ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อาจารย์พูลทรัพย์ ลาภเจียม
บทที่ 3 การตั้งครรภ์ อาจารย์พูลทรัพย์ ลาภเจียม
2
การเกิดและการเจริญของเซลล์สืบพันธุ์
ไข่ (Ovum) เริ่มเจริญตั้งแต่ระยะ embryo ในครรภ์และกระจายอยู่ในรังไข่ เรียกว่า oogonia มีการแบ่งตัวและเพิ่มปริมาณสูงสุดเมื่อทารกในครรภ์อายุ 5-6 เดือน เป็นไขที่ไม่เจริญเต็มที่ และหยุดแบ่งตัวในระยะหลังคลอด และเริ่มแบ่งตัวใหม่เมื่อสู่วัยรุ่น
3
การเกิดและการเจริญของเซลล์สืบพันธุ์
ตัวอสุจิ (sperm) เริ่มตั้งแต่ระยะตัวอ่อนเพศชาย เซลล์ที่เกิดใหม่ จะเดินทางจากถุงไข่ (yolk sac) มาสู่อัณฑะของทารก (fetal testis) บริเวณ primitive sex cord ซึ่งกลายเป็นท่อนำอสุจิ (seminiferous tubules)
4
พัฒนาการของทารก แบ่งเป็น 3 ระยะ Period of Fertilization Embryo
Fetus period
5
ระยะพัฒนาการของทารก 1. ระยะปฏิสนธิ (Period of Fertilization)
กระบวนการปฏิสนธิ
6
กระบวนการปฏิสนธิ corona radiate corona radiate zona pellucida
enzyme hyaluronidase 24 ชั่วโมง
7
ระยะพัฒนาการของทารก 1. ระยะปฏิสนธิ (Period of Fertilization)
การเจริญเติบโตของไซโกต
9
3-5วัน
10
7-9 วัน
11
ระยะพัฒนาการของทารก 2. ระยะตัวอ่อน (Embryonic period) : ร่างกายเริ่มมีการแบ่งตัว ถุงไข่ (yolk sac) : แหล่งสะสมอาหารของตัวอ่อน สัปดาห์ที่ 3 : ตัวอ่อนเริ่มพัฒนา ประกอบด้วย ectoderm : เจริญเป็นผิวหนังชั้นนอก ระบบประสาท และท่อทางเดินอาหาร mesoderm : เจริญเป็นระบบหลอดเลือดและหัวใจ กล้ามเนื้อ และกระดูก endoderm : เจริญเป็น ระบบทางเดินหายใจ ทางเดิน อาหาร ตับ ตับอ่อน ถุงน้ำดี ต่อมน้ำลาย
12
สัปดาห์ที่ 4 : มีการเจริญของ ท่อประสาท กล้ามเนื้อ กระดูกสันหลัง
เมื่อสิ้นสุดสัปดาห์ที่ 4 เกิดตุ่มแขน ขา เริ่มมีการเจริญของ ตา หู ปาก หัวใจ และเยื่อหุ้มหัวใจเห็นชัดเจน สัปดาห์ที่ 5 : มีการเจริญของสมอง เส้นประสาทในสมอง 5 คู่ใน 10 คู่ สัปดาห์ที่ 6 : เมื่อสิ้นสุดสัปดาห์ที่ 6 เห็น หู ตา นิ้วมือและเท้าแยกกัน ชัดเจน เริ่มสร้างกระโหลกศีรษะ ขากรรไกร 4-6 wks.
13
6-8 wks. สัปดาห์ที่ 7 : เมื่อสิ้นสุดสัปดาห์ที่ 7 เห็นลูกตาชัด มีการเจริญของเบ้า ตา ลิ้น เพดาน ปาก มีการแยกของกระเพาะปัสสาวะและ ท่อปัสสาวะจากทวารหนัก สัปดาห์ที่ 8 : สร้างอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก แยกเพศไม่ได้
14
ระยะพัฒนาการของทารก 3. ระยะทารก (Fetus period)
15
3. ระยะทารก (Fetus period)
สัปดาห์ที่ : 12 wks. เริ่มแยกเพศได้ เริ่มสร้างเลือดจากตับ สัปดาห์ที่ : 13 wks. เริ่มสร้างขนอ่อน (lanugo hair) มองเห็น เส้นเลือดชัดเจน 16 wks. แยกเพศได้ชัดเจน ลำไสเริ่มมี meconium 12 wks wks.
16
สัปดาห์ที่ 17 - 20 : 20 wks. มีไขคลุมผิวหนัง ทารกเคลื่อนไหวชัดเจน
สัปดาห์ที่ : 24 wks. เริ่มมี reflect กำมือ ถุงลมเริ่มทำงาน สัปดาห์ที่ : เริ่มสร้าง subcutaneous fat เริ่มแลกเปลี่ยนก๊าซ 18-20 wks. 22-24 wks.
17
3. ระยะทารก (Fetus period)
สัปดาห์ที่ : 32 wks. กระดูก ระบบประสาทส่วนกลางเจริญ เต็มที่ เพศชายอัณฑะลงถุง สัปดาห์ที่ : ร่างกาย แขน ขาเจริญเต็มที่ สัปดาห์ที่ : 38 wks. ทารกครบกำหนด - ทารกตัวยาว ซม. - ทารกหนัก 3,000-3,500 กรัม - ผิวหนังตึง สีชมพู เล็บยาวพ้นปลายมือ - เพศชายอัณฑะลงถุง เพศหญิง labia majora คลุม labia minora
18
สรีรวิทยาของทารกในครรภ์
19
ระบบไหลเวียนโลหิต Umbilical arteries 2 เส้น : นำเลือดดำไปฟอกที่รก
Umbilical vein 1 เส้น : นำเลือดแดงจากรกเข้าสู่ร่างกายทารก แบ่งเป็น - ductus venosus : เข้าสู่ inferior vena cava - portal sinus : เข้าสู่ hepatic veins และเข้าสู่ inferior vena cava
20
ระบบโลหิต เริ่มสร้างเม็ดเลือดใน yolk sac จากนั้นเปลี่ยนเป็นที่ตับ และไข กระดูกควบคุมการสร้างโดย erythropoietin ระดับของ hemoglobin เพิ่มจาก 12 กรัม/ดล. ในสัปดาห์ที่ 20 เป็น 18 กรัม/ดล. เมื่อครบ กำหนด ปริมาตรของเลือดทารกครบกำหนดมี 78 มล. / นน. 1 กก. ปริมาตรของเลือดในรก มี 45 มล. / นน. 1 กก.
21
ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบภูมิคุ้มกันเริ่มทำงานเมื่ออายุครรภ์ 13 สัปดาห์ โดย
immunoglobulin ส่วนใหญ่เป็น IgG IgM ไม่ผ่านรก เกิดจากการติดเชื้อในครรภ์ B lymphocyte สร้างจากตับตั้งแต่อายุครรภ์ 9 สัปดาห์ T lymphocyte สร้างและส่งมาจากต่อม thymus เมื่ออายุครรภ์ 14 สัปดาห์
22
ระบบประสาท 7 สัปดาห์ : เริ่มมีตุ่มรับรสที่ลิ้น 10 สัปดาห์ : เริ่มกลืน
7 สัปดาห์ : เริ่มมีตุ่มรับรสที่ลิ้น 10 สัปดาห์ : เริ่มกลืน 12 สัปดาห์ : receptor ที่ตุ่มรับรสเริ่มทำงาน 24-26 สัปดาห์ : เริ่มได้ยิน 28 สัปดาห์ : เริ่มมองเห็นแสง
23
ระบบทางเดินอาหาร อายุครรภ์ สัปดาห์ทารกเริ่มกลืนและลำไส้เริ่มเคลื่อนไหวพร้อมทั้งดูดซึมกลูโคส ตับอ่อน สร้าง insulin อายุครรภ์ 9-10 สัปดาห์ และตรวจพบ insulin ในเลือดทารก เมื่ออายุครรภ์ 12 สัปดาห์
24
ระบบปัสสาวะ ไตทารกมีการพัฒนา 3 ระยะ คือ
Pronephros : อายุครรภ์ 2 สัปดาห์ Mesonephros : เริ่มสร้างปัสสาวะ อายุครรภ์ 5 สัปดาห์ และสลายตัวเมื่อ อายุครรภ์ สัปดาห์ Metanephros : ระยะพัฒนาไปเป็นไต เมื่อหลังคลอด
25
ระบบทางเดินหายใจ การเจริญของปอดแบ่งเป็น 3 ระยะ
Pseudoglandular stage : GA 5-17 wks. มีการเจริญของหลอดลม Canalicular stage : GA wks. มีการเจริญของหลอดลมฝอย Terminal sac stage : มีการสร้าง alveoli เส้นเลือดในปอด และ surfactant กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจเริ่มทำงานเมื่อ GA 11 wks.
26
การเกิดรกและพัฒนาการของรก
เยื่อบุมดลูก หลังการฝังตัวของไข่ เยื่อบุมดลูกจะหนาและนุ่มขึ้น มีเลือดมาเลี้ยงมาก เยื่อบุผนังมดลูกชั้นใน (endometrium) ในระยะตั้งครรภ์ เรียกว่า decidua แบ่งเป็น 3 ชั้น 1. Compacta layer 2. Spongiosa layer 3. Basalis layer
28
การเกิดรกและเยื่อหุ้มทารกชั้นใน
ภายหลัง blastocyst ฝังตัว สภาพของ decidua จะมีชื่อเรียกต่างกัน คือ 1. Decidua basalis 2. Decidua capsularis 3. Decidua vera blastocyst จะฝังตัวโดยหันด้านขั้วที่มี inner cell mass เข้าสัมผัสเยื่อโพรงมดลูกและฝังตัว
29
การเกิดรกและเยื่อหุ้มทารกชั้นนอก
เมื่อตั้งครรภ์ได้ 2 เดือน ส่วน decidua basalis จะได้รับเลือด โดยตรงจากหลอดเลือดของมดลูก trophoblast ที่อยู่ด้าน decidua basalis จะเจริญจนเห็น chorionic villi เป็นกระจุกฝอยหนาแน่นขึ้น เรียกว่า chorion frondosum และเจริญต่อเป็นก้อนเนื้อรกที่เรียกว่า cotyledon ส่วน decidua capsularis จะบางลงเนื่องจากไม่มีเลือดมาเลี้ยง เสื่อมและเชื่อมกับ decidua vera เป็นเยื่อสีขาว บาง ติดผนังมดลูก คือ เยื่อหุ้มทารกด้านนอก เรียก chorion
30
ลักษณะและหน้าที่ของรก
รกมีลักษณะ กลม แบน รกครบกำหนดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20-30 cm. หนา 2-3 cm. น้ำหนัก 500 กรัม หรือเป็นสัดส่วนประมาณ 1/6 – 1/5 ของน้ำหนักทารก แยกออกเป็น 2 ด้าน 1. รกด้านแม่ : มี cotyledon ก้อน 2. รกด้านลูก : เป็นด้านที่มีสายสะดือเกาะ
31
ลักษณะของรก
32
ลักษณะของรก
33
หน้าที่ของรก การให้สารอาหาร : กรดอะมิโน น้ำตาล แคลเซียม ฟอสฟอรัส เกลือแร่ เหล็ก หน้าที่เกี่ยวกับการหายใจ การขับถ่าย ให้ภูมิคุ้มกันโรค การสร้างฮอร์โมน
34
สร้าง Hormone 1. HCG (Human chorionic gonadotrophin) สร้างโดย
cytotrophoblast ของ choronic villi ตั้งแต่วันที่ 10 หลังปฏิสนธิ HCG : - ช่วยการเจริญ corpus luteum - ให้ interstitial cells ในเด็กชายหลั่ง testosterone - ขับทางปัสสาวะช่วยในการวินิจฉัยการตั้งครรภ์
35
สร้าง Hormone 2. Estrogen : เริ่มสร้างสัปดาห์ที่ หลังรกคลอดจะลดระดับลง ทำให้ anterior pituitary gland ผลิต prolactin เพื่อสร้างน้ำนม 3. Progesterone : เริ่มสร้างสัปดาห์ที่ 12 หลังรกคลอดจะลดระดับลง 4. HPL (Human placenta lactogen) : เริ่มสร้างสัปดาห์ที่ 5 มีผลต่อ เมตาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต และการเจริญเติบโตของทารก สร้าง colostrum
36
การเกิดเยื่อหุ้มเด็กชั้นในและสายสะดือ
โพรงน้ำคร่ำ (amniotic cavity) เกิดจากการแยกตัวของ ectoderm ที่ห่อหุ้มทารกไว้ภายใน โดยถุงน้ำที่ห่อหุ้มตัวทารกมี 2 ชั้น คือ ชั้นนอก คือ chorion ชั้นใน คือ amnion
37
สายสะดือ สายสะดือเจริญมาจาก mesoderm ภายในประกอบด้วย เส้นเลือด 3 เส้น คือ umbilical vein 1 เส้น และ umbilical arteries 2 เส้น ภายในสายสะดือมีสารสีขาวใส เรียกว่า Wharton’s jelly หุ้มรอบเส้นเลือด สายสะดือยาวประมาณ 50 ซม. - False jelly knot : Wharton’s jelly หนาขึ้นเป็นปม - False vascular knot : เส้นเลือดขอดของ umbilical vein ขดเป็น ปม - True knot of cord : สายสะดือผูกกันเป็นปม
38
Wharton’s jelly
39
ตำแหน่งของสายสะดือ Insertion centralis สายสะดือเกาะตรงกลางรก
Insertion lateralis สายสะดือเกาะเอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง Insertion marginalis สายสะดือเกาะที่ขอบรก Insertion vellamentosa หรือ membranous insertion สายสะดือ เกาะที่เยื่อหุ้มทารก
40
Insertion centralis Insertion lateralis
41
น้ำคร่ำ (Amniotic fluid)
ส่วนประกอบ : 98 % เป็นน้ำ , 2 % เป็นสารประกอบเช่น albumin , epidermal cell , ยูเรีย , ขนอ่อน , ไขมันหุ้มตัวทารก น้ำคร่ำ มีฤทธิ์เป็นด่าง ลักษณะใส ปราศจากสี ปริมาณ 500 – 1,500 c.c. หน้าที่ : - ทำให้ทารกมีการเคลื่อนไหวสะดวก - ป้องกันการกระทบกระเทือนซึ่งจะเป็นอันตรายแก่ทารก - รักษาอุณหภูมิของทารกให้คงที่ - เป็นแหล่งให้อาหารแก่ทารก - ช่วยขยายปากมดลูกเมื่อเวลาเจ็บครรภ์คลอด
42
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ในสตรีตั้งครรภ์
43
ระบบอวัยวะสืบพันธุ์ มดลูก (uterus)
ภาวะปกติมดลูกมีน้ำหนัก 70 กรัม ปริมาตร 10 มล. ระหว่างตั้งครรภ์มดลูกมีน้ำหนัก 1,100 กรัม ปริมาตร 5 ลิตร มดลูกขยายใหญ่จากผลของ estrogen เป็นส่วนใหญ่ มีการ สะสมของ fibrous tissue และเพิ่มปริมาณ elastic tissue ตั้งครรภ์ 2-3 เดือนแรก ผนังมดลูกจะหนามากและจะบางลง เรื่อย ๆ เมื่อครรภ์ครบกำหนด
44
ระบบอวัยวะสืบพันธุ์ มดลูก (uterus) (ต่อ)
2-3 สัปดาห์แรกมดลูกลักษณะคล้ายลูกแพร์ ต่อมา corpus และ fundus กลมขึ้นทำให้มดลูกดูกลม เมื่ออายุครรภ์ 12 สัปดาห์ และจะยาวเป็นวงรี 12 สัปดาห์ มดลูกจะเริ่มพ้นอุ้งเชิงกราน เมื่อมดลูกขยายขึ้นจะมีแรงดึงที่ broad ligaments และ round ligaments ทำให้มีอาการเจ็บเล็กน้อย
45
ระบบอวัยวะสืบพันธุ์ มดลูก (uterus) (ต่อ)
ไตรมาสแรก มดลูกมีการหดรัดตัวไม่สม่ำเสมอ ไตรมาสสอง การหดรัดตัวของมดลูกตรวจพบได้ เรียก Braxton Hicks และการหดรัดตัวจะเกิดบ่อยขึ้นเมื่อ อายุครรภ์ 1-2 สัปดาห์สุดท้าย การไหลเวียนเลือดที่รกและมดลูก ก่อนการตั้งครรภ์น้อยกว่า 50 มล./นาที ระหว่างตั้งครรภ์ เพิ่มเป็น มล./นาที
46
ระบบอวัยวะสืบพันธุ์ ปากมดลูก (cervix)
ขณะตั้งครรภ์ปากมดลูกจะนุ่ม เรียก Goodell’s sign พบประมาณ 1 เดือนแรก และมีสีแดงคล้ำ จากมีเลือดมาเลี้ยงปากมดลูกมากขึ้น ผลจากฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเจอโรน ฮอร์โมนเอสโตรเจนกระตุ้นต่อมบริเวณปากมดลูก เพื่อสร้างเมือกที่มีลักษณะขุ่นข้น เรียกว่า mucous plug หรือ cervical plug
47
ระบบอวัยวะสืบพันธุ์ รังไข่ (ovaries)
ระหว่างตั้งครรภ์ไม่มีการตกไข่ เนื่องจากการเพิ่มของระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเจอโรนจากรก ช่วง 8-10 สัปดาห์แรก corpus luteum ทำหน้าที่หลั่งฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเจอโรน หลังจากที่รกเจริญเต็มที่แล้วจะทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเจอโรนแทน กรณี ถ้า corpus luteum ถูกทำลายก่อนอายุครรภ์ 7 สัปดาห์ ทำให้ ฮอร์โมนโปรเจสเจอโรนลดลง ทำให้แท้ง
48
ระบบอวัยวะสืบพันธุ์ ท่อนำไข่ (fallopian tubes)
ท่อนำไข่ขยายตัวใหญ่และยาวขึ้น แต่กล้ามเนื้อไม่มีการขยายใหญ่ แต่มีเลือดมาเลี้ยงมากขึ้น ช่องคลอดและฝีเย็บ เยื่อบุช่องคลอดเป็นสีม่วงคล้ำ เรียกว่า Chadwick’s sign เนื่องจากมีเลือดมาเลี้ยงมากขึ้น
49
เต้านม เต้านมจะมีขนาดใหญ่ขึ้น ซึ่งฮอร์โมนเอสโตรเจน จะกระตุ้นให้มีการเจริญของ glandular tissue และ ducts ส่วนโปรเจสเจอ โรนกระตุ้นเกี่ยวกับ secretory function ของเต้านม จึงทำให้รู้สึกคัดตึงเต้านม คล้ายของแหลมแทง (pricking sensation) 8 สัปดาห์ พบตุ่มเล็กๆ รอบหัวนม เรียก Montgomery’s tubercles 12 สัปดาห์ มีสีคล้ำรอบหัวนม เรียก primary areola และอาจมีน้ำใส ๆ ออกมาจากหัวนม 16 สัปดาห์ อาจพบ colostrums ไหลออกมา
50
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ใน 8 สัปดาห์แรก cardiac output เพิ่มขึ้น เป็นผลมาจากการลด systemic venous return (SVR) และเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ ระหว่างสัปดาห์ที่ มีการเพิ่มของปริมาตรของพลาสม่าทำให้ปริมาณเลือดกลับเข้าหัวใจ (preload) เพิ่มขึ้น เมื่อมดลูกขยายใหญ่ขึ้นจะดันกระบังลมให้ยกสูงขึ้น ดันหัวใจไปด้านซ้ายและสูงขึ้น ตำแหน่งของ apex จะอยู่ด้านข้างมากขึ้น
51
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
Cardiac output cardiac output เพิ่มขึ้น การทำงานของหัวใจเพิ่มขึ้น 30-35% ปริมาณเลือดที่ออกจาก left ventricle เพิ่มขึ้น ความดันโลหิต ค่าความดัน systolic ลดลง 2-3 mm.Hg. ค่าความดัน diastolic ลดลง 5-10 mm.Hg.
52
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การไหลเวียนเลือด อวัยวะต่าง ๆจะได้รับเลือดไปเลี้ยงเพิ่มมากขึ้น เช่น มดลูก : มีเลือดไหลเวียนเพิ่ม เท่าก่อนตั้งครรภ์ ไต : มีเลือดไหลเวียนเพิ่ม 50% ปริมาตรของเลือด (blood volume) ปริมาตรของเลือดเพิ่มขึ้น 30-40% หรือประมาณ 1,500 ml. จำนวนเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น 33% หรือ 450 ml. ส่วน plasma เพิ่มขึ้น 40-50%
53
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
Red blood cell ระหว่างตั้งครรภ์ Hb , Hct จะลดลง อาจมีผลต่อการเกิดภาวะโลหิตจาง ขาดธาตุเหล็กได้ โดย Hb เฉลี่ยระหว่างตั้งครภ์จนครบกำหนดประมาณ 12.5 กรัม/ดล. ธาตุเหล็ก : ความต้องการในสตรีตั้งครรภ์เท่ากับ 1,000 mg. โดย 300 mg. สำหรับทารกและรก ส่วนอีก 200mg. สูยเสียไปกับการขับถ่าย
54
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
White blood cell ระหว่างตั้งครรภ์มีการผลิตเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น จำนวนเม็ดเลือดขาวเพิ่มจาก 5,000 เป็น 1,200 เซลล์ต่อมิลลิเมตร การแข็งตัวของเลือด ฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเจอโรนทำให้ความเข้มข้นของไฟบริโนเจนเพิ่มขึ้น 50% และปัจจัยในการแข็งตัวของเลือดเพิ่มขึ้น เช่น factor VII , VIII , IX และ X
55
ระบบทางเดินหายใจ ร่างกายต้องการออกซิเจนมากขึ้น 15% หรือ 30 ml./min มดลูกที่มีขนาดใหญ่จะดันกระบังลมให้สูงขึ้น ทำให้ทรวงอกขยายออกด้านข้าง ความจุปอดเพิ่มขึ้น ผลจากฮอร์โมนเอสโตรเจน ทำให้มีการคั่งของน้ำและเลือด เกิดเลือดำเดาไหลง่าย ผลจากฮอร์โมนโปรเจสเจอโรน ทำให้เส้นเลือดและกล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมคลายตัวทำใหญิงตั้งครรภ์ต้องหายใจเร็วและแรงเพื่อให้ได้ออกซิเจนเพียงพอ
56
ระบบต่อมไร้ท่อ Pituitary gland
1. Growth hormone: มีผลต่อเมตาบอลิซึมของโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมันจะลดลง 2. Prolactin: เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ และสูงกว่ากอนตั้งครรภ์ 10 เท่า เมื่อครรภ์ครบกำหนด เป็นตัวสร้างน้ำนม 3. Oxytocin: ช่วยในการหดรัดตัวของมดลูก
57
ระบบต่อมไร้ท่อ รก : สร้างฮอร์โมนดังนี้
รก : สร้างฮอร์โมนดังนี้ HCG : human chorionic gonadotropin : สร้างโดย cytotrophoblast ของ chorionic villi ในวันที่ 8-10 หลังการปฏิสนธิ เอสโตรเจน : สร้างตั้งแต่สัปดาห์ที่ ช่วยในการเจริญเติบโตและการทำงานของมดลูก กระตุ้นการทำงานของท่อน้ำนม โปรเจสเตอโรน : ระยะแรกผลิตจากคิปัสลูเตียมจนถึงสัปดาห์ที่ 10 และรกจะสร้างทดแทนตั้งแต่สัปดาห์ที่ 7 และสร้างเต็มที่ในสัปดาห์ที่ 11 HPL : human placental lactogen : เริ่มสร้างตั้งแต่สัปดาห์ที่ 5 ยับยั้งการทำงานของอินซูลิน
58
ระบบต่อมไร้ท่อ รังไข่ : สร้างฮอร์โมนโปรเจสเจอโรน
รังไข่ : สร้างฮอร์โมนโปรเจสเจอโรน ตับอ่อน : ผลิตอินซูลิน Thyroid gland: สร้าง thyroxin เพิ่ม จากการทำงานของต่อม thyroid เพิ่มมากขึ้นและมีขนาดใหญ่ขึ้น ระดับ T4 เพิ่มขึ้น แต่ T3 ลดลง Parathyroid gland: parathyroid hormone ลดลงในไตรมาสแรก และจะเพิ่มขึ้นในไตรมาส 2,3
59
ระบบต่อมไร้ท่อ ต่อมหมวกไต
ขนาดเพิ่มเล็กน้อย แต่มีการผลิต cortisol เพิ่ม เพื่อช่วยในการสังเคราะห์น้ำตาล และมีผลให้เกิดอาการ heart burn และท้องลาย ส่วน aldosterone มีส่วนช่วยป้องกันการสูญเสียโซเดียม
60
การเปลี่ยนแปลงของเมตาบอลิซึม
เมตาบอลิซึมคาร์โบไฮเดรต ในระยะแรกเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน ช่วยเพิ่มการทำงานของ beta cell ของตับอ่อนให้มีการหลั่งอินซูลินเพิ่มขึ้น ในครึ่งหลังของการตั้งครรภ์ รกสร้างฮอร์โมนที่มีฤทธิ์ antagonist ต่ออินซูลิน คือ HPL และ prolactin , cortisol , glucagons ยังมีฤทธิ์นี้ด้วย ทำให้ประสิทธิภาพในการนำน้ำตาลเข้าเซลล์ของอินซูลินลดลง
61
การเปลี่ยนแปลงของเมตาบอลิซึม
เมตาบอลิซึมของโปรตีน โปรตีนจะถูกสังเคราะห์เพิ่มขึ้น ร่างกายต้องการโปรตีนมากที่สุดในไตรมาส 3 ของการตั้งครรภ์ เมตาบอลิซึมของไขมัน ขณะตั้งครรภ์ไขมันในเลือดจะเพิ่มสูงขึ้น ระดับคลอเรสเตอรอลจะเพิ่มสูงขึ้น และจะลดลงใน 24ชั่วโมงหลังคลอด
62
การเปลี่ยนแปลงของเมตาบอลิซึม
เมตาบอลิซึมของแร่ธาตุ ธาตุเหล็ก : ระหว่างตั้งครรภ์ร่างกายต้องการมากขึ้น แคลเซียม : ร่างกายต้องการเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า การเพิ่มของน้ำหนักตัว ตลอดการตั้งครรภ์ควรมีน้ำหนักเพิ่มประมาณ กก. โดยในไตรมาสแรกน้ำหนักอาจลดลงหรือเพิ่มเล็กน้อย แต่ในไตรมาส ควรมีน้ำหนักเพิ่ม 0.5 กก./สัปดาห์
63
การเปลี่ยนแปลงของเมตาบอลิซึม
การเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้ำ น้ำจะเริ่มคั่งในช่วงสัปดาห์ที่ 30 จากการเพิ่มการซึมผ่านของเส้นเลือดฝอยและการเพิ่มแรงดันของหลอดเลือดดำส่วนล่าง การลดของโปรตีนในเลือด การเพิ่มการดูดกลับของไต ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีอาการบวมกดบุ๋ม (pitting edema) บริเวณข้อเท้าและเท้า
64
ระบบทางเดินปัสสาวะ ไต
มีเลือดไหลผ่านไตมากขึ้นประมาณ 25% อัตราการกรองของโกลเมอรูลัส เพิ่มขึ้น 50% แต่การดูดกลับลดลง กรวยไตและท่อไต กรวยไตและท่อไตจะขยายยาวขึ้นและกว้างออกจากอิทธิพลจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน กระเพาะปัสสาวะ จะหนาและมีความจุมากขึ้นประมาณ 1,500 cc. กล้ามเนื้อเรียบมีความตึงตัวลดลง
65
ระบบทางเดินอาหาร ปากและช่องปาก
อาจเกิดเหงือกบวม (gingivitis) และเลือดออกง่ายเวลาแปรงฟัน จากการมีเลือดมาคั่งมาก ต่อมน้ำลายผลิตน้ำลายออกมามากผลมาจากฮอร์โมนเอสโตรเจน หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และลำไส้ อาการคลื่นไส้อาเจียนเกิดจากการเพิ่มของระดับฮอร์โมน HCG กรดในกระเพาะ และการตอบสนองต่อฮีสตามีนลดลง เนื่องจากอิทธิพลของเอสโตรเจน
66
ระบบทางเดินอาหาร อาการเรอเปรี้ยว แสบยอดอก (heart burn) : เกิดจากกรดไหลย้อนมาที่ หลอดอาหารส่วนล่าง อยากรับประทานอาหารแปลก ๆ (pica): จากการขาดธาตุอาหาร บางอย่าง
67
ระบบทางเดินอาหาร ตับ ตำแหน่งของตับเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากมดลูกใหญ่ขึ้นเบียดตับให้สูงขึ้นและอยู่ด้านข้างของมดลูก การทำงานของตับเพิ่มขึ้น ระดับ cholesterol , lipoprotein และ triglyceride สูงขึ้น ถุงน้ำดี ถุงน้ำดีโป่งฟองขึ้น ความตึงตัวลดลง โปรเจสเตอโรนทำให้น้ำดีไหลช้า เกิดการสะสมของผลึก cholesterol ทำให้เกิดนิ่วได้
68
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
จากมดลูกที่โตขึ้น ทำให้จุดศูนย์ถ่วงของร่างกายเคลื่อนมาอยู่ด้านหน้า หญิงตั้งครรภ์จึงยืนและเดินหลังแอ่น (progressive lordosis) ข้อต่อของกระดูกในอุ้งเชิงกราน (sacroiliac, sacrococcygeal) และกระดูกหัวเหน่าจะยืดออก
69
ระบบผิวหนัง Striae gravidarum
หน้าท้องลาย เชื่อว่าเป็นผลจากฮอร์โมนของต่อมหมวกไตที่เพิ่มขึ้น Diastasis recti ภาวะกล้ามเนื้อ rectus หน้าท้องแยกออกเป็นแนวกลางลำตัว
70
ระบบผิวหนัง Pigmentation เป็นการสะสมของ pigment สีน้ำตาลดำตามลำตัว
ถ้าเป็นแนวกลางลำตัว หน้าท้อง เรียกว่า linea nigra ถ้าเป็นบริเวณใบหน้า เรียกว่า choasma หรือ melasma gravidarum หรือ mark of pregnancy
71
ระบบผิวหนัง การเปลี่ยนแปลงของเส้นเลือดที่ผิวหนัง
อาจพบ angiomas หรือ vascular spiders บริเวณใบหน้า ลำคอ หน้าอก
72
GOOD LUCK
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.