่เจอ เด็กไปเข้าโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก นอกพื้นที่ เด็กมารับบริการจำนวนมาก ตรวจไม่ทัน เด็กที่มารับบริการไม่ตรงตามเงื่อนไขช่วงอายุสำคัญ ตรวจคัดกรองแล้ว แต่ลงข้อมูลไม่ทันเวลา ตรวจ + บันทึกข้อมูล + ส่งออกแล้ว แต่ข้อมูลออกไปไม่ครบ คนตรวจคัดกรอง และคนบันทึกข้อมูลไม่ใช่คนเดียวกัน ความเข้าใจในเงื่อนไขของโปรแกรมการประมวลผล เจ้าหน้าที่ เด็ก บริการ WCC ข้อมูล แนวทางการพัฒนาปรับปรุง การสอนงาน “เพื่อนช่วยเพื่อน” การสุ่มประเมิน และเยี่ยมเสริมพลัง การบริหารจัดการด้านบุคลากร และการจัดการข้อมูล การเสริมแรงและการสนับสนุนการทำงานระดับพื้นที่ (PPA & QOF)
16
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร 1.พัฒนาองค์ความรู้/ฟื้นฟู บุคลากร การดูแลคุณภาพANC /LR/WCC การคัดกรองDSPM TEDA4I ทุกปี และการคัดกรองความเสี่ยงการดูแลด้านจิตเวช พัฒนาความรู้/ทักษะการดูแลรายบุคคล ในเด็กที่มีที่มีปัญหาพัฒนาการ 2.การปฏิบัติตามมาตรการ/CPG/การวางระบบการดูแล ส่งต่อ Fast tract/การทำงานเชิงรุก 3. โรงเรียนพ่อแม่ พ่อแม่คุณภาพ การมีส่วนร่วม ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ - พ่อแม่ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้เลี้ยงดูเฝ้าระวัง กระตุ้นพัฒนาการ โดยใช้คู่มือ DSPM ระบบข้อมูล 1. การเชื่อมโยงข้อมูล เช่นพัฒนาการเด็ก ระหว่างสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ และ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ 2. กำหนดออกแบบรายการข้อมูล ที่จำเป็นในการตรวจราชการ สนับสนุนการลงทุน เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยแบบองค์รวม (สธ สปสช สสส) 1. บูรณาการในเชิงยุทธศาสตร์ ระดับเขต (โครงการ งบดำเนินงาน ของทุกศูนย์ วิชาการ) 2. สนับสนุนงบประมาณ จากเขตสุขภาพที่ 1 หรือ งบประมาณ PP ระดับเขต อย่าง ต่อเนื่อง
17
ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบาย
การสร้างความเข้มแข็งของ partnership นอกกระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนกลไก คณะอนุกรรมการเด็กปฐมวัยจังหวัด (สท ศธ พม มท) สนับสนุนกลไก คณะอนุกรรมการเด็กปฐมวัยอำเภอ สนับสนุนการขับเคลื่อนตำบลบูรณาการฯ การสนับสนุนความร่วมมือจากหน่วยงานความมั่นคงในการทำงานพื้นที่เสี่ยง เช่น พื้นที่ยาเสพติด เป็นต้น การพัฒนานวัตกรรม Model รูปแบบการส่งเสริมพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก (ค้นหา ต่อยอด ขยายผล) สำหรับเขตสุขภาพ ค้นหา protective factor และ risk factor สำหรับสถานบริการ 3. สำหรับชุมชน
18
เด็กวัยเรียน ประเด็นการตรวจราชการ
ส่งเสริมเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ส่งเสริมสุขภาพควบคุมป้องกันโรคในช่องปาก
19
ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน เป้าหมาย : มากกว่าร้อยละ 66
ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน เป้าหมาย : มากกว่าร้อยละ 66 สูงสุด จังหวัด ร้อยละ เชียงใหม่ 60.54 ลำพูน 63.12 ลำปาง 63 แพร่ 64.75 น่าน 61.13 พะเยา 67.14 เชียงราย 61 แม่ฮ่องสอน 64.88 เขต 1 62.37 ประเทศ 65.36 ต่ำสุด ที่มา : HDC ณ 20 เมษายน 2560
20
ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน เป้าหมาย : มากกว่าร้อยละ 66
ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน เป้าหมาย : มากกว่าร้อยละ 66 สูงสุด สูงดี สมส่วน ต่ำสุด ที่มา : HDC ณ 20 เมษายน 2560
21
เด็กวัยเรียน 12 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ เป้าหมาย : ชายสูง 154 เซนติเมตร หญิงสูง 155 เซนติเมตร
ค่อนต่ำ ที่มา : HDC ณ 20 เมษายน 2560
22
สถานการณ์เด็กกลุ่มเสี่ยง ภาวะทุพโภชนาการ (ผอม อ้วน เตี้ย)
ภาวะทุพโภชนาการ (ผอม อ้วน เตี้ย) ไม่เกินร้อยละ 10 ไม่เกินร้อยละ 5 ที่มา : HDC ณ 31 มีนาคม 2560
23
Essential acitivities 6 เดือน
เป้าหมาย ปี 2560 : ร้อยละ 66 เด็กวัยเรียน 6-14 ปี สูงดี สมส่วน เด็ก 12 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ และ ฟันดี ไม่มีผุ GOAL GAP Essential acitivities 6 เดือน ร้อยละ 70 ของ โรงเรียน มีนโยบาย /แผนงาน/โครงการ ส่งเสริมเด็กวัยเรียน สูงดี สมส่วน 1. จังหวัดมีการถ่ายทอด SKC และสร้าง CHOPA & CHIPA Coach ในระดับ อำเภอ และตำบล 2. จังหวัดมีสถานการณ์เด็กวัยเรียนสูงดี สมส่วนและจำนวนเด็กกลุ่มเสี่ยง ส่งต่อ และได้รับการแก้ไข 3. PM วัยเรียน จังหวัด อำเภอ มีการนำสถานการณ์เด็กวัยเรียน สูงดี สมส่วน เด็กกลุ่มเสี่ยง (ผอม อ้วน เตี้ย) มาประชุมวางแผน แก้ไข ร่วมกันระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน 1 ความครอบคลุมของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ เด็กยังต่ำอยู่บางจังหวัด 2. ทุกจังหวัดมีสถานการณ์เด็กวัยเรียนสูงดี สมส่วน แต่มีเฉพาะจังหวัดพะเยาและแพร่ เท่านั้น ที่มีจำนวนเด็กกลุ่มเสี่ยง ส่งต่อ ได้รับการแก้ไข ที่เหลือ 6 จังหวัดอยู่ระหว่างการคัดกรอง 3. PM วัยเรียนจังหวัดพะเยาและแพร่เท่านั้น ที่มีการนำสถานการณ์เด็กวัยเรียน สูงดี สมส่วนและจำนวนเด็กกลุ่มเสี่ยง(ผอม อ้วน เตี้ย) มาประชุมวางแผน แก้ไข ที่เหลือ 6 จังหวัด ยังไม่มีข้อมูล PM วัยเรียนจังหวัด มีการนำสถานการณ์เด็ก วัยเรียน สูงดี สมส่วนและ จำนวนเด็กกลุ่มเสี่ยง (ผอม อ้วน เตี้ย)มาประชุม วางแผน แก้ไข มีเฉพาะจังหวัดพะเยาและแพร่ ที่ผ่านเกณฑ์ทั้ง 3 ข้อ ที่เหลืออีก 6 จังหวัด อยู่ระหว่างดำเนินการ PCC อำเภอ ตำบล ระบบบริการ ทุกแห่งมี รายงานเด็กกลุ่มเสี่ยง ข้อมูลการส่งต่อและข้อมูล เด็กที่ได้รับการแก้ไข
24
บทสรุป จังหวัด/อำเภอ:s อปท./ชุมชน ข้อเสนอแนะ/risk
P parnership ทุกจังหวัดมีคณะทำงาน วัยเรียน ระดับจังหวัดและอำเภอ I Investment ทุกจังหวัด มีการสนับสนุน ถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการแก่ระดับอำเภอ/ตำบล R Regulator ทุกจังหวัด กำหนด ระบบการติดตาม เยี่ยมเสริมพลัง และประเมินผล การคัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยงในแผนงาน A Advocacy จังหวัดพะเยา มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ ONLINE ต่างๆส่วนจังหวัดอื่นอยู่ในระหว่างดำเนินการ B Building Capacity ทุกจังหวัด ได้พัฒนาศักยภาพบุคลากรคือ จนท.สส. /ครู ข. ครู ค. ผู้ปกครอง แกนนำนักเรียน ต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 59 และดำเนินการต่อเนื่องในปี 60 ในระดับโรงเรียนมีคณะทำงานวัยเรียนที่ประกอบด้วยโรงเรียน รพสต. อปท. ประชาชนในพื้นที่ ใช้รูปแบบคณะกรรมการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ยังไม่มีการสนับสนุนจาก อปท. ยกเว้นจังหวัดพะเยา ได้รับงบประมาณจากสำนักงานจังหวัด มาดำเนินการแก้ไข Regulator ยังไม่มีการติดตาม เยี่ยมเสริมพลัง และประเมินผล การคัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยง อย่างเป็นรูปธรรมร่วมกันในระดับชุมชน ยังอยู่ในระดับโรงเรียนเท่านั้น พื้นที่ชุมชนในจังหวัดพะเยา มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ ONLINE ในรูปแบบหลากหลาย แต่จังหวัดอื่นๆยังอยู่ในระหว่างดำเนินการ ทุก รพสต. อยู่ในระหว่างการสร้างแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพ คือแกนนำนักเรียน SKL(Smart kid leader) เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานในโรงเรียน วิเคราะห์โครงสร้างการทำงานที่เอื้อต่อการให้บริการคัดกรองและส่งต่อเด็กกลุ่มเสี่ยง และปรับให้เหมาะสมตามบริบทพื้นที่ กำกับและประเมินผลการนิเทศ ติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยง อย่างเป็นระบบ ในทุกระดับ เพื่อติดตามผลการแก้ไข เป็นรายบุคคล
25
ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 12 ปี ปราศจากฟันผุ (caries free) และ ฟันดีไม่มีผุ (cavity free) เขตสุขภาพที่ 1 เด็กกลุ่มอายุ 12 ปี เขตสุขภาพที่ 1 ปี 59 ปราศจากฟันแท้ผุ (caries free) คิดเป็น % ฟันดีไม่มีผุ (cavity free) คิดเป็น % สถานการณ์ในภาพรวม สุขภาพช่องปาก ในกลุ่มวัยดังกล่าว มีแนวโน้มที่ดีขึ้นเป็นลำดับคาดว่าจะสามารถดำเนินการได้สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ค่อนข้างมาก นอกจากนี้ จากผลการดำเนินงาน พบว่า สภาวะเหงือกอักเสบ มีแนวโน้มลดลง แต่การแปรงฟันก่อนนอน พบโดยเฉลี่ย ร้อยละ ควรดำเนินการให้เพิ่มมากขึ้น
26
มาตรการ การดำเนินงานปี 2560 เด็กกลุ่มอายุ 12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free)
สร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วม ของภาคีเครือข่าย ศพด., สพป., รร., อปท., ชุมชน, ผู้ปกครอง พัฒนาระบบบริการ การดำเนินงาน ใน รพสต./รพช. Cup Manager SMART Technic F vanish พัฒนาบุคลากร องค์ความรู้ ทักษะการดำเนินงานเพื่อการเฝ้าระวัง การส่งเสริมทันตสุขภาพ และการป้องกันโรคในช่องปาก เด็กกลุ่มอายุ 12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) กำกับติดตาม นิเทศ ติดตาม ประเมินผล โดยคณะทำงาน ระดับจังหวัด/อำเภอ
27
กลยุทธ์การขับเคลื่อนงานทันตฯ : PIRAB
การจัดกิจกรรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพ ช่องปาก แก่ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง building capacity กำหนดนโยบายระดับจังหวัด เพื่อการส่งเสริม ป้องกัน และรักษาโรคในช่องปาก คืนข้อมูลทันตสุขภาพ ในทุกระดับ เพื่อพิจารณาร่วมกันในการดำเนินงาน รณรงค์ สร้างกระแส และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน advocate นิเทศ ติดตาม เยี่ยมเสริมพลัง ประเมินผลการดำเนินงาน ประกาศความร่วมมือกับภาคีที่เกี่ยวข้อง เช่น สพป. อปท. regulate กองทุนหลักประกันสุขภาพ งบ PP ระดับเขต Invest partnership เขต Service Plan ศูนย์วิชาการ, สปสช. เขตสุขภาพ จังหวัด สสจ. อำเภอ รพช. / Cup Manager DHS. ตำบล รพ.สต. /อสม. /อสค./หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ,
28
Gap analysis : วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะ
ควรมีการประชุม/อบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพ ผู้ที่เกี่ยวข้องในประเด็นที่ยังเป็นปัญหา เช่น ระบบข้อมูล และให้มีการติดตาม ประเมินผล อย่างต่อเนื่อง ควรเน้นการประสานงาน และ ระบบการสนับสนุนภายในจังหวัด ทั้งในระดับ สสจ. - CUP - รพ.สต. และมีการกำกับ ติดตาม ผลการดำเนินงาน ต่อเนื่อง เร่งดำเนินงาน ด้านส่งเสริมทันตสุขภาพ และ การป้องกันโรคฟันผุ ให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น แนวทางการดำเนินงานของจังหวัดในกลุ่มเป้าหมาย 0-12 ปี มีความชัดเจน สอดคล้องตามกลยุทธ์ PIRAB พบปัญหาในการบันทึกข้อมูล ระบบ 43 แฟ้ม มีความยุ่งยาก ประกอบกับการลงไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ล่าช้า ทำให้ดึงข้อมูลได้น้อยกว่าที่ปฏิบัติงานจริง เมื่อเทียบกับผลการดำเนินงานที่จังหวัดรวบรวมได้ Oral Health Manager/Cup manager บางพื้นที่ขาดประสบการณ์ และมีบทบาทในการวางแผนแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพในพื้นที่น้อย การเปลี่ยนสายงานของ จพง.ทันต. คาดว่าจะเป็นปัญหาที่ส่งผลต่อผลงานในอนาคต กลุ่ม 0-2 ปี จัดกิจกรรมส่งเสริมป้องกัน ทำได้น้อยและไม่ครอบคลุม เช่น การฝึกผู้ปกครอง แปรงฟันให้เด็กโดยลงมือปฏิบัติ เฉลี่ย 27.4% (HDC) เด็ก 3-5 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก เฉลี่ย 43.6% (HDC) สรุป กลุ่มเป้าหมายเด็ก 0-12 ปี จังหวัดมีมาตรการ /กิจกรรม รองรับชัดเจน หากแก้ไขปัญหา เรื่องการจัดการข้อมูลแล้ว คาดว่าผลการดำเนินงานน่าจะได้ตามที่กำหนด
29
กลุ่มวัยรุ่น 1.1.3 อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 – 19 ปี
กลุ่มวัยรุ่น อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 – 19 ปี
30
อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี รอบ 6 เดือน ปี 2560
อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี รอบ 6 เดือน ปี 2560 จังหวัด ร้อยละ เชียงใหม่ 10.42 ลำพูน 6.63 ลำปาง 7.85 แพร่ 11.6 น่าน 15 พะเยา 12.85 เชียงราย 12.51 แม่ฮ่องสอน 20.97 เขต 1 11.63 ประเทศ 14.42 ที่มา : HDC ณ วันที่ 20 เมษายน 2560
31
ที่มา : HDC ณ วันที่ 20 เมษายน 2560
ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี (ไม่เกินร้อยละ10 ) เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 ( 6 เดือน ) จังหวัด ร้อยละ เชียงใหม่ 18.62 ลำพูน 9.68 ลำปาง 9.95 แพร่ 15.86 น่าน 12.44 พะเยา 11.73 เชียงราย 16.23 แม่ฮ่องสอน 9.14 เขต 1 14.55 ประเทศ 16.79 ที่มา : HDC ณ วันที่ 20 เมษายน 2560
32
ที่มา : HDC ณ วันที่ 20 เมษายน 2560
ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปีหลังคลอด/หลังแท้งได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร (ยาฝังคุมกำเนิด/ห่วงอนามัย) เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 (6 เดือน) จังหวัด ร้อยละ เชียงใหม่ 12.21 ลำพูน 7.69 ลำปาง 93.51 แพร่ 86.27 น่าน 79.37 พะเยา 21.43 เชียงราย 42.2 แม่ฮ่องสอน 14.29 เขต 1 48.56 ประเทศ 62.87 ที่มา : HDC ณ วันที่ 20 เมษายน 2560
33
สถานการณ์และเป้าหมายระดับเขต
อัตราการคลอดมีชีพหญิงอายุ ปี เป้าหมาย ไม่เกิน 42 ต่อพันประชากร ภาพรวม ผ่านเกณฑ์ อัตรา = ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ(14.42 ต่อพัน) โดยจังหวัดที่มีอัตราคลอดสูงสุด คือ จ.แม่ฮ่องสอน เท่ากับ ต่อพันประชากรหญิง ปี ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำ ภาพรวมของเขตยัง สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด (ไม่เกินร้อยละ10) = ร้อยละ จังหวัดที่มีอัตราการตั้งครรภ์ซ้ำสูง 3 จังหวัดแรก คือ เชียงใหม่ เชียงราย และแพร่ ตามลำดับ ซึ่งหากไม่มีการเร่งรัดการแก้ปัญหาในอนาคตอาจส่งผลให้อัตราคลอดแม่วัยรุ่นของเขตมีแนวโน้มที่สูงขึ้น
34
มาตรการการดำเนินงานเขตสุขภาพที่ 1 ปี 2560 วัยรุ่นมีสุขภาพอนามัยเจริญพันธุ์ที่ดี
สร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและท้องถิ่น โดยมีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อน พ.ร.บป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นระดับจังหวัด/จัดประชุมเพื่อวางแผนแก้ไขปัญหา พัฒนาระบบบริการyfhs วัยรุ่นเข้าถึงบริการ/มีระบบให้คำปรึกษา/คัดกรองและได้รับบริการคุมกำเนิดที่เหมาะสมมีระบบส่งต่อที่มีประสิทธิ ภาพ พัฒนาบุคลากร อบรมองค์ความรู้ ทักษะ การคำปรึกษาวัยรุ่น /การฝังยาคุมกำเนิด/วิทยากรเพศคุยได้ อัตราคลอดแม่วัยรุ่นท้องไม่เกิน 42 ต่อพัน พัฒนาระบบส่งต่อ แม่วัยรุ่นได้รับบริการให้คำปรึกษา/ดูแลช่วยเหลือและส่งต่อแก่ภาคีเครือข่ายอย่างเหมาะสม กำกับติดตาม มีระบบติดตามเยี่ยมเสริมพลังโดยทีมประเมินรับรองฯYFHSและRHD ระดับเขต/จังหวัด
35
Gap analysis ตามกลยุทธ์ PIRAB
จังหวัด/อำเภอ อปท./ชุมชน ข้อเสนอแนะ/risk P partnership มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯในจ.แพร่ น่าน และลำปาง จังหวัดที่เหลือควรเร่งรัดการตั้งคณะอนุกรรมการขับ เคลื่อนระดับจังหวัด และจัดประชุม I Investment ทุกจังหวัด มีการสนับสนุนความรู้ทางวิชาการแก่ระดับอำเภอ ตำบล R Regulator ทุกจังหวัด กำหนดให้มีระบบการติดตาม เยี่ยมเสริมพลัง จ.ลำพูน ยังไม่มีแผนการส่งรพ/อำเภอเข้ารับการประเมินรับรองฯ A Advocacy จังหวัดมีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ ONLINE บางจังหวัดขาดการกระตุ้น/พัฒนาให้รพ.ตระหนักเข้ารับการประเมินรับรองYFHSและ RHD ตามเป้าหมาย(จ.ลำพูน จ.แพร่ จ.เชียงใหม่) B Building Capacity ทุกจังหวัด ได้พัฒนาศักยภาพบุคลากรคือ จนท.สส. ในระดับอำเภอ ยังมีอปท/ชุมชนมีส่วนในการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นค่อนข้างน้อย ยังไม่มีการสนับสนุนจาก อปท. ยกเว้นจังหวัดพะเยา ได้รับงบประมาณจากสำนักงานจังหวัด มาดำเนินการ Regulator ยังไม่มีระบบการติดตาม เยี่ยมเสริมพลัง รพ.ที่มีคลินิคให้บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน A Advocacy บางจังหวัดยังขาดการกระตุ้นสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายในท้องถิ่นและชุมชนร่วมแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น มีการอบรม อาสาสมัคร/แกนนำชุมชนและแกนนำเยาวชนในเรื่องอนามัยเจริญพันธุ์ และอยู่ในระหว่างการอบรม เรื่องเพศคุยได้ให้กับพ่อแม่ ที่มีลูกวัยรุ่น วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ วัยรุ่นในพื้นที่ เพื่อวางแผนการทำงานได้ตรงกลุ่มเป้าหมายและมีความครอบคลุม มีการนิเทศกำกับและประเมินผลการนิเทศ
36
ปัญหาอุปสรรค Best Practice
จังหวัดประสบปัญหาในการจัดตั้งคณะอนุกรรมการฯขับเคลื่อน พ.ร.บ ระดับจังหวัด เนื่องจากส่วนกลางขาดการสื่อสาร และไม่มีแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจนแก่จังหวัด ทำให้เกิดความล่าช้าในการประสานการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯระดับจังหวัด Best Practice มีจังหวัดที่ มีภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งดำเนินการเรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหาวัยรุ่นที่เป็นแบบอย่างได้ดี เช่นจังหวัดลำปาง (อ.วังเหนือ) จ.พะเยา(อ.ปง อ.จุน) จ.น่าน (อ.ทุ่งช้าง .อ.เชียงกลาง อ.นาหมื่น) จ.เชียงราย( อ.พาน )และจ.เชียงใหม่ (อ.แม่ออน) จ.แม่ฮ่องสอน (อ.เมือง อ.ขุนยวม) จ. แพร่ ( อ. สูงเม่น อ.ลอง) จ.ลำพูน (อ.ลี้)
37
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร 1.บุคคลากรสาธารณสุข -ให้ความรู้ทักษะการให้คำปรึกษาวัยรุ่น/ทักษะการให้บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ยาฝังคุมกำเนิดและห่วงอนามัย) ให้ความรู้/ทักษะการเป็นวิทยากร การสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัว -พัฒนาศักยภาพทีมเยี่ยมเสริมพลังการดำเนินงานวัยรุ่น ระดับจังหวัด 2.แกนนำชมรม/ภาคประชาชน -ให้ความรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์ /ทักษะการสื่อสารเรื่องเพศกับพ่อแม่/ การจัดค่ายพ่อแม่และ ค่ายเยาวชน การบริหารจัดการ การดำเนินงานวัยรุ่นระดับจังหวัด -ควรมีการบูรณาการงานที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพลดภาระงานที่ซ้ำซ้อน -ส่งเสริม/สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบงาน/จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับจังหวัด -เพิ่มการนิเทศกำกับติดตามการดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมายที่เป็นปัญหา -เพิ่มมาตรการในการลดอัตราการตั้งครรภ์ซ้ำ โดยโครงการยุติการตั้งครรภ์อย่างปลอดภัยด้วยยา การปรับทัศนคติผู้ให้บริการและการสร้างระบบส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ ระบบข้อมูล 1.วางแผน/กำหนดวิธีการทำระบบข้อมูลให้น่าเชื่อถือเพื่อประโยชน์ในการวางแผนแก้ไขปัญหาวัยรุ่น (วิจัย,การรายงาน)ในระดับจังหวัด/เขต 2.กำหนดออกแบบรายการข้อมูลที่จำเป็นในการตรวจราชการ การพัฒนา Model 1. พัฒนารพ.ต้นแบบทีจัดตั้งคลินิกให้บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน YFHS ในสถานบริการทุกระดับ(รพท รพช รพสต) 2.พัฒนาต้นแบบการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นในการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น
38
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
1.1.5 ร้อยละตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพ ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์
39
จำนวนประชากรผู้สูงอายุเขตสุขภาพที่ 1 “925,638” คน
เชียงราย 185,343 พะเยา 83,459 น่าน 79,434 แพร่ 83,781 ลำปาง 135,322 ลำพูน 78,849 เชียงใหม่ 252,257 แม่ฮ่องสอน 27,193 เกินกว่า 1 แสน เกินกว่า 5 หมื่น หมายเหตุ :: ที่มาจากHDC report สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข , วันที่ประมวลผล :: 31 มีนาคม 2560 ต่ำกว่า 5 หมื่น
40
ข้อมูลผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 1 ร้อยละ : ประเทศ แพร่ (19.32) - ลำปาง (18.89) - ลำพูน (18.87) ผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง ภาพรวมเขต 56,790 คน (ร้อยละ 6.48) สูงสุด คือจังหวัดแพร่ ร้อยละ 8.79 และ เชียงใหม่ ร้อยละ 8.16 แต่ไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด (ไม่เกินร้อยละ 15)
41
กลยุทธ์ขับเคลื่อนงาน
PIRAB P : ใช้กลไกคณะกรรมการร่วม สธ และ สปสช. “ คณะกรรมการขับเคลื่อน LTC ” ในส่วนกลางและคณะกรรมการดำเนินงานในระดับพื้นที่ และกลไกชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ I : ประสานแหล่งเงินทุน (สปสช. สสส. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) เพื่อสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน R : ขับเคลื่อนการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุและแนวทางการจ่ายเงินตามชุดสิทธิประโยชน์ และมาตรฐานการดูแลผู้สูงอายุ A : สร้างการสื่อสารสาธารณะที่เข้าถึงง่ายร่วมกับเครือข่าย เพื่อ “สังคมไทยเป็นสังคมแห่งความกตัญญูรู้คุณ ไม่ทอดทิ้งผู้สูงอายุ B พัฒนานโยบาย การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ระบบดูแลผู้สูงอายุ 3 S (Thai Active Aging: Strong Social and Security) อบรม Care manager, Caregiver และ อสค. และ สนับสนุนกลไกการเงินจาก สปสช.
42
ESSENTIAL TASK Small success กลไก รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน
รอบ 12 เดือน เขตสุขภาพ สสจ./รพศ. /รพท. - มีคณะกรรมการ ร่วม สธ และ สปสช. ในระดับเขต - มีคณะกรรมการระดับจังหวัด - ประชุมชี้แจง และจัดอบรม CM - สนับสนุนการ ดำเนินงาน - มี CM 259 คน - จัดสรร งบประมาณแก่พื้นที่ - มี CM 1,040 คน จัดสรรงบ ประมาณแก่พื้นที่เพื่อสนับ สนุนแก่ผู้สูงอายุ - จัดสรรงบ ประมาณให้พื้นที่ เพื่อสนับสนุนผู้สูงอายุ
43
ผลงาน 8 จังหวัด (ตาม CIPO เขต)
44
ผลงาน 8 จังหวัด (ตาม CIPPO เขต)
45
Gap analysis ตามกลยุทธ์ PIRAB
จังหวัด/อำเภอ อปท./ชุมชน ข้อเสนอแนะ/risk P = Partnership ทุกจังหวัดเข้าร่วมคณะทำงานขับเคลื่อนและบูรณาการตามภารกิจสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข CIPPO ทุกพื้นที่มีคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินโครงการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวด้านสาธารฯสุขที่มีภาวะพึ่งพิง โดยคณะอนุกรรมการกองทุน Long Term Care การตอบสนองนโยบายการดำเนินงานในตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care ) ไม่เป็นไปตามเป้าหมายควรผลักดันแนวทางนโยบาย การสร้างความเข้าใจเรื่องงบกองทุน LTC ระหว่าง อปท. และหน่วยบริการ I=Investment ทุกจังหวัดได้รับการสนับสนุนงบประมาณกองทุน Long Term Care เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพ ทุกพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวด้านสาธารฯสุขที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับงบประมาณสนับสนุน จากกองทุน Long Term Care R= Regulation ทุกจังหวัดมีระบบติดตามการดำเนินงานตั้งแต่ระดับ จังหวัด อำเภอ ตำบล ครบทุกพื้นที่ คณะกรรมการ CIPPO เขตได้ติดตามเยี่ยมเสริมพลังการดำเนินงานกับท้องถิ่น A=Advocacy ทุกจังหวัดมีการขับเคลื่อนสื่อสารการดำเนินงาน โดยคณะกรรมการ CIPPO เขตและระบบ social network ทุกจังหวัดมีคณะทำงานระดับพื้นที่อำเภอ ตำบล ในการติดต่อสื่อสาร ในการทำงาน B=Building capacity ทุกจังหวัดมีการพัฒนาศํกยภาพบุคลากรที่รับผิดชอบงานตั้งแต่ส่วนกลางและพัฒนาบุคลากรระดับพื้นที่ เป็น CM ,CG ทุกพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวด้านสาธารฯสุขที่มีภาวะพึ่งพิงได้พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่รับผิดชอบ (CM ,CG)
46
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร ขยายความครอบคลุมการพัฒนา CG , CM ให้ครอบคลุมทุก รพ.สต. ในพื้นที่ตำบลเป้าหมาย พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขให้มี ความรู้ ทักษะ การคัดกรองส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทีมีภาวะพึ่งพิง การบริหารจัดการ ทำความเข้าใจกับอปท.และหน่วยงานบริการในเรื่องความชัดเจนในการเบิกจ่ายกองทุน LTC เร่งรัดสร้างความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการดำเนินงานการจัดทำ care plan ให้ครอบคลุมเป้าหมายและเบิกจ่ายงบกองทุน LTC ระบบข้อมูลผู้สูงอายุ วางแผน/กำหนดวิธีการได้มาซึ่งข้อมูลผู้สูงอายุให้มีความเชื่อมั่น เที่ยงตรง ตั้งแต่ระดับพื้นที่ ตำบล อำเภอ จังหวัดและเขต ให้เป็นข้อมูลตรงกัน เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนการดำเนินงาน
47
: Prevention & Promotion Excellence
ยุทธศาสตร์ 1 : Prevention & Promotion Excellence แผนงาน ที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด 17 : ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital
48
เป้าหมาย ปี 2560 : ร้อยละ 75 ของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ผ่านเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ระดับพื้นฐาน
49
กลยุทธ์ขับเคลื่อนงาน GREEN & CLEAN Hospital : PIRAB
เสริมสร้างทักษะความเชี่ยวชาญ สนับสุนนองค์ความรู้ ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมแก่เจ้าหน้าที่ทุกระดับ building capacity กำหนดนโยบายระดับ เขต / จังหวัด / รพ. เรื่อง GREEN & CLEAN Hospital คืนข้อมูลการประเมินตนเอง แก่ จังหวัด / รพ. advocate กฎกระทรวง ว่าด้วยการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อพ.ศ.2545 ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข regulate การบูรณาการการใช้ทรัพยากรในการพัฒนาและขับเคลื่อนงาน เช่น ใช้สื่ออิเล็กทรอนิคส์ในการติดต่อประสานงาน, การใช้กลไก อสธจ. ผลักดันการขับเคลื่อนแบบบูรณาการ invest partnership - สร้างการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายอย่างบูรณาการ ผลักดันให้เกิดการ ลปรร. ทั้งเครือข่าย รพ.และชุมชน เขต เขตสุขภาพ ศูนย์อนามัย ศูนย์ฯ ทีมประเมิน ศูนย์ฯ/จังหวัด จังหวัด ทีมประเมิน จังหวัด /รพ.
50
โรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital
Small success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน มีมาตรการเพื่อพัฒนาโรงพยาบาลให้ผ่านเกณฑ์พื้นฐานG&C Hospital G&C Hos pital ร้อยละ75 มีนโยบาย แผนงาน โครงการ จัดอบรมพัฒนาศักยภาพ จนท. (B ,R,I) มีกลไกขับเคลื่อนงาน ร.พ. ประเมินตนเอง ตามเกณฑ์ G&C คำสั่งทีมบูรณาการ ตรวจประเมิน ร.พ. G&C (P,R ,I,) - ทีม จังหวัดเยี่ยม เสริมพลัง - รพ.พัฒนา ผ่านเกณฑ์ G&C Hospital ร้อยละ30 (A , R) ทีม จังหวัดเยี่ยม เสริมพลัง รพ.พัฒนา ผ่านเกณฑ์ G&C Hospital ร้อยละ60 (A , R) สสจ. และรพ. ผ่านเกณฑ์ พัฒนาG&C Hospital ตามแผนฯ (P,I,A)
51
โรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์
GREEN & CLEAN Hospital Small success 6 เดือน เป้าหมาย 75 % (82 แห่ง) 29/13 8/4 10/10 9/1 15/10 14/6 8/8 Small success 6 เดือน ผลการดำเนินงาน Small success 3 เดือน มีการประกาศนโยบายทุกจังหวัด และ ทุก รพ. ทุก รพ.มีการประเมินตนเอง มีการแต่งตั้งทีมตรวจประเมินระดับจังหวัด ทุกจังหวัด Small success 6 เดือน ทีมจังหวัดออกตรวจประเมิน ดังนี้ - จ.เชียงใหม่ รพ 29 แห่ง ตรวจ 13 แห่ง ผ่าน 13 แห่ง - จ.เชียงราย แผนการตรวจประเมิน เมย-พค.60 - จ.ลำปาง รพ. 14 แห่ง ตรวจ 8 แห่ง ผ่าน 6 แห่ง - จ.ลำพูน รพ. 8 แห่ง ตรวจ 8 แห่ง ผ่าน 8 แห่ง - จ.พะเยา รพ. 9 แห่ง ตรวจ 1 แห่ง ผ่าน 1 แห่ง - จ.แพร่ รพ. 8 แห่ง ตรวจ 4 แห่ง ผ่าน 4 แห่ง - จ.น่าน รพ. 15 แห่ง ตรวจ 10 แห่ง ผ่าน 10 แห่ง - จ.แม่ฮ่องสอน รพ. 8 แห่ง ตรวจ 4 แห่ง ผ่าน 4 แห่ง 5 (4.6%) 11 (10.09%) 42(38.5%) 2 (1.8%) 49 (44.9%) สสจ.ตรวจเยี่ยมรพ.ผ่านเกณฑ์ G&C Hospital รอบแรก (6 เดือน)
52
ข้อชื่นชม 1. ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญและสนับสนุนการ ดำเนินงาน
1. ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญและสนับสนุนการ ดำเนินงาน - นโยบายอาหารปลอดภัยและโภชนาการ (N) - การพัฒนาส้วมสาธารณะ (R) มีการทำงานแบบบูรณการ ทีมดำเนินงานที่เข้มแข็งทั้งระดับจังหวัดและ โรงพยาบาล
53
โอกาสพัฒนา - ความชัดเจนของเกณฑ์ แต่ละประเด็น
- เจ้าหน้าที่ขาดทักษะและประสบการณ์ GAP สนับสนุนทีมวิทยากร คู่มือ ชุดความรู้ การดำเนินงาน - พัฒนาศักยภาพ - พัฒนาตามเกณฑ์ ความชัดเจนของเกณฑ์ เช่น ข้อที่ 1 การกำหนดนโยบาย จำเป็นต้องดำเนินการเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ หรือ ประกาศ/แจ้งในที่ประชุม รพ.ได้หรือไม่ ข้อที่ 2 เรื่องการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ตามกฎหมาย ซึ่งครอบคุลม 7 หัวข้อ คือ 1.บุคลากร 2.การคัดแยก 3.การเก็บรวบรวม 4.การเคลื่อนย้าย 5.ลักษณะรถเข็น 6.สถานที่พัก 7.การกำจัด ซึ่งแต่ละข้อจะมีข้อย่อยๆ ทำให้เกิดความสับสนของผู้ประเมินว่า จะต้องผ่านทุกข้อย่อยๆด้วยหรือไม่ ข้อที่ 4 เรื่อง ส้วม HAS ในหัวข้อการจัดให้มีส้วมนั่งราบสำหรับผู้พิการ ผู้สูงวัย หญิงตั้งครรภ์ และประชาชนทั่วไปอย่างน้อย 1 ที่ ผู้ประเมินเข้าใจว่า จำเป็นจะต้องจัดสร้างหรือมีส้วมผู้พิการ ตามกฎกระทรวง กำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคาร สำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. ๒๕๔๘ หมวด 7 เรื่องส้วม ว่าด้วยสิ่งอำนวยความสะดวก ข้อที่ 10 เรื่องการจัดบริการน้ำดื่ม การเฝ้าระวังคุณภาพน้ำด้วยชุดทดสอบ ให้ทำการเฝ้าระวังกี่จุด เป็นต้น ณ ปัจจุบัน ทีมศูนย์ฯ ได้มีการชี้แจงและทำความเข้าใจเกณฑ์ในแต่ละประเด็น ให้แก่ทีมตรวจประเมินระดับจังหวัด ได้รับทราบและเข้าใจเป็นแนวทางเดียวกันเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
54
1.2.3 การบำบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติด KPI : ร้อยละผู้ป่วยหยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน 92%
ข้อมูล บสต. ปี 2560: 31 มีค 60 วิเคราะห์เชิงลึกพบว่าคาดการณ์แนวโน้มอัตราสำเร็จปลายปี:ลดลง การนำเข้าข้อมูลทั่วประเทศปัจจุบันประมาณ 50% ไม่นับรวมเคสopioid(ฝิ่น เฮโรอีน) แต่พบสัดส่วนสูงกว่าเขตสุขภาพอื่นปัญหาสุขภาพเขต ส่วนใหญ่ของเคสยังไม่ครบวงรอบประเมินติดตามผล กลุ่มผู้ป่วยใช้สารมากกว่า 2 ขึ้นไป(opioid+methamp+alcohol) เป็นกลุ่มเยาวชน กลุ่มผู้หญิง MSM มี prescription drugs abuse : Tramadol overdoseserotonin syndrome.convulsion,coma ข้อเสนอแนะทุกจังหวัดจากการวิเคราะห์สถานการณ์: -นำเข้าข้อมูลให้เป็นปัจจุบันเพื่อดู trend,out come -เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงเป็นพิเศษ -กำกับการสั่งจ่ายยาtramadol
55
ธัญญารักษ์แม่ฮ่องสอน
สถานบริการด้านยาเสพติดในเขตสุขภาพที่ 1 ธัญญารักษ์แม่ฮ่องสอน สวนปรุง ธัญญารักษ์เชียงใหม่ เตียงบำบัดฟื้นฟูจิตเวชและยาเสพติด เตียงบำบัดจิตเวชและยาเสพติด7-14วัน บำบัดแบบผู้ป่วยนอก ที่มา:กลุ่มงานแผนและยุทธศาสต์เขตสุขภาพที่1 ปี 2559
56
Service delivery ยาเสพติดเขตสุขภาพที่ 1
การบริการ ด้านยาเสพติด A S M1 M2 F1 F2 F3 P รพ.ธัญรักษ์ รพ.สวนปรุง กรมวิทย์ รวม สถานพยาบาล 3 5 8 9 68 6 1,092 2 1 การคัดกรอง √ - การบำบัดรักษาฟื้นฟู OPD การติดตามหลังการบำบัด 1 ปี การตรวจคัดกรองยาเสพติดทางห้องปฎิบัติการ ตรวจพิสูจน์ยาเสพติดในปัสสาวะในขั้นการตรวจยืนยัน - Immuno Gaschromato การรักษาวิธี Harm Reduction เช่น เข็มฉีดยา Small success 3 mo 100% Pscreening , brief intervention & refer Small success 6 mo : 50% ทุกระบบบำบัด(สมัครใจ,บังคับบำบัด,ต้องโทษ)จัดบริการตามมาตรฐานกระทรวงมาตรฐานกระทรวงกำลังดำเนินการ(สบรส)
57
ประเด็นปัญหา(GAP) ร่วมของเขต
Partnership National policyผวจ.ขับเคลื่อน กลไกประชารัฐร่วมมือระหว่างกระทรวงมากขึ้น NGOsเชียงใหม่ เชียงราย ยังพบปัญหาด้านการสื่อสารนโยบายและความร่วมมือทุกจังหวัดทั้งใน/นอก กสธ. Capacity building มีการใช้กลไก service plan ในการพัฒนา Structure โครงสร้างไม่ชัดเจน ไม่เหมาะสมกับบริบท ระดับสสจ. รพท/ศ รพช รพ.สต Staff ภาระงานไม่สมดุลกับการถ่ายโอนภารกิจ การพัฒนาบุคลากรทุกวิชาชีพไม่ครอบคลุมโดยเฉพาะแพทย์เวชศาสตร์สารเสพติด และพยาบาลเฉพาะทางด้านยาเสพติด Service delivery มีการจัด level of care(ตาม small success) ยังขาดระบบส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ Information system มีการปรับปรุงระบบการจัดเก็บข้อมูลในระดับประเทศ ทำให้เกิดช่วงเปลี่ยนผ่านฐานข้อมูล การนำเข้าข้อมูลต่ำกว่าควร Investment HRD developeสบรส.ขับเคลื่อน Budget lineมีการสนับสนุนมากขึ้น ทิศทางการพัฒนาไม่ชัดเจนจากส่วนกลาง แนวปฏิบัติการใช้จ่ายไม่เอื้อต่อstaff Remission 92% Advocate Public policyintregrated ถึงระดับอำเภอ ทุกจังหวัดยังขาดความเชื่อมโยงลงสู่ระดับตำบลตามทิศทางกระทรวง regulate เบื้องต้น มีการกำกับติดตามเชิงปริมาณมากขึ้น Legislate ใช้คำสั่งคสช108เป็นจุดบูรณาการสนับสนุน ส่วนกลางมีทิศทางยังไม่ชัดเจนในการกำกับ ประเมินผลในเชิงคุณภาพ
58
ข้อเสนอแนะ นโยบาย เขต จังหวัด partnership
ควรมีกรอบการทำงานและทิศทางการทำงานที่สอดคล้องกันระหว่างกระทรวง ควรมีความชัดเจนตกผลึกในนโยบายก่อนการปฏิบัติการ ควรมีการสื่อสารนโยบายที่ชัดเจนทุกภาคีที่เกี่ยวข้อง ควรใช้เวทีโครงสร้างศูนย์ยาเสพติดจังหวัดให้เหมาะสม โดยเน้นการวิเคราะห์ข้อมูลและสะท้อนข้อมูลไปยังภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลปัญหา เพิ่มความร่วมมือกับNGOsและกระทรวงอื่น(มหาดไทย กลาโหม ฯลฯ)ในจังหวัด(ชม.ชร)เพื่อเพิ่มการเข้าถึงโดยเฉพาะในพื้นกันดาร Invesment & Budget เสนอให้มีการลงทุนด้านงบประมาณเพิ่มในจังหวัดที่มีบริบทเฉพาะด้านการเข้าถึงบริการ ควรทบทวนปัญหาอุปสรรคด้านการบริหารงบประมาณเพื่อนำมาใช้วางแผนบริหารในรอบถัดไป กำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณให้สอดคล้องกับสถานการณ์การบำบัด Regulate ควรมีแผนการกำกับติดตามที่เหมาะสม มีกรอบเวลาชัดเจน ลดความซ้ำซ้อนภาระงาน ควรเน้นการกำกับติดตามเชิงคุณภาพมากกว่าปริมาณ ควรมีแผนการกำกับการทำงานในภาพเขตสุขภาพ เฝ้าระวังตัวยาใหม่และการใช้ยาในทางที่ผิด(tramadol) capacity ควรมีแผนการพัฒนาระบบบริการที่มีเอกภาพจากส่วนกลางที่มีรายละเอียดการปฏิบัติชัดเจนทุกblocks ควรทบทวนระบบโครงสร้างที่เอื้อต่อการทำงาน ควรมีการเตรียมความพร้อมด้านระบบข้อมูลก่อนการใช้จริงและมีการประเมินความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการเก็บข้อมูล ควรจัดระบบบริการรับส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุนให้เกิดเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ นวตกรรมและการดูแลปัญหาเฉพาะ(opioid,polydrugs) ควรจัดบริการเฉพาะสำหรับผู้ติดสารopioid ครบทุกจังหวัด ควรมีเกณฑ์หรือแนวทางการดูแลในจังหวัดที่เชื่อมโยงตั้งแต่ปฐมภูมิถึงตติยภูมิหรือสูงกว่า
59
Prevention & Promotion Excellence
คณะที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ แผนงานที่ 2 แผนงานการป้องกันควบคุมโรค Prevention & Promotion Excellence P&P ดร. วรรณภา สุวรรณเกิด
60
Bangkok Charter for Health Promotion Commitment to Health For All
In Globalised World Policy Infrastructure Action Partner Invest Policy development Leadership Practice Knowledge management Health literacy Bangkok Charter For Health Promotion Commitment to Health For All Make the promotion of health Global development agenda Government core responsibility Key focus of communities and civil society Good corporate practices Build Capacity Advocacy Regulate นายแพทย์วิชัย เทียนถาวร อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุข
61
Bangkok Charter: PIRAB Strategic Implement Guideline
Partner : ชักชวนพันธมิตรทุกภาคส่วน ทุกระดับให้เห็นความสำคัญและร่วมกันทำงานส่งเสริมสุขภาพแบบยั่งยืนโดยเฉพาะการกำหนดเรื่องสุขภาพเป็นประเด็นสำคัญในทุกนโยบายสุขภาพ (health in all policy) Invest: กระตุ้นให้เกิดการลงทุนโดยเฉพาะด้านงบประมาณที่เพียงพอจากระดับนโยบายทุกภาคส่วนเพื่อจัดการกับปัจจัยกำหนดสุขภาพเช่นด้านเศรษฐกิจ & สังคม Regulate & Legislate : ใช้การตรากฎและออกกฎหมาย เพื่อคุ้มครองประชาชนจากความเสี่ยงต่อสุขภาพทุกด้าน Advocate: ชี้นำ ชูประเด็น และสนับสนุนให้การเมืองทุกระดับ ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพ บนพื้นฐาน สิทธิมนุษยชนและความเท่าเทียม สร้างการทำงานร่วมกันกับทุกภาคส่วน ( Public Private People) โน้มน้าว ประชาสัมพันธ์ ให้เกิดความตระหนัก เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และอื่นๆ Building capacity : พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกภาคส่วนให้สามารถพัฒนานโยบายทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพตลอดจนการวิจัย การกระจายความรู้เพื่อความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน
62
องค์ประกอบเนื้อหา (Contents)
ประเด็นการตรวจราชการและตัวชี้วัด โครงสร้างการทำงานที่เชื่อมโยงรองรับภารกิจตัวชี้วัด ในภาพรวมของเขต 1 Gap analysis โดยใช้กลยุทธ์ PIRAB แยกรายตัวชี้วัด การใช้กรอบ PIRAB ในการกำหนดมาตรการ/กลวิธี ระหว่างสาเหตุและวิธีการแก้ไข ในระดับจังหวัด/เขต (โอกาสในการพัฒนา) เป้าหมายระยะสั้นที่เป็นรูปธรรม /มีหลักฐานเชิงประจักษ์ อ้างอิงได้ Essential Task Lists (ETLs) ที่สอดคล้องกับมาตรการ/กลวิธี การดำเนินการและเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายระยะสั้น (กี่ ETLs) ปัญหาอุปสรรค -Effectiveness Efficiency Quality Development- ข้อค้นพบ/สิ่งดีๆ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายระดับเขต/จังหวัดเพื่อบรรลุความสำเร็จตามตัวชี้วัด
63
ตัวชี้วัดการป้องกันควบคุมโรค
หัวข้อ ประเด็นการตรวจราชการและเป้าหมาย การสร้าง/พัฒนาทีมเครือข่ายผู้ก่อการดีป้องกันการจมน้ำ ลดอัตราการเสียชีวิตเด็กอายุไม่เกิน 15 ปีไม่เกิน 5 ต่อแสน ปชก เพื่อให้เกิดกลไกป้องกันเขต 1 ไม่ควรเกิน 2.8 ต่อแสนประชากร การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนไม่เกิน 18 ต่อ แสน ปชก NCD: HT& DM อัตราป่วย HT รายใหม่ลดลงร้อยละ 2.5, อัตราป่วย DM รายใหม่ลดลงร้อยละ 5 ร้อยละผู้ป่วยที่ควบคุม DM HT ได้ 40/50% ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อายุ ปีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ระบบการจัดการสุขภาพในพื้นที่ 1. การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และ ทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริงร้อยละ 80 2. การป้องกันควบคุมวัณโรค อัตราความสำเร็จการรักษา ผป วัณโรครายใหม่และกลับซ้ำ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 การเร่งรัดค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคและ ผป.ในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรคและ ผป. ตามมาตรฐานให้หาย และกินยาครบ
64
โครงสร้างการทำงานที่เชื่อมโยงรองรับภารกิจตัวชี้วัดในภาพรวมของเขต 1
โครงสร้างภายใน Intra-sectorial โครงสร้างภายนอก Inter-sectorial ปัญหา จมน้ำ งานพัฒนารูปแบบบริการ ระบาด srrt, EMS อปท ครู/รร สพฐ กู้ชีพกู้ภัย รพสต รพช ยังไม่ขับเคลื่อนเชิงระบบ การพัฒนายังเป็นแบบแยกส่วน RTI data RTI EMS ER ECS SRRT :สอบสวน ศปถ .จ .อท ได้แก่ ปภ ตร บ.กลาง/แขวง/ขนส่ง/เทศบาลเมือง/ อบต./ทต./สอจร. ความเชื่อมโยงระดับ ศปถ.จ ศปถ.อ และศปถ.ท การกำกับสนับสนุนเป็นแบบแยกส่วน NCD : คณะ 1 งาน NCD/ รพ./ รพ.สต.,งานส่งเสริม , งานพัฒนาคุณภาพ(ตำบลจัดการสุขภาพ) งานอาชีวะอนามัย(สถานประกอบการปลอดโรคฯ) งานประชาสัมพันธ์ (สื่อสารความเสี่ยง) อปท. สถานประกอบการ มหาวิทยาลัย ยังขาดการเชื่อมโยงข้อมูล ขาดการทำแผนบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม คณะ 2 งานNCD/ รพ. /รพ.สต. Service plan สาขา DM/HT รพ.เอกชน ขาดการสื่อสาร ส่งต่อข้อมูลอย่างเป็นระบบ การมีส่วนร่วมต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมยังน้อย EOC งานหลัก ก ควบคุมโร ก.อนามัยสิ่งแวดล้อม ก โรคไม่ติดต่อ งานสนับสนุน ด้าน Logistic สื่อสารความเสี่ยง ด้านการเงินฯ CIPO-ICS เขตสุขภาพ,คณะทำงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด,ปภ.จังหวัด ขาดการบูรณาการแผนฯ, SOP SAT ระบาด NCD CD N-occ คุ้มครองผู้บริโภค ยุทธศาสตร์ (IT) กรมอนามัย กรมควบคุมโรค ก.มหาดไทย ก.ทรัพย์ฯ อปท กรมปศุสัตว์ ฯลฯ ยังบูรณาการได้ไม่สมบูรณ์ (ภายใน) TB งานควบคุมโรค ระบบการรายงานข้อมูลจากโปรแกรมTBCM2010 รพศ รพท รพช ก.ยุติธรรม/แขวง/ก.พม./มหาวิทยาลัย/ รพ.นอกสังกัดรัฐ/เอกชนอปท. ความเชื่อมโยงระบบรายงานยังไม่ครอบคลุม ในรพ. รพ.นอกสังกัดรัฐ/รพ.เอกชน (การใช้โปรแกรมTBCM2010 )
65
อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ (วัยเรียน)
ลดอัตราการเสียชีวิตเด็กอายุไม่เกิน 15 ปีไม่เกิน 5 ต่อแสน ปชก เพื่อให้เกิดกลไกป้องกันเขต 1 ไม่ควรเกิน 2.8 ต่อแสนประชากร ประเด็นการตรวจราชการ: การสร้าง/พัฒนาทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ป้องกันการจมน้ำ
66
ผลการดำเนินงานเขต 1: การป้องกันเด็กจมน้ำ
ผลการดำเนินงานเขต 1: การป้องกันเด็กจมน้ำ อัตราตายจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 5 ต่อแสนประชากร (เพื่อให้เกิดกลไกในเขต 1 ไม่ควรเกิน 2.8 ต่อแสนประชากร) ณ 31 มีค 2560
67
เป้าหมาย ทีมผู้ก่อการดีรายจังหวัดและเขตฯ 1
68
Gap analysis โดยใช้กลยุทธ์ PIRAB
จมน้ำ : ยังไม่มีทีมผู้ก่อการดี ครอบคลุมทุกพื้นที่เสี่ยง จมน้ำ GAP P ขยายเครือข่ายทีมผู้ก่อการดีในพื้นที่เสี่ยง (อปท. ร.ร กู้ชีพกู้ภัย รพสต รพช.) ยังไม่ครอบคลุม ขาดการเชื่อมกลไกกระตุ้น สพฐ. กำหนดหลักสูตรว่ายน้ำลอยตัวเอาชีวิตรอด I การขับเคลื่อนเชิงระบบเพื่อให้พื้นที่เสี่ยง ร่วมกับท้องถิ่นกำหนดมาตรการป้องกันมีข้อจำกัด /ไม่ครอบคลุม R การกำกับแผนงานให้เกิดรูปธรรมเช่นการจัดการแหล่งน้ำการจัดการศูนย์เด็กเล็ก A การสอบสวนเด็กจมน้ำ บางแห่งขาดการสรุป เพื่อใช้ประโยชน์ผลักดันมาตรการป้องกันในแต่ละระดับ ขาดความเชื่อมโยงการประชาสัมพันธ์แก่ผู้ดูแลเด็กให้ครอบคลุมถึงระดับครัวเรือน B แกนนำครู ข ที่ผ่านการพัฒนาศักยภาพ และทีม EMS ที่ผ่านการพัฒนาศักยภาพ ถ่ายทอดความรู้ระดับท้องถิ่น/ครัวเรือนยังไม่เป็นรูปธรรม
69
Essential Task Lists (ETLs) ที่สอดคล้องกับมาตรการ/กลวิธี
จมน้ำ ETLs ลป ขยายเครือข่าย พัฒนาทีมทั้ง 6 องค์ประกอบ (เน้น มีครู ข จัด สวล. และสอนในศูนย์เด็ก) ลพ ขยายเครือข่าย พัฒนาทีมทั้ง 6 องค์ประกอบ (เน้น มีครู ข จัดสวล. และสอนในศูนย์เด็ก) ชร M&E ผ่าน DC/DHS ชม แพร่ ขยายเครือข่าย พัฒนาทีมทั้ง 6 องค์ประกอบ (เน้น มีครู ข จัดสวล. และสอนในศูนย์เด็ก) น่าน มส
70
คน แหล่งน้ำ ระบบเฝ้าระวัง
การใช้กรอบ PIRAB ในการกำหนดมาตรการ/กลวิธี ระหว่างสาเหตุและวิธีการแก้ไข ในระดับจังหวัด/เขต (โอกาสในการพัฒนา) P I R A B จมน้ำ ขยายเครือข่ายความร่วมมือ/การบูรณาการภายในและภายนอกหน่วยงาน ให้มีการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยทางน้ำร่วมกับท้องถิ่น พัฒนารูปแบบการดำเนินงานให้สามารถเชื่อมโยงกับ สพฐ ได้ (เน้นความยั่งยืน) การจัดการให้เกิดแหล่งน้ำต้นแบบ (innovation) M&E ผ่าน DC/DHS กระตุ้นแผนงานให้เกิดกิจกรรมทั้ง 6 องค์ประกอบ กำกับติดตามแผนงานให้เกิดรูปธรรม เช่น *การสอนทักษะลอยตัวแก่เด็ก * การจัดการแหล่งน้ำ * การจัดการศูนย์เด็กเล็ก (ครู นร สวล.) การใช้ประโยชน์ข้อมูลการสอบสวนให้เกิดการผลักดันระดับเครือข่าย เพิ่มช่องทาง ปชส ลงสู่ชุมชน/ โรงเรียน/ ครัวเรือน ครู ก ถ่ายทอดความรู้ให้ บุคลากรอื่น /ครู ข ครู ข ถ่ายทอดระดับพื้นที่ มบ/ ครัวเรือน PreVention คน แหล่งน้ำ ระบบเฝ้าระวัง
71
เร่งรัดการดำเนินงาน 6 อปก.และ M&E
มีการกำหนดเป้าหมายระยะสั้นที่เป็นรูปธรรม มีหลักฐานเชิงประจักษ์ อ้างอิงได้ จมน้ำ ดำเนินงานครบ 6 องค์ประกอบผู้ก่อการดี สรุปผลงานส่งประเมินรับรองทีมก่อน 15 มิ.ย.60 การดำเนินการและเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายระยะสั้น (กี่ ETLs) จมน้ำ เร่งรัดการดำเนินงาน 6 อปก.และ M&E ข้อค้นพบ/สิ่งดีๆ จมน้ำ จ.น่านขยายทีมฯครอบคลุม ขณะนี้ตาย=0
72
ปัญหาอุปสรรค -Effectiveness Efficiency Quality Development-
PreVention คน แหล่งน้ำ ระบบเฝ้าระวัง ปัญหาอุปสรรค -Effectiveness Efficiency Quality Development- จมน้ำ ความยั่งยืน การสอนหลักสูตรว่ายน้ำลอยตัวเอาชีวิตรอดและมาตรการป้องกันจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อความปลอดภัยทางน้ำร่วมกับท้องถิ่น ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายระดับเขต/จังหวัดเพื่อบรรลุความสำเร็จตามตัวชี้วัด จมน้ำ ผลักดัน 1 training center ต่อ 1 อำเภอ พัฒนาทีม regulator ระดับเขต
73
ประเด็นการตรวจราชการ:
อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (วัยทำงาน) ประเด็นการตรวจราชการ: การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน มาตรการบริหารจัดการ มาตรการจัดการข้อมูล มาตรการป้องกัน มาตรการรักษา
74
จำนวนตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ข้อมูล 3 ฐาน) สะสม 2 ไตรมาส เขตสุขภาพที่ 1ประจำปี 2560
ข้อมูลถึงกพ ได้แก้ เชียงราย ลำพูน เว้น มส ถึงมี.ค นอกนั้นข้อมูลเดิม จากการตรวจรราชการ
76
อำเภอ District Health System
กรอบแนวทางทศวรรษความปลอดภัยทางถนน รัฐบาล แผนแม่บท (วาระแห่งชาติ) แผนทศวรรษ ลดอัตราการเสียชีวิตลง 50% ในปี ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน (ศปถ) ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน จังหวัด (หน่วยราชการ /องค์กรส่วนท้องถิ่น/ เอกชน/ ประชาชน) ภาคเอกชน/เครือข่าย สสส. ศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน(ศวปถ.) งานสนับสนุนการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนนระดับจังหวัด (สอจร.) ฯลฯ 5 เสาหลัก (6 คณะอนุกรรมการ ) Pillar 1 ปภ. Pillar 2 ทางหลวง Pillar 3 ขนส่งทางบก Pillar 4 ตำรวจ Pillar 5 สาธาฯ การบริหารจัดการความปลอดภัย ทางถนน ถนนและ การสัญจร อย่างปลอดภัย ยานพาหนะปลอดภัย ผู้ใช้รถใช้ถนนปลอดภัย การตอบสนองหลังเกิดอุบัติเหตุ รัฐบาลกำหนดงานอุบัติเหตุจราจรเป็นแผนแม่บท วาระแห่งชาติ // มีเป้าหมาย ลด อัตราการเสียชีวิตลง 50% ในปี // ดำเนินงานผ่านทาง ศปถ ประกอบด้วยหน่วยราชการส่วนกลางร่วมกับเครือข่ายเอกชน ไปสู่ ระดับจังหวัด // ศปถ ประกอบด้วย 6 อนุกรรมการ // สธ รับผิดขอบ อนุกรรมการ 5. Post-crash care และ 6. Information and evaluation // พัฒนาระบบข้อมูล (อนุฯคณะที่ 6) กรมควบคุมโรค อำเภอ District Health System
77
Gap analysis โดยใช้กลยุทธ์ PIRAB
RTI :อยู่ในระยะสนับสนุนให้ศปถ อำเภอ ดำเนินงานตามเกณฑ์ DHS RTI RTI GAP P ความสามารถเชื่อมโยงการจัดการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทุกระดับ และร่วม M&E ต่อเนื่อง ยังมีข้อจำกัดขาดจุดหมุน (จุดประสาน) I ศปถ.อ. ใช้ข้อมูลและรายงานสอบสวนอุบัติเหตุกำหนดแผนป้องกันอุบัติเหตุเชิงรุกที่ และใช้ DHS RTI เป็นกรอบกำหนดแผน ยังมีข้อจำกัด R ข้อจำกัดด้านการติดตามประเมินผลตามเกณฑ์ DHS RTI ผ่าน DC/DHS ให้ถึงการมีส่วนร่วมถึง ศปถ.ท (ชุมชน ) เน้นการจัดการพฤติกรรมเสี่ยง จุดเสี่ยง (ผลลัพธ์:มีมาตรการชุมชน/ด่านชุมขน) A ความต่อเนื่องของการจัดทำและนำเสนอ WARNING REPORT และการสื่อสารความเสี่ยงด้านพฤติกรรม B ศักยภาพของบุคลากรสหสาขา ด้านความเป็นเอกภาพกำหนดแผนงาน สามารถวิเคราะห์ เสนอ และถ่ายทอด มาตราการสู่การปฏิบัติร่วมกับชุมชนได้
78
เกณฑ์การประเมิน DHS RTI
ที่ เกณฑ์การประเมิน DHS RTI ระดับดี (good) 1 การจัดการข้อมูล การเฝ้าระวัง และจัดทำสถานการณ์ ย้อนหลัง 2 ปี 2 การสอบสวนสาเหตุการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน 3 ครั้ง/ปี 3 การขับเคลื่อนการดำเนินงานแบบมีส่วนร่วมของทีมสหสาขา โดยการประชุมเพื่อนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ผลักดันให้เกิดมาตรการป้องกัน 4 มีแผนงาน/โครงการ 1 แผนงาน 5 การขับเคลื่อนทีมระดับตำบล/หมู่บ้าน/หน่วยงาน (RTI team ระดับตำบล) 3 ทีม 6 การชี้เป้าและจัดการจุดเสี่ยง/ความเสี่ยง 3 จุด 7 การดำเนินงานมาตรการชุมชน/ด่านชุมชน 3 ตำบล หรือ 5 ด่าน/อำเภอ 8 การดำเนินงานมาตรการองค์กรความปลอดภัยทางถนน 3 หน่วยงาน 9 การรณรงค์ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ 10 สรุปผลการดำเนินงาน 1 ฉบับ เป้าหมาย เชิงปริมาณ ร้อยละ 30% ของ อำเภอในจังหวัด เชิงคุณภาพ ผ่านการประเมินระดับดี ร้อยละ 50 ของอำเภอที่ดำเนินงาน ควรดำเนินการตามเกณฑ์
79
การใช้กรอบ PIRAB ในการกำหนดมาตรการ/กลวิธี ระหว่างสาเหตุและวิธีการแก้ไข ในระดับจังหวัด/เขต (โอกาสในการพัฒนา) P I R A B RTI ขยายเครือข่ายความร่วมมือ พัฒนารูปแบบศปถ.จ เชื่อม ศปถ.อ และศปถ ท กระตุ้นให้เกิดความเข้มแข็งแผนงานป้องกัน acc เชิงรุก M&E ผ่าน DC /DHS RTI การจัดทำและเสนอรายงานผลักดันร่วมกับสหสาขา เพิ่มกลไกสร้างมตก.องค์กร/ ชุมชน เพิ่มศักยภาพทีมสหสาขาภายใต้ ศปถ.อ.และท. สามารถวิเคราะห์และถ่ายทอดเชื่อมถึงท้องถิ่น ระดับองค์กร หรือครัวเรือนได้
80
Essential Task Lists (ETLs) ที่สอดคล้องกับมาตรการ/กลวิธี
มีการกำหนดเป้าหมายระยะสั้นที่เป็นรูปธรรม มีหลักฐานเชิงประจักษ์ อ้างอิงได้ RTI ข้อมูล 3 ฐาน+รายงานสอบสวน acc และกระตุ้นสนับสนุน DHS RTI อ.เสี่ยงสูง รายงานสถานการณ์ และแผนงานกำกับสนับสนุนของ ศปถ. แต่ละระดับ จ.และ อ. เชื่อมถึงท้องถิ่น Essential Task Lists (ETLs) ที่สอดคล้องกับมาตรการ/กลวิธี RTI ETLs ลป ศปถ.อ 4 อ.เสี่ยงสูงมีกลไกความร่วมมือด้านแผนงานป้องกันอุบัติเหตุเชิงรุก ลพ เพิ่มการใช้ประโยชน์จากข้อมูลกำหนดมาตรการผ่าน ศปถ.อ ชร เพิ่มการใช้ประโยชน์จากข้อมูลกำหนดมาตรการผ่าน ศปถ. ชม แพร่ น่าน มส
81
การดำเนินการและเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายระยะสั้น (กี่ ETLs)
RTI นำข้อมูล 3 ฐานมากำหนดแนวทางและมาตรการป้องกันระดับ ศปถ.อ ตามแนวทาง DHS RTI ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของอำเภอในแต่ละจังหวัด ข้อค้นพบ/สิ่งดีๆ RTI การใช้ประโยชน์เชิงระบาดวิทยาจากข้อมูล 3 ฐานและรายงานสอบสวนส่งผลให้เกิดกลไกบูรณการได้เพิ่มขึ้น
82
ปัญหาอุปสรรค -Effectiveness Efficiency Quality Development-
RTI คณะทำงานยังไม่สามารถผลักดัน กลไก ศปถ.อ.แบบสหสาขาให้เกิดแผนงานบูรณการป้องกันอุบัติเหตุเชิงรุกที่เป็นรูปธรรม ต่อเนื่องได้ตลอดทั้งปี ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายระดับเขต/จังหวัดเพื่อบรรลุความสำเร็จตามตัวชี้วัด RTI ผลักดัน กลไก ศปถ.จ/อ./ท.แบบสหสาขา และผลักดันระดับนโยบายผ่านผู้ว่าราชการ
83
NCDs : DM HT คณะที่ 1 แผนงานที่ 2 สุขภาพกลุ่มวัย-วัยทำงาน
- อัตราป่วย HT รายใหม่ลดลงร้อยละ 2.5, อัตราป่วย DM รายใหม่ลดลงร้อยละ 5 คณะที่ 2 แผนงานที่ 6 service plan - ร้อยละผู้ป่วยที่ควบคุม DM HT ได้ 40/50% - ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อายุ ปีที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)
84
อัตราป่วยรายใหม่เบาหวาน DM ลดลงจากปี 2559 ร้อยละ 5
อัตราต่อประชากรแสนคน ข้อมูลของแต่ล่ะจังหวัดสถานการณ์ผู้ป่วยรายใหม่ลดลงและเพิ่มขึ้นต่างกันมาก ข้อสังเกตอาจเนื่องมาจาก การตรวจสอบข้อมูลจัดการลงทะเบียนผู้ป่วยเข้าสู่ระบบ
85
อัตราป่วยรายใหม่ความดันโลหิตสูง HT ลดลงจากปี 2559 ร้อยละ 2.5
อัตราต่อประชากรแสนคน สำหรับสถานการณ์โรคผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ก็ลดลงเช่นกัน น่าจะด้วยเหตุผลทำนองเดียวกัน แต่ขอย้ำว่าอย่าไปสนใจตัวชี้วัด ให้ดู on going process การลงทะเบียนให้ผู้ป่วยเข้าสู่ระบบบริการได้ครอบคลุมเพื่อผู้ป่วยได้รับบริการลดโรคแทรกซ้อน ซึ่งจะคุ้มกว่า แม้ว่าจะทำให้จำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
86
ร้อยละความครอบคลุมการคัดกรอง DM ในประชาการอายุ >35 ปี
87
ร้อยละความครอบคลุมการ คัดกรอง HT ในประชากรอายุ >35 ปี
แนวโน้มการคัดกรองดีขึ้นตามลำดับ ในปี 2559 เป็นจังหวัดเดียวที่สามารถทำได้ตามที่กระทรวงกำหนด ร้อยละ 90 ซึ่งเป็นข้อมูลจากระบบ HDC จังหวัดแพร่มีการพัฒนาการรายงานในระบบ HDCได้ดี จังหวัดมีการFeedback ข้อมูลพื้นที่อย่างสม่ำเสมอ ผู้บริหารใช้ข้อมูลจากระบบHDC ติดตามกำกับงานและเป็นข้อมูลในการจัดสรรทรัพยากร ในปี 2560 ข้อมูลวันที่ 20 เมย.2560 พบว่า แนวโน้มการคัดกรองความดันโลหิตสูงจากรายงานผ่านระบบ HDC มีหลายจังหวัดที่ทำได้เกินเป้าหมาย เช่น ลำพูน ลำปาง แพร่และน่าน
88
ร้อยละผู้ป่วย DM ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี HbA1C<7
KPI ร้อยละ ยังควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ดี ปี 59 ลดลงกว่าปี 58 คงต้องมีการพิจารณามาตรการดำเนินงานให้เข้มข้นมากขึ้น เนื่องจากอัตราป่วยของโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง ยังมีแนวโน้มสูงขึ้น
89
ร้อยละผู้ป่วย HT ที่ควบคุมระดับ BP ได้ดี
KPI ร้อยละ การควบคุมความดันโลหิตมีแนวโน้มทำได้ดีขึ้นทุกจังหวัด โดยเฉพาะจังหวัดน่าน
90
ร้อยละของผู้ป่วย DM/ HT ได้รับการคัดกรองประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ปี 2559 ร้อยละ ข้อมูลตรวจราชการ รวบรวมรายงานจากหน่วยบริการโดย สสจ.
91
ร้อยละของผู้ป่วย DM/ HT ได้รับการคัดกรองประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ปี 2560 ปี 59คัดกรอง CVD risk ได้น้อย เป็นโอกาสพัฒนา ถ้าประเมินได้มากเท่าไรก็จะสามารถออกแบบการบริการเพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดใน 10 ปีข้างหน้า ในปี 60 มีแนวโน้มดีขึ้นตามลำดับ ข้อมูลรายงานจาก ระบบ HDC วันที่ 20 เมย.2560
92
Gap analysis โดยใช้กลยุทธ์ PIRAB
NCD : ความครอบคลุมของการคัดกรองในกลุ่มประชากรอายุ 35 ปีในพื้นที่เขตเมือง : ประสิทธิภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชากรกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย : คัดกรองภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยไม่ครอบคลุมและครบถ้วนตามมาตรฐาน NCD GAP P เครือข่ายภายในยังขาดการนำข้อมูลมาเชื่อมเพื่อใช้ประโยชน์และต่อยอด สำหรับภาคีภายนอก ยังขาดการมองเป้าหมายและวางแผนจัดการร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม (อปท. ภาคประชาชน โรงเรียน ร้านอาหาร) I มีการจัดระบบบริการสุขภาพ /คลินิก NCD คุณภาพ Plus และการจัดทำแผนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค NCDs แต่ยังมีปัญหาการกระจายทรัพยากร/คน/เครื่องมือ/อุปกรณ์การดำเนินงาน R มีการกำหนดนโยบายและนำสู่การปฏิบัติ สสจ. /สสอ./รพ. /รพ.สต. แต่ยังขาดการส่งต่อสื่อสารให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจอย่างทั่วถึง การบังคับใช้กฎหมายควบคุมการบริโภคยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยังทำได้เฉพาะอำเภอเมือง ส่วนใหญ่เฝ้าระวัง ตรวจเตือน ประชาสัมพันธ์ กติกา มาตรการทางสังคมยังมีข้อจำกัดทำได้เฉพาะพื้นที่ไม่สามารถขยายให้ครอบคลุม A การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมยังขาดประสิทธิภาพ การขาดความร่วมมือในการสนับสนุนการเฝ้าระวัง ลดเสี่ยงในชุมชน การสื่อสารเตือนภัย ยังใช้รูปแบบ การรณรงค์สร้างกระแสและประชาสัมพันธ์ ยังขาดประเด็นสารที่เหมาะสมกับบริบทของแต่ละพื้นที่ B System/Case manager ส่วนใหญ่ยังขาดทักษะการเฝ้าระวังวิเคราะห์ข้อมูล สอบสวนโรคและการจัดการเชิงระบบ อสม./อสค./อปท./โรงเรียน ขาดทักษะในการสื่อสารเตือนภัยและการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
93
การใช้กรอบ PIRAB ในการกำหนดมาตรการ/กลวิธี ระหว่างสาเหตุและวิธีการแก้ไข ในระดับจังหวัด/เขต (โอกาสในการพัฒนา) P I R A B NCD เสริมสร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ในทุกระดับทั้งภายในและภายนอก เช่น ภาคประชาชน โรงเรียน อบจ.อปท.ร้านอาหาร ผู้ประกอบการรับเหมาจัดเลี้ยง เป็นต้น การจัดระบบ บริการสุขภาพ / คลินิกNCD คุณภาพ Plus ให้ได้ตาม มาตรฐาน จัดระบบการ กระจายทรัพยากร เงิน / คน/ของให้ เหมาะสม พัฒนา คุณภาพข้อมูลอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีความครอบคลุม มีการพัฒนาช่องทางการสื่อสารนโยบายลงสู่การปฏิบัติโดยทั่วถึง สสจ. สสอ./รพ. รพ.สต.รวมทั้งองค์กรภาคส่วนอื่นๆที่เกี่ยวข้อง พัฒนาการเฝ้าระวัง ตรวจเตือน บังคับใช้กฎหมายควบคุมการบริโภคยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สู่พื้นที่อำเภออื่นๆนอกจากอำเภอเมือง ขยายชุมชนต้นแบบบุหรี่/สุรา/อาหารสุขภาพ ไปยังพื้นที่อื่นๆ ทบทวนพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พัฒนาความร่วมมือสนับสนุนการเฝ้าระวัง ลดเสี่ยงในชุมชน ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารเตือนภัยให้ทันสมัย จัดทำประเด็นสารตามพฤติกรรมเสี่ยงที่เป็นปัจจัยกำหนดโรคไม่ติดต่อให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละพื้นที่ ติดตาม กำกับ และประเมินการดำเนินงาน ทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ต่อเนื่องเป็นระบบ พัฒนาทักษะSystem/Case manager ในการเฝ้าระวังวิเคราะห์ข้อมูล สอบสวนโรคและการจัดการเชิงระบบ พัฒนาทักษะ อสม./อสค./อปท./โรงเรียน ขาดในการสื่อสารเตือนภัยและการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
94
มีการกำหนดเป้าหมายระยะสั้นที่เป็นรูปธรรม มีหลักฐานเชิงประจักษ์ อ้างอิงได้
NCD การคัดกรองDM/HT ภายในไตรมาส 1 และ 2 กลุ่มเสี่ยงDM/HT ได้รับข้อมูลสื่อสารและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มป่วยDM/HT ได้รับการประเมินความเสี่ยง CVDและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พัฒนาคลีนิค NCD คุณภาพ Plus ข้อมูลจาก ระบบ HDC ข้อมูลการประเมิน
95
Essential Task Lists (ETLs) ที่สอดคล้องกับมาตรการ/กลวิธี
NCD ETLs พย. ถ่ายถอดนโยบาย ควบคุม ดูแลกำกับ และสนับสนุนการดำเนินงานในระดับพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ ออกแบบระบบการบริการ เช่น คัดกรอง ประเมินความเสี่ยง CKD/CVD คลินิกNCDคุณภาพ Plus เชื่อมต่อประสานงาน ในส่วนงานที่เกี่ยวข้อง เช่น service plan, DHS,ตำบลจัดการสุขภาพ,งานส่งเสริมสุขภาพ,กฎหมาย, คบ.ฯ พัฒนาSystem manager สาขา NCDs พัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พัฒนาทักษะบุคคลากรและทีม พัฒนาระบบข้อมูล ชร. พัฒนาโปรแกรมที่มีอยู่( Model Development)ให้เหมาะสมกลุ่มเป้าหมาย ระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงของกองสุขศึกษา(ปี2556)ทบทวนและพัฒนาเครื่องมือประเมิน NCDs Clinic Plus พัฒนาผู้ประเมิน NCDs พัฒนา System manager ส่งอบรมCase manager พัฒนาการสื่อสารเชิงรุกให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย พัฒนา CPG การคัดกรอง /การดูแลทุกกลุ่ม พัฒนาระบบข้อมูล ชม. การจัดการข้อมูลทบทวนการจัดการข้อมูล43แฟ้มที่เกี่ยวข้องในงาน NCD จนท.หน้างานสามารถตรวจสอบข้อมูลรายงานจาก43 แฟ้มเทียบข้อมูลโปรแกรมหน้างานกับผลงานที่ทำ การเฝ้าระวังค้นหาคัดกรองกลุ่มเสี่ยง มีแนวทางSOPปิงปอง 7 สีทีมตำบลนำไปปฏิบัติคัดกรองปกติ เสี่ยง ป่วย มีการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูง /ป่วยรวมทั้งการดูแล รักษา และการพัฒนา Clinic NCDs plus ลพ. มีการประชุมทบทวนการจัดการข้อมูล43แฟ้มที่เกี่ยวข้องในงานNCD และมีแนวทางการพัฒนาการจัดการข้อมูล บุคลากรใน พื้นที่ได้รับการพัฒนาทักษะ มีการใช้โปรแกรมการปรับเปลี่ยนในพื้นที่ สำรวจบุคลากรผู้ปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาเป็น System manager ทบทวนและพัฒนาการสื่อสารความเสี่ยง พัฒนาถ่ายทอดแนวทางและประเมินคลินิกNCDคุณภาพ Plus ลป. จัดทำทะเบียนผู้ป่วย DM,HT ที่ควบคุมไม่ได้ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งรายบุคคล/รายกลุ่มมีการเยี่ยมบ้านโดยสหวิชาชีพในผู้ป่วย DM,HT ที่ควบคุมไม่ได้ ผู้ป่วยเข้าถึงยาPioglitazone,Manidipine และ Atrovas ที่ระดับ รพช. ผู้ป่วย DM ได้รับการตรวจ HbA1C ปีละ 1 ครั้ง ตรวจ Lipid Profile ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีการประชุมชี้แจงเรื่องการลงข้อมูล 43 แฟ้ม สำหรับผู้รับผิดชอบงานและIT ประเมิน CVD Risk ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยใช้โปรแกรม Thai CVD risk พัฒนาSystem manager ครบทุกอำเภอ และการพัฒนา Clinic NCDs plus นน. การจัดการข้อมูล จนท.หน้างานสามารถตรวจสอบข้อมูลรายงานจาก43 แฟ้มเทียบกับข้อมูลโปรแกรมหน้างาน /ผลงานที่ทำ การเฝ้าระวังค้นหาคัดกรองกลุ่มเสี่ยง พื้นที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูง รายกลุ่ม / บุคคล มีการติดตามประเมินผล การพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูง ญาติสายตรง ,เด็กอ้วน จนท.สามารถนำความรู้และทักษะไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายในคลินิกหรือพื้นที่รับผิดชอบมีการติดตามประเมินผลตามแนวทาง การลดปัจจัยเสี่ยง /ลดผู้ป่วยรายใหม่ การพัฒนาคลินิก NCDsคุณภาพ Plus รพ.ระดับM2,F1-2 ควบคุมระดับน้ำตาลได้ต่ำกว่าเป้าหมายพัฒนาระบบการให้คำปรึกษาผู้ป่วย Uncontrol นิเทศระดับ M2 F2-3 โดยทีมผชช. พร. การจัดการข้อมูล ประชุมคณะทำงาน(ร่วมกับ กวป.)เพื่อการกำกับ/ติดตามงานและข้อมูล การเฝ้าระวังค้นหา คัดกรองกลุ่มเสี่ยง กำหนด Time line ในการคัดกรอง ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงสูงจะต้องได้รับการให้สุขศึกษาทุกราย มีการติดตามผลการคัดกรองทุก 3 เดือน และแจ้งให้ผู้บริหารทราบเพื่อกำกับ ติดตาม การพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูง /ป่วย ประเมิน CVD Risk ใน DM /HT สนับสนุนการจัดตั้งคลินิก DPAC ทุกสถานบริการ กระตุ้นให้มีStroke Unit ในโรงพยาบาลระดับ S การพัฒนาคุณภาพการบริการ และเชื่อมโยงการให้บริการระดับชุมชนกับสถานบริการในระดับชุมชนกับสถานบริการ จัดให้มีแพทย์ที่ปรึกษาในการรักษาโรค NCD CUP ละ 1 คนเพื่อให้คำปรึกษาในกรณีผู้ป่วยที่ Uncontrolled บริการในสถานบริการ การป้องกันระดับชุมชน ให้สุขศึกษาการป้องกันการเกิดโรคและพฤติกรรมเสี่ยงในกลุ่มต่างเช่น นักเรียน ผู้นาชุมชน อสม. อสค. ชมรมต่างๆ มีแผนการรณรงค์สื่อสาร พัฒนา Clinic NCDs plus มส การคัดกรองคุณภาพ จัดทำ/ชี้แจงคู่มือการคัดกรองกำหนด time line การคัดกรองกำกับติดตามการคัดกรอง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง รายบุคคล/ กลุ่ม โดย CMในชุมชน. พัฒนานักปรับเปลี่ยน สร้างศักยภาพชุมชน/ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม กำกับติดตามการปรับเปลี่ยน พัฒนาระบบข้อมูล HDC นิเทศติดตาม ถอดบทเรียนการทำงาน การพัฒนาคุณภาพการรักษา จัดทำ/ ชี้แจงแนวปฏิบัติ DM,HT,STROKE,MI,COPD,CKD ทบทวน/ พัฒนาวิชาการสำหรับผู้ปฏิบัติงาน DM,HT,STROKE,MI,COPD,CKD กำกับติดตามผ่านระบบ HDC และCross-lab ใน DM,HT
96
การดำเนินการและเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายระยะสั้น (กี่ ETLs)
NCD ดำเนินการได้ตามแผนทุกETLs แต่ยังไม่ได้ตามเป้าหมายที่กำหนดในบางETLs เช่น การคัดกรอง การประเมินความเสี่ยง CVD Risk ข้อค้นพบ/สิ่งดีๆ NCD คัดกรองโรคประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้ครอบคลุมสูง ผู้ป่วยรายใหม่มีแนวโน้มลดลง สามารถถ่ายทอด ดำเนินงานวางระบบการคัดกรอง รายงาน CVD Risk ได้ครอบคลุม มีแผนพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและจัดระบบในภาพรวมจังหวัด โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงสูง CVD(>30%) ระดับจังหวัดมีการบูรณาการงาน NCDs กับงานที่เกี่ยวข้อง วางแผนพัฒนาระบบข้อมูล มีหลายจังหวัดที่ทำได้ค่อนข้างดี เช่น แพร่ พะเยา น่าน ลำปางและแม่ฮ่องสอน
97
ปัญหาอุปสรรค -Effectiveness Efficiency Quality Development-
NCD การคัดกรอง DM,HT โดยเฉพาะเขตเมืองยังไม่ครอบคลุม การควบคุม DM, HT ได้ตามเกณฑ์ยังได้ค่อนข้างน้อย ส่วนใหญ่ยังขาดประเด็นการสื่อสารเตือนภัยที่เป็นปัจจัยกำหนดโรค NCDs ตามบริบทพื้นที่ ความมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายยังมีน้อย System manager ยังไม่ครบทุกอำเภอยกเว้นจังหวัดลำปาง Case manager โรงพยาบาลบางแห่งยังไม่ผ่านการอบรมหลักสูตร 4 เดือน ระบบการรายงานบางจังหวัดยังมีปัญหาการส่งออกในระบบHDC ข้อมูลผู้ป่วยด้านการจัดการแก้ไขและติดตามภาวะแทรกซ้อน จากการคัดกรองต่าง ๆ ยังทำได้น้อย เช่น ตา และไต
98
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายระดับเขต/จังหวัดเพื่อบรรลุความสำเร็จตามตัวชี้วัด
NCD มุ่งเน้นการควบคุม DM HT ให้ดีเพิ่มขึ้น วิเคราะห์ GAP ในด้านการควบคุมโรคของผู้ป่วย ทั้งประสิทธิภาพการดูแลรักษา และพฤติกรรม สิ่งแวดล้อม อย่างเป็นระบบ พัฒนา CPG ให้เป็นปัจจุบัน และติดตามการใช้ ปรับปรุงแก้ไขให้มีประสิทธิภาพ เพิ่มศักยภาพในการเข้าถึง คัดกรองในกลุ่มประชากรที่เหลือซึ่งอาจเข้าถึงได้ยาก โดยอาจใช้กระบวนการ FCT ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการ NCD ระดับพื้นที่ โดยเฉพาะการจัดการสิ่งแวดล้อม สังคม พฤติกรรมชุมชน พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และทีมในการดูแลจัดการเชิงระบบและกลไกการทำงาน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานสม่ำเสมอเพื่อพัฒนางาน
99
คณะที 1 แผนงานที่ 2 การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระบบการจัดการสุขภาพในพื้นที่ :
การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ประเด็นการตรวจราชการ การเตรียมในความพร้อมของทรัพยากรเพื่อพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด การพัฒนาบุคลากรรองรับการปฏิบัติงานทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัด การซ้อมแผนและการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC)ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุขระดับจังหวัด
100
Gap analysis โดยใช้กลยุทธ์ PIRAB
EOC มีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง EOC GAP P การบูรณาการแผนการดำเนินงาน/แผนเตรียมความพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคและภัยสุขภาพกับเครือข่ายระดับจังหวัด I ระบบการสื่อสารในภาวะฉุกเฉินยังไม่ครอบคลุมและการพัฒนาช่องทางการสื่อสารฯยังไม่ครบถ้วน รวมถึงอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับ EOC ที่สามารถใช้ได้จริง R ความเข้าใจ พรบ. ปภ.พ.ศ และพรบ.โรคติดต่อ 2558 A การจัดทำแผนฯยังไม่ครอบคลุมทุกโรคและภัยที่สำคัญในพื้นที่ B การพัฒนาบุคลากรในแต่ละระดับยังไม่ครอบคลุม
101
การใช้กรอบ PIRAB ในการกำหนดมาตรการ/กลวิธี ระหว่างสาเหตุและวิธีการแก้ไข ในระดับจังหวัด/เขต (โอกาสในการพัฒนา) P I R A B EOC จัดทำแผนบูรณาการ / ประสานแผนการดำเนินงานด้านโรคและภัยสุขภาพร่วมกับเครือข่ายหลัก/สนับสนุน จัดเตรียม จัดหา สถานที่ อุปกรณ์เพื่อรองรับการเปิดศูนย์ EOC ให้พร้อมใช้ และมีการติดตามประเมินผล/ปรุงปรุงระบบงานให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เผยแพร่ ทำความเข้าใจและศึกษาพรบ.ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน การพัฒนา ศักยภาพบุคลากรภายในองค์กร/เครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนโรคฯและภัยฯ ซักซ้อมบทบาทคณะทำงานศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข และฝึกซ้อมแผนฯในระดับจังหวัด
102
มีการกำหนดเป้าหมายระยะสั้นที่เป็นรูปธรรม มีหลักฐานเชิงประจักษ์ อ้างอิงได้
EOC ร้อยละ 80 ของจังหวัด จัดทำโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข รองรับศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) -คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด ร้อยละ 80 ของจังหวัด จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ตามความเหมาะสมเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) -สถานที่และอุปกรณ์สำหรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) กรณีเกิดภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในพื้นที่จังหวัด
103
Essential Task Lists (ETLs) ที่สอดคล้องกับมาตรการ/กลวิธี
EOC ETLs ลป,ลพ, ลป,ชร,ชม,แพร่,น่าน,มส สถานที่อุปกรณ์ตามความเหมาะสมเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) มีการจัดตั้งคณะทำงาน CIPO-ICS เขตสุขภาพที่ 1 เพื่อขับเคลื่อนและสนับสนุนการดำเนินงานด้านตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน - เขตสุขภาพที่1จัดอบรม ครู ก ให้กับเจ้าหน้าที่สสจ.เรื่องระบบ ICS
104
การดำเนินการและเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายระยะสั้น (กี่ ETLs)
EOC ทุกจังหวัด(ร้อยละ100)จัดทำคำสั่งคณะทำงานและโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่เป็นปัจจุบัน ทุกจังหวัด(ร้อยละ100)จัดเตรียมสถานที่อุปกรณ์ตามความเหมาะสมเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC)ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด
105
ข้อค้นพบ/สิ่งดีๆ EOC ผู้บริหารให้ความสำคัญและสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานทั้งในระดับจังหวัดและในระดับเขตสุขภาพ การจัดตั้งคณะทำงาน CIPO-ICS เขตสุขภาพที่ 1 การจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัดโดยอบรมให้เป็นครู ก เพื่อถ่ายทอดความรู้เรื่องระบบ ICS/EOC ขับเคลื่อนให้ระดับอำเภอมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง
106
Gap analysis โดยใช้กลยุทธ์ PIRAB
SAT : เป็นการกระบวนการทำงานที่ต้องบูรณาการอย่างแท้จริง SAT GAP P เนื่องจากโครงสร้างของ สสจ แยกกลุ่มย่อยรายโรคการทำงานระหว่างกลุ่มมีข้อจำกัด I ยังขาดเรื่องห้องปฏิบัติการ SAT ระบบการทำงานต้องมีการพัฒนาความทันเวลา R การนำ พรบ มาใช้ประกอบการตรวจสอบยืนยันและการรายงานโรคยังมีข้อจำกัดเช่น อนุบัญญัติฯต่างๆ A รายงานฯสถานการณ์ยังไม่ต่อเนื่อง B เป็นวิธีการงานใหม่ ที่ยังไม่มี งปม รองรับขาดการพัฒนาทีม ยังไม่ครอบคลุม
107
การใช้กรอบ PIRAB ในการกำหนดมาตรการ/กลวิธี ระหว่างสาเหตุและวิธีการแก้ไข ในระดับจังหวัด/เขต (โอกาสในการพัฒนา) P I R A B SAT กำหนดระบบงานที่เชื่อมโยงระหว่างกลุ่มให้ผลัดเปลี่ยนเข้ามารับผิดชอบงานโดยมีหัวหน้ากลุ่ม หรือผู้เชี่ยวชาญฯ เป็นที่ปรึกษา ปรับปรุงจุดทำงาน SAT ให้สามารถทำงานได้คล่องตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป นำข้อกำหนดใน พรบ โรคติดต่อ ปี 2558 มาใช้ร่วมกันกับการทำงาน SAT จังหวัด ควรเริ่มจัดทำรายงานรายสัปดาห์ และเผยแพร่ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ กรณีที่การพัฒนายังไม่ทั่วถึง สคร ยินดีรับเจ้าหน้าที่เข้ามาฝึก หรือดูงานกับ SAT ระดับเขต มีการกำหนดเป้าหมายระยะสั้นที่เป็นรูปธรรม มีหลักฐานเชิงประจักษ์ อ้างอิงได้ SAT มีระบบงานที่บูรณาการและเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มงานภายใน สสจ ที่ทันต่อเหตุการณ์ Flowระบบงาน
108
การดำเนินการและเกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายระยะสั้น (กี่ ETLs)
SAT มีคำสั่งคณะทำงานครบทุกจังหวัด มีการรายงานเหตุการณ์จากจังหวัดเพิ่มขึ้นจากเดิม มีความพยายามจัดระบบงานที่สอดกับบริบทขององค์กร (แม้จะยังไม่ดีนัก) ข้อค้นพบ/สิ่งดีๆ SAT สสจ ส่วนใหญ่ พยายามจัดระบบให้สามารถปฏิบัติงานได้
109
ปัญหาอุปสรรค -Effectiveness Efficiency Quality Development-
SAT สสจ หลายแห่งมีการปรับโครงสร้างภายใน การเชื่อมต่อระบบงานมีข้อจำกัดมากในขณะที่การทำงานต้องการความทันเวลา เจ้าหน้าที่ ยังมองว่าเป็นงานเดิมของงานระบาด ทั้งที่เนื้องานถูกยกระดับขึ้นมามากแล้ว ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายระดับเขต/จังหวัดเพื่อบรรลุความสำเร็จตามตัวชี้วัด SAT พัฒนาระบบงาน และทีมงาน ที่สามารถบูรณาการทำงานให้เป็นทีมเดียวได้อย่างกลมกลืนและมีประสิทธิภาพ
110
คณะที 1 แผนงานที่ 2 การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ:
คณะที 1 แผนงานที่ 2 การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ: การป้องกันควบคุมวัณโรค อัตราความสำเร็จการรักษา ผป วัณโรครายใหม่และกลับซ้ำ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ประเด็นตรวจราชการ การเร่งรัดค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคและ ผป.ในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรคและ ผป. ตามมาตรฐานให้หาย และกินยาครบ 1. ความครอบคลุมของการบันทึกและรายงานข้อมูลผู้ป่วยวัณโรคผ่านโปรแกรม TBCM2010 หรือโปรแกรม TBCM online 2. โรงพยาบาลเป้าหมายผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค(QTB) ใน ปี 2560 3. เรือนจำเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานการป้องกันดูแลรักษาวัณโรคในเรือนจำ(QTBP) ในปี 2560
111
อัตราป่วยต่อแสนประชากรของผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทที่ขึ้นทะเบียน
จำแนกตามรายจังหวัด ปี Rate / pop. Source; TBCM 2010 Program, April 20, 2017
112
จำนวนผู้ป่วยขึ้นทะเบียนรักษาวัณโรค เขต 1 เชียงใหม่ ปี 2555-2559
ราย Source; TBCM 2010 Program, April 20, 2017
113
ร้อยละของผลสำเร็จของการรักษาวัณโรค เขต 1 เชียงใหม่ ปี 2554-2558
Source; TBCM 2010 Program, April 20, 2017
114
ผลการค้นหาและขึ้นทะเบียนใน cohortที่ 1-2/60
(1 ตุลาคม -31 มีค. 2560) จังหวัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน(ราย) ร้อยละ เสียชีวิต (ราย) 171ต่อแสนปชก. 80% เชียงใหม่ 2912 2330 742 25.48 21 2.8 ลำพูน 694 555 167 24.06 9 5.40 ลำปาง 1286 1209 326 25.35 27 8.28 แม่ฮ่องสอน 468 374 110 23.50 4 3.63 เชียงราย 2024 1619 36.66 42 5.66 พะเยา 825 660 204 24.73 10.29 แพร่ 773 619 244 31.57 13 5.33 น่าน 822 658 235 28.59 23 9.79 เขต 9804 8024 2550 28.25 160 6.27 Source; TBCM 2010 Program, April 20, 2017
116
Gap analysis โดยใช้กลยุทธ์ PIRAB
อัตราความสำเร็จการรักษา ผป วัณโรครายใหม่และกลับซ้ำ ยังต่ำกว่าเป้าหมาย ( SSR ) เป้าหมายร้อยละ 85 การเร่งรัดค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคและ ผป.ในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย (กลุ่มเสี่ยง 7 กลุ่ม) ไม่ครอบคลุม การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรคและ ผป. ตามมาตรฐานให้หาย และกินยาครบ TB GAP P การประสาน/สนับสนุนความร่วมมือจากหน่วยงานเครือข่ายในการคัดกรองผู้ป่วย และการการติดตามการรักษาผู้ป่วยวัณโรคยังมีข้อจำกัด I มีแนวทางในการส่งตรวจเพาะเชื้อ ในกลุ่มที่มีประวัติการรักษามาก่อน แต่ผลการดำเนินงานยังต่ำ R จังหวัด/ อำเภอ ยังมีข้อจำกัดด้านการติดตามประเมินผลการดำเนินงานวัณโรค ในระดับพื้นที่ A ยังขาดความต่อเนื่องการสื่อสารให้ความรู้เรื่องวัณโรค แก่ประชาชนให้เกิดความตระหนัก และให้ผู้ที่มีอาการสงสัยต้องมารับการคัดกรอง และเข้าสู่ระบบการรักษาโดยเร็ว จะช่วยลดการเสียชีวิต และยังมีการรังเกียจผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน B การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อการปฏิบัติงาน วัณโรค เนื่องมีการปรับเปลี่ยนบุคลากรในการรับผิดชอบงานวัณโรคระดับจังหวัด /TB clinic บางจังหวัดขาดงบประมาณในการจัดอบรมบุคลากร ในการใช้โปรแกรมTBCM2010และต้องขยายให้กับ รพ.นอกสังกัดสธ./รพ.เอกชน เพื่อความครอบคลุมของฐานข้อมูล
117
การใช้กรอบ PIRAB ในการกำหนดมาตรการ/กลวิธี ระหว่างสาเหตุและวิธีการแก้ไข ในระดับจังหวัด/เขต (โอกาสในการพัฒนา) P I R A B TB การสร้างเครือข่ายต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน เช่นอปท. กรมราชทัณฑ์ ร่วมมือในการ คัดกรองผู้ป่วย บริการดูแล/ติดตามการรักษาผู้ป่วยวัณโรค ด้านนโยบายและงบประมาณ การคัดกรอง โดยใช้เอกซเรย์ในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย มีนโยบายระบบพี่เลี้ยงในการดูแล ผป ระดับพื้นที่ ผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษามาก่อน สนับสนุนการส่งเพาะเสมหะเชื้อทุกราย เพื่อเฝ้าระวังวัณโรคดื้อยาก่อนเริ่มการรักษา เน้นการใช้ข้อมูล -การวิเคราะห์ -การคืนข้อมูล เพื่อให้ทราบสถานการณ์โรคและโรคร่วมต่างๆในผู้ป่วยวัณโรค -การติดตามผลการรักษาผู้ป่วยในระดับพื้นที่ เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตระหว่างการรักษา มีการสนับสนุนการติดตามประเมินผล ระดับพื้นที่โดย จังหวัด/อำเภอ การเพิ่มช่องทางอื่นๆในการสื่อสารความเสี่ยงเรื่องวัณโรค แก่ประชาชนให้เกิดความตระหนักและเมื่อมีอาการสงสัยต้องมารับการคัดกรอง และเข้าสู่ระบบการรักษาโดยเร็ว เพื่อลดการเสียชีวิต ลดการรังเกียจในชุมชน -การส่งบุคลกรพัฒนาศักยภาพ การปฏิบัติงานเช่น -การพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการวิเคราะห์ข้อมูลวัณโรค/การใช้โปรแกรมTBCM 2010 -การคัดกรองวัณโรคที่มี ประสิทธิภาพ -การนิเทศการปฏิบัติ/ติดตามทักษะ
118
Essential Task Lists (ETLs) ที่สอดคล้องกับมาตรการ/กลวิธี
มีการกำหนดเป้าหมายระยะสั้นที่เป็นรูปธรรม มีหลักฐานเชิงประจักษ์อ้างอิงได้ TB การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงผู้ต้องขังในเรือนจำโดยใช้เอกซเรย์ มีการเอกซเรย์ผู้ต้องขังเกือบทุกแห่ง (12/14แห่ง) * ยังไม่ได้เอกซเรย์ 2 แห่ง เชียงใหม่ เรือนจำกลาง และทัณฑสถานหญิง Essential Task Lists (ETLs) ที่สอดคล้องกับมาตรการ/กลวิธี TB ETLs 8 จัง หวัด กำหนดกลุ่มเป้าหมายประชากรกลุ่มเสี่ยงและอำเภอที่คัดกรองเชิงรุก 3 อำเภอเร่งรัดการค้นหาเพื่อให้ผู้ป่วยให้เข้าสู่กระบวนการรักษาที่รวดเร็ว มีแผนงานโครงการรองรับ 2. การคณะกรรมการป้องกันควบคุมวัณโรคจังหวัด (แม่ฮ่องสอนบูรณาการกับ PHS/DHS ) 3. การสนับสนุนการวิเคราะห์สถานการณ์ ผ่าน โปรแกรม TBCM 2010 ทุกโรงพยาบาล 4. กำหนดโรงพยาบาลเป้าหมายเพื่อประเมิน QTB โดย สคร .1 (14 แห่ง) 5. กำหนดการประเมินเรือนจำโดย สคร.1(3 แห่ง)
119
ข้อค้นพบ/สิ่งดีๆ TB มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมวัณโรคเขต(CIPO ) ในการขับเคลื่อน/ติดตามกำกับ การดำเนินงานวัณโรค มีการทำงานร่วมกัน สคร. สสจ. ปัญหาอุปสรรค -Effectiveness Efficiency Quality Development- TB การคัดกรองยังต่ำกว่าเป้าหมาย เสียชีวิตสูงในกลุ่มผู้สูงอายุและมีโรคร่วม ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายระดับเขต/จังหวัดเพื่อบรรลุความสำเร็จตามตัวชี้วัด TB คัดกรองให้ครอบคลุมกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย พัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา โดยเฉพาะในรายสูงอายุมีโรคร่วม และต้องมีพี่เลี้ยงกำกับการกินยาทุกราย
120
การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เขตสุขภาพที่ 1
แผนงาน 1.3 การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
121
1.3.1ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 95)
95-Index
122
1.3.2 ผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย (ร้อยละ 80)
ผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย (ร้อยละ 80) 80-Index
123
ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย (ร้อยละ 80)
ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ ที่กำหนด (ร้อยละ 95) Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน มีการจัดตั้งคณะทำงานพัฒนาระบบการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพทุกระดับและมีการประชุมอย่างน้อยหนึ่งครั้ง มีผลการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มี ความเสี่ยง มีแผนการจัดการความเสี่ยง (Risk management plan) แบบบูรณาการ จัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน, ข้อมูลสำคัญที่ใช้ในการเฝ้าระวัง, หลักเกณฑ์การประเมินความเสี่ยง, ระบบฐานข้อมูลและช่องทางการรายงาน ดำเนินการตามแผน Surveillance ได้ ร้อยละ 30 สรุปผลการดำเนินงาน และสถานการณ์เฝ้าระวัง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 6 เดือน สื่อสารความเสี่ยง ไปยังผู้ที่เกี่ยวข้อง (Risk Management) เพื่อการจัดการปัญหา ดำเนินการตามแผน Surveillance ได้ ร้อยละ 65 Product Safety=58.35% (เป้า20,013:ตรวจ11,678) -ลำพูน 12.91% -แพร่ 21.89% -น่าน 19.49% Food Safety = 85.31% (เป้า6,337:ตรวจ5,406) สรุปผลการดำเนินงาน และสถานการณ์เฝ้าระวัง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 9 เดือน ดำเนินการตามแผน Surveillance ได้ ร้อยละ 100 สรุปสถานการณ์ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในภาพรวมทั้งประเทศ ข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดการปัญหาด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ถอดบทเรียนจากการดำเนินงาน เพื่อปรับปรุงในปีต่อไป
124
ผลงานเด่น/ข้อชมเชย จังหวัดลำปาง : มาตรการ
การควบคุมผักและผลไม้สดให้มีความปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช จังหวัดลำปาง : มาตรการ มีการส่งเสริมให้สถานที่รับวัตถุดิบ ได้แก่ โรงพยาบาล หน่วยงานราชการ เรือนจำ สถานที่ที่มีการปรุงอาหารบริการให้เจ้าหน้าที่หรือพนักงาน มีการจัดทำระบบข้อมูลที่สามารถตรวจสอบย้อนกลับถึงแหล่งเพาะปลูกผัก ผลไม้ภายในประเทศ ทำให้สามารถควบคุมสารเคมีตกค้างในผัก ผลไม้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
125
1.3.3 การเฝ้าระวังและตรวจสอบมาตรฐาน
สถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ผลการดำเนินงาน ปี 2560 รายการข้อมูล จังหวัด เชียง ใหม่ ลำพูน ราย ลำปาง แพร่ พะเยา น่าน แม่ฮ่องสอน ผลงาน6 เดือน สถานพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด(ร้อยละ 100) เป้าหมาย 854 125 452 240 154 104 101 23 2053 ผลงาน 806 17 4 44 111 31 15 1028 ร้อยละ 94.8 13.6 2.29 18.3 72.08 30.7 65.2 49.87 สถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด(ร้อยละ 60) 455 2 59 8 12 3 28 26 593 448 36 9 24 517 98.5 61.6 75 85.7 87.18 ร้อยละสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด 96.45 6.8 31.95 9.16 73.54 58.2 32.6 68.62
126
มีการดำเนินการตามแผน คบส
มีการดำเนินการตามแผน คบส.จังหวัดและคณะกรรมการ เป็นกลไกหลักในการดำเนินงาน คบส.ของจังหวัด ทุกจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 1 มีการแต่งตั้ง คณะกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อพัฒนา ระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์ และ บริการสุขภาพ ครบทุกจังหวัด ทุกจังหวัดมีการจัดประชุมคณะกรรมการหรือ คณะทำงานฯ มีการทบทวนผลการดำเนินงาน ตรวจสอบเฝ้าระวัง คุณภาพ มาตรฐาน ความ ปลอดภัยของสถานพยาบาล
127
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะต่อผู้บริหารส่วนกลาง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตาม พระราชบัญญัติสถานประกอบการ เพื่อสุขภาพ ปี ที่ เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ยังไม่ประกาศ ฯ ส่งผลให้แผนปฏิบัติ การของจังหวัดล่าช้า เนื่องจากต้องดำเนินการชี้แจง ประชาสัมพันธ์สถานประกอบการ วางแผนการตรวจฯ หนังสือแจ้งจากกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เรื่องการบังคับใช้ พระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ และ ประกาศฯที่เกี่ยวข้อง ไม่ได้แจ้งแนวปฏิบัติการดำเนินการ ทำให้ แต่ละจังหวัดตีความตามกฎหมาย และประกาศฯ แตกต่างกัน ส่งผลให้วิธีปฏิบัติของแต่ละจังหวัดไม่เหมือนกัน
128
Thank You …..
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.