การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
1

2 สุนัขเฝ้าบ้าน (Watch dog)
กับ ระบบเฝ้าระวังฯ 2

3 กิจกรรม(หรืองาน)ทางระบาดวิทยา
1. การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ความปกติ ความผิดปกติ 2. การสอบสวนทางระบาดวิทยา ขอบเขตความผิดปกติ สาเหตุความผิดปกติ 3. การศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา ทดสอบสาเหตุความปกติ ทดสอบวิธีแก้ไขความผิดปกติ

4 Producers of source data
Surveillance Unit Collection Analysis Interpretation Dissemination Users Health providers Decision makers Public Other interest parties ระบบข้อมูล ระบบ IT ระบบงาน ผู้จัดการระบบ(คน) Producers of source data Action

5 Key elements of surveillance system
การเก็บข้อมูลที่เป็นระบบและต่อเนื่อง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลอย่างทันท่วงที การเผยแพร่ข้อมูล Action based on results ประเมินระบบเป็นระยะๆ

6 ต้องใช้ข้อมูลเป็นสื่อกลาง แต่ ไม่ใช่ เพียงรวบรวมข้อมูล
การเฝ้าระวัง คือ อะไร ? การจับตาดูอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา เป็นการรวบรวมและนำเสนอข้อมูล ? หรือ การดูความแตกต่างของความหมายหรือความรู้ที่ได้จากข้อมูลระหว่างเวลาที่เปลี่ยนไป ? การเปรียบเทียบ มากกว่า - น้อยกว่า ปกติ – ผิดปกติ การดำเนินการทันทีที่ผิดไปจากที่คาดไว้ เตือนภัย ตอบสนอง การเฝ้าระวัง ต้องใช้ข้อมูลเป็นสื่อกลาง แต่ ไม่ใช่ เพียงรวบรวมข้อมูล

7 การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การติดตามสังเกต พินิจพิจารณา ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของการเกิด การกระจายของโรค และเหตุการณ์หรือปัญหาสาธารณสุข รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง ด้วยกระบวนการที่เป็นระบบและมีขั้นตอน ประกอบด้วยการรวบรวม เรียบเรียง วิเคราะห์ แปลผล และกระจายข้อมูลข่าวสารสู่ผู้ใช้ประโยชน์ เพื่อการวางแผน กำหนดนโยบาย การปฏิบัติงาน และการประเมินมาตรการควบคุมป้องกันโรคอย่างมีประสิทธิภาพ

8 รูปแบบการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ระบบเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive Surveillance) ระบบเฝ้าระวังเชิงรุก (Active Surveillance) ระบบเฝ้าระวังกลุ่มอาการ (Syndromic Surveillance) ระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ (Event-based Surveillance)

9 ระบบเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive Surveillance)
การรายงาน เป็นปกติประจำในผู้ป่วยที่มารับบริการรักษาในโรงพยาบาล หรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เช่นที่เราคุ้นเคยกับ รง.506 ซึ่งใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วย (Case- based surveillance)

10 ปัจจุบันประเทศไทยมีโรคที่เฝ้าระวังมากกว่า 80 รหัสโรค
โรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญ ได้แก่ อหิวาตกโรค อาหารเป็นพิษ พิษสุนัขบ้า บาดทะยักในเด็กแรกเกิด ไข้หวัดใหญ่ ปอดบวม ตับอักเสบ ไข้สมองอักเสบ กาฬหลังแอ่น ไข้เลือดออก เลบโตสไปโรซีส คอตีบ หัด ไอกรน มือเท้าปาก อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉียบพลัน อาการไม่พึงประสงค์จากการได้รับวัคซีน

11 พรบ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 โรคติดต่ออันตราย (12 +1)
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง (57) โรคระบาด ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งตามมาตร ๓๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท

12 ตัวอย่างระบบเฝ้าระวัง ที่รับผิดชอบ โดยสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
ระบบเฝ้าระวัง 506 เริ่มปี พ.ศ.2513 HIV/AIDS Surveillance Injury Surveillance NCD Surveillance Environmental and Occupational Disease Surveillance AFP (Acute Flaccid Paralysis) surveillance Refugee Camp Diseases Surveillance AEFI (Adverse Event Follow Immunization) surveillance ILI surveillance 12

13 ตัวอย่างเครื่องมือเก็บข้อมูลระบบเฝ้าระวังผู้ป่วย
WHAT WHO WHERE WHEN

14 ผู้ป่วยรายที่ 1 ชื่อ ด.ช. กิตติ สุขดี สัญชาติ ไทย H.N อายุ 9 ปี อาชีพ นักเรียน ที่อยู่ ม ต. ไก่แจ้ อ. สมมติ จ. สองบุรี 14 ม.ค น. - T องศาเซลเซียส B.P. 100/60 mmHg P 96 /min RR 30 /min - 5 วันก่อน มีไข้ - 2 วันก่อนมา ไอ มีผื่นที่หน้าและลำคอ น้ำมูกไหล กินยาลดไข้ไม่หาย วันนี้หายใจเหนื่อย จึงมา ร.พ. P.E. : พบ Koplick spot : ประวัติรับวัคซีนจำไม่ได้ Dx. Measles ส่ง Film chest Admitted เด็ก D/C ม.ค. 59 Dx Measles c Pneumonia

15 ผู้ป่วยรายที่ 2 ชื่อ น.ส. ศรีเพ็ญ ชานนท์ สัญชาติ ไทย H.N อายุ 18 ปี อาชีพ นักศึกษา ที่อยู่ 49 ม.1 ต. ไก่นา อ. สมมติ จ. สองบุรี 21 ก.พ น. - T องศาเซลเซียส B.P. 100/70 mmHg P 78 /min RR 20 /min - ถูกสุนัขกัดที่น่องขวามา 2 วัน รอยช้ำ ปวด บวม Dx. Dog bite Rx. PCEC 5 เข็ม น.พ. อายุระ

16 ผู้ป่วยรายที่ 3 ชื่อ นายสนอง พลอยแดง สัญชาติ ไทย H.N อายุ 68 ปี อาชีพ ทำนา สถานภาพสมรส คู่ ที่อยู่ ม ต. เกษตร อ. สีสุข จ. สองบุรี 27 ก.พ น. - T องศาเซลเซียส B.P. 130/90 mmHg P /min RR 24 /min - มีไข้ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลียไม่มีแรง เริ่มเป็นเมื่อ 25 ก.พ. ไปรับการรักษาที่คลินิก อาการไม่ทุเลา วันนี้ปวดศีรษะรุนแรง ตาแดง จึงมาพบแพทย์ P.E. : Heart Lung OK Dx. R/O leptospirosis ส่ง CBC , LA for Leptospirosis Admitted อายุรกรรม D/C มี.ค. 59 Dx Leptospirosis c Nephritis Lab Lepto +ve CBC ************ UA ************* Dr. ======

17 การไหลเวียนของข้อมูลเฝ้าระวังรายงาน 506
กระทรวงสาธารณสุข องค์การอนามัยโลก (WHO) สำนักระบาดวิทยา สำนักงานป้องกัน ควบคุมโรค รายงานผู้ป่วย ศูนย์ระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ข้อมูลป้อนกลับ ศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอ โรงพยาบาลรัฐ โรงพยาบาลเอกชน และ คลินิก

18 ประเภทผู้ป่วย (Case Classification)
1. ผู้ป่วยที่สงสัย (Suspected case)  ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก 2. ผู้ป่วยที่เข้าข่าย (Probable case)  ผู้ป่วยที่สงสัย ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยที่ยืนยันผล 3. ผู้ป่วยที่ยืนยันผล (Confirmed case)  ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิกและตามเกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการจำเพาะ

19 ตัวอย่างนิยามอหิวาตกโรค
มีอาการถ่ายเหลวอย่างน้อย 3 ครั้งใน 24 ชั่วโมงหรือถ่ายเป็นน้ำอย่างน้อย 1 ครั้งอาจร่วมกับอาการขาดน้ำและอาเจียน และมีผลทางห้องปฏิบัติการยืนยัน

20 Vibrio Cholerae o1 Non o1 Serogroup Biotype Serotype Classical El Tor
Ogawa Inaba Hikojima Serotype Non o1 o2-o149 o139

21 ระบบเฝ้าระวังเชิงรุก (Active surveillance)
เป็นระบบที่มุ่งเน้นการเฝ้าระวังการป่วยที่เกิดขึ้นทุกราย มักใช้กรณีการเฝ้าระวังผู้ป่วยอุบัติใหม่ เช่นโรคซาร์ส ไข้หวัดนก หรือโรคที่พบได้น้อยมากและต้องการกวาดล้าง เช่น โปลิโอ มีระบบเฝ้าระวังผู้มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉียบพลัน (Acute Flaccid Paralysis : AFP) วัตถุประสงค์ของระบบนี้คือ การค้นหาผู้ป่วยทุกคนให้ได้โดยเร็ว

22 ระบบเฝ้าระวังกลุ่มอาการ (Syndromic Surveillance)
เป็นการรายงานผู้ป่วยแต่ละรายเช่นกัน แต่ ไม่จำเป็นต้องรอให้ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยชัดเจน เมื่อผู้ป่วยมีอาการหรืออาการแสดง เข้าได้กับนิยามการเฝ้าระวังกลุ่มอาการ ผู้ทำหน้าที่รายงานก็สามารถรายงานได้เลย เช่น กลุ่มอาการทางเดินหายใจคล้ายไข้หวัดใหญ่ (Influenza-like illness : ILI)

23 สัดส่วน ILI มีแนวโน้มสูงขึ้น
งานระบาด + งาน IC ของรพ. ควร Alert 1. เมื่อไร 2. อย่างไร

24 สัดส่วนผู้ป่วย ILI ที่มารับบริการที่รพ. ก
จำนวนบุคลากรทางการแพทย์ที่มีอาการเจ็บป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจ ตั้งแต่วันที่ 23 ก.พ. – 24 มี.ค.53 ตัวอย่างการไม่ Alert ทำให้เกิดการระบาดของ newH1N1 ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์ของ รพ. ในเวลาต่อมา

25 ระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ (Event-based Surveillance)
เป็นการตรวจหาและจัดระบบข่าวสารที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ ที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพ อาจเป็นข่าวลือ ข่าวจากหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ สื่อออนไลน์ ชาวบ้าน ประชาชน ครู ผู้ดูแลศูนย์เด็กเล็ก ระบบนี้สร้างมาเพื่อช่วยตรวจจับการระบาดของโรค เพื่อให้หน่วยงานที่รับผิดชอบสามารถตอบสนองต่อโรค/เหตุการณ์ได้อย่างรวดเร็ว

26 เหตุการณ์ที่มักเฝ้าระวังได้แก่
1.) เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในคน เช่น พบผู้ป่วยเพิ่มขึ้น มีผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อน 2.) เหตุการณ์ที่มีศักยภาพที่จะเกิดโรคในคน เช่น การระบาดในสัตว์ น้ำดื่มมีการปนเปื้อนเชื้อโรค สารเคมี การเกิดหมอกควัน เป็นต้น

27 กลุ่มอาการหรือโรคที่สงสัย : เด็กจมน้ำเสียชีวิต 
จำนวนผู้ป่วยที่พบเริ่มแรก : 2  วัน/เดือน/ปี ที่พบผู้ป่วยรายแรก :   รายละเอียดเหตุการณ์ : พบเด็กจมน้ำเสียชีวิต 2 ราย ที่บ้านเลขที่ 29 หมู่ 8 ตำบลวังงิ้ว อำเภอดงเจริญ จังหวัดพิจิตร เวลาที่พบ ประมาณ น. เป็นเด็กชาย 1 ราย อายุ 3 ขวบ เด็กหญิง 1 ราย อายุ 3 ปี 11 เดือน สภาพศพลอยอยู่บริเวณขอบสระ 1ราย และห่างออกมาจากขอบสระประมาณ 1.5 เมตร อีก 1 ราย สระที่เด็กจมน้ำเสียชีวิต อยู่ในบริเวณบ้านของผู้ตาย ลักษณะสระน้ำเป็นสระที่ขุดขึ้นมาแต่ตอนหลังไม่ได้ใช้ประโยชน์ แต่ก็ยังไม่ได้ถมสระเพราะยังไม่มีเงิน จากการสอบถามผู้เลี้ยงเด็ก พบว่าผู้เลี้ยงเด็กเป็นเด็กชายอายุ 12 ปี เลี้ยงน้องทั้งหมด 3 คน คือผู้เสียชีวิต 2 คน และน้องชาย อายุ 1ขวบ อีก 1 คน เวลาเที่ยงได้ให้น้องทั้งคนกินข้าวและ ให้เด็กที่เสียชีวิตทั้ง 2 ไปนอนในเปลที่กระท่อมข้างบ้าน แล้วตนก็พาน้องชายคนเด็ก อายุ 1 ขวบไปซื้อขนม และไปตัดผมประมาณครึ่งชั่วโมง เมื่อกลับมาไม่เจอผู้เสียชีวิตทั้ง 2 คน จึงออกตามหาแต่ก็ไม่พบ จนเวลาประมาณบ่าย 4 โมงเย็นมีเด็กข้างบ้านเดินผ่านสระจะไปซื้อขนม เห็นเหมือนตุ๊กตาจึงไปพูดที่ร้านขายของว่ามีตุ๊กตาลอยในสระน้ำ จากนั้นชาวบ้านจึงมาดูและพบศพของเด็กชายและเด็กหญิงดังกล่าว 

28 ธรรมชาติของการพบผู้ป่วยโรคติดต่อ
ผู้ป่วยส่วนน้อยที่มารักษาที่โรงพยาบาล ผู้ป่วยจำนวนมากที่อยู่ในชุมชน ไม่ได้มารักษาที่โรงพยาบาล ปรากฎการณ์ภูเขาน้ำแข็ง มีผู้ป่วย 28

29 เป้าหมายของการเฝ้าระวังเหตุการณ์
3 เร็ว รู้เร็ว แจ้งเร็ว ควบคุมโรคเร็ว เป้าหมายสำคัญ 3 ประการ ของเครือข่าย SRRT ได้แก่ 1. การรู้เหตุการณ์ผิดปกติที่เกิดขึ้นในชุมชน ได้เร็ว และทำการตรวจสอบว่าเป็นข่าวที่น่าเชื่อถือหรือไม่ 2. เครือข่ายในชุมชน แจ้งข่าวรวดเร็ว และมีการรายงานเหตุการณ์ต่อยังระดับอำเภออย่างรวดเร็ว 3. ทำการควบคุมโรคในเบื้องต้นเพื่อจำกัดการระบาด

30 สมรรถนะหลักของทีม SRRT ตาม IHR2005
National Level Assessment and Notification ประเมินสถานการณ์ และรายงาน WHO Public Health Response ควบคุมการแพร่ระบาด / สนับสนุนผู้เชี่ยวชาญ ชันสูตร logistics ทีมสอบสวนฯ / จัดทำแผนระดับชาติฯ Intermediate Confirm เหตุการณ์ Support สนับสนุน/ดำเนินการเพิ่มเติม Assess (and report) ประเมินและรายงาน Primary / Local community Detect events ตรวจจับเหตุการณ์ Report รายงานข้อมูลเบื้องต้นที่จำเป็น* Implement ควบคุมโรคขั้นต้น ทันที ทีมส่วนกลาง ทีมเขต (สคร.+ ศ.อนามัย) ทีม กทม./ จังหวัด ทีมอำเภอ ศบส.กทม. ทีมท้องถิ่น/ตำบล 30

31 ประโยชน์ของระบบเฝ้าระวัง
ตรวจจับการระบาดของโรค ติดตามสถานการณ์โรค พยากรณ์การเกิดโรค อธิบายธรรมชาติและการกระจายของโรค ประเมินผลมาตรการควบคุมป้องกันโรค 31

32 ตรวจจับการระบาด จำนวนผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วง จังหวัด ก เดือน มกราคม – สิงหาคม 2553 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี First Cholera Case Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand

33 ลักษณะการเกิดโรคตามฤดูกาล
Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand

34 บอกปัญหาของโรคตามพื้นที่
Reported Cases of Food Poisoning per 100,000 Population, by Region, Thailand, Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand

35 ใช้ติดตามแนวโน้มสถานการณ์โรค
Reported Cases of Malaria per 100,000 Population, by Year, Thailand, Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand

36 อัตราอุบัติการณ์ไข้เลือดออกในประเทศไทย พ.ศ.2501 - 2553
พยากรณ์การเกิดโรค Rate per 100,000 pop 1987 Big outbreak (325/100,000) 1978 Every district 1958 1st Outbreak ปี พ.ศ Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand

37 สรุป การเฝ้าระวังโรคเป็นกระบวนการต่อเนื่องที่ เป็นระบบ และวิธีการที่เป็นมาตรฐาน ข้อมูลเฝ้าระวังมีไว้ใช้ประโยชน์ในการ ควบคุมป้องกันโรคในระดับพื้นที่ และ ประเทศ การติดตามสถานการณ์โรคต้องอาศัยข้อมูล ที่ถูกต้องน่าเชื่อถือ

38 การเฝ้าระวังโรคไม่ใช่การเก็บสถิติ
แต่เฝ้าระวังเพื่อที่จะได้รู้ และป้องกันควบคุมโรคได้ทันเวลา………ต้องเป็น Surveillance is Information for Action นพ.สุชาติ เจตนเสน 38

39 Situation Awareness SAT
Event-based surveillance Indicator-based surveillance ข่าวสารจากแหล่งอื่นๆ SAT Decision Report ทันที Normal response EOC Routine

40 โครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์
Incidence Manager Operations SAT ยุทธศาสตร์ สื่อสารความเสี่ยง Case Management PoE Stockpiling กฎหมาย การเงินและงบประมาณ กำลังคน เลขานุการ/ประสานงาน

41 รายงานเหตุการณ์เบื้องต้นเสนอผู้บริหาร (Spot Report)
ชื่อเหตุการณ์ : ผู้ป่วยอาหารเป็นพิษ จำนวน 9 ราย จังหวัดสระบุรี สถานที่เกิดเหตุ : ศูนย์วัฒนธรรมไทยยวน ตำบลดาวเรือง อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี วันเริ่มป่วย/เกิดเหตุ : 10 กุมภาพันธ์ วันที่ได้รับแจ้งข่าว : 11 กุมภาพันธ์ 2556 แหล่งข้อมูล/ผู้แจ้งข่าว : โรงพยาบาลสระบุรี (กลุ่มงานเวชกรรม) เบอร์มือถือ : ผู้ให้ข้อมูล/รายละเอียด : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี เบอร์มือถือ : . รายละเอียดของเหตุการณ์อาหารเป็นพิษ อำเภอเมือง จังหวีดสระบุรี - ผลการประเมินความเสี่ยงเบื้องต้น Hazard Exposure Context ข้อเสนอแนะหรือสิ่งที่ควรดำเนินการต่อไปเพื่อป้องกัน ควบคุม หรือลดผลกระทบ รายงานเหตุการณ์โดย วันที่รายงาน …………..

42 ตัวอย่าง รายละเอียดของเหตุการณ์ ปศุสัตว์จังหวัดพิจิตร พบหัวสุนัขบวกต่อเชื้อ rabies เหตุเกิดที่ ต.บ้านนำ อ.วชิรบารมี เป็นสุนัขมีเจ้าของ ฉีดวัคซีนทุกปี สุนัข เพศผู้ อายุ 2 ปี เริ่มป่วยวันที่ 21 พ.ย. ด้วยอาการกินข้าวไม่ได้ คอแข็ง วิ่งวน ตายวันที่ 22 พ.ย. บริเวณดังกล่าวเป็นกลุ่มบ้านพี่น้อง 3 หลัง รวม 14 คน พบผู้สัมผัสใกล้ชิดมาก 4 คน (วันที่ 25 พ.ย. 60 เริ่มฉีด PCEC ) ส่วนคนที่เหลือเป็นเสี่ยงต่ำในครอบครัว สำหรับกลุ่มเสี่ยงต่ำในชุมชนหมู่บ้าน ยังไม่ทราบจำนวน แต่อยู่ในรัศมี 5 กม.ครอบคลุม 6 หมู่ (4,5,6,8,12,15) ซึ่งจะทำการเฝ้าระวัง 10 วัน แล้วต่ออีก 6 เดือน ผลการประเมินความเสี่ยงเบื้องต้น ผู้สัมผัสใกล้ชิด ยังมีความเข้าใจในการจับสัตว์ตายไม่ถูกต้อง จัดการทำลายโดยใช้มือเปล่าและนำไปทิ้งในป่า พบพระสงฆ์มีการเลี้ยงดูสุนัข แมว โดยไม่ป้องกัน มีเลีย ข่วน ด้วย ลักษณะของสุนัขที่ตาย เป็นอาการไม่ดุร้าย จึงลดโอกาสสัมผัสในคน เมื่อมีสัตว์ตายประชาชนมักนำไปทิ้งในแหล่งน้ำหรือป่า

43 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google