ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยHuguette Roussel ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
2
Welcome to Laos
3
ความมั่งคั่งและความมั่นคงของ สปป. ลาว
คือความมั่งคั่งและความมั่นคงของไทย สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
4
แผนที่ประเทศ สปป. ลาว สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
5
สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
6
1. ภาพรวมเศรษฐกิจการค้า
1. ระบบการค้าของ สปป. ลาว การส่งออกและการนำเข้า พึ่งพาตลาดไทย เวียดนาม และจีน เป็นหลัก ระบบเศรษฐกิจไม่ได้เชื่อมโยงโดยตรงกับ ประเทศที่มีวิกฤติการณ์ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจในปี 2553 ขยายตัว 7.8 % ยังคงขยายตัวในระดับสูง 2. มีเสถียรภาพทางการเมือง มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นประเทศเพื่อน บ้านที่มีชายแดนติดกับไทย 1,810 กม. ( 11 จังหวัดไทย กับ 9 แขวงลาว ) ประชาชนบริเวณชายแดน อยู่กันอย่างสงบสุขที่สุด 3. หลังการเป็นเจ้าภาพซีเกมส์ครั้งที่ 25 เมื่อ ธ.ค. 52 ที่ผ่านมา จะทำให้การ ท่องเที่ยวขยายตัวเพิ่มขึ้น เมื่อปี 2548/49 มีนักท่องเที่ยว แสนคน ใน ปี 2551 เป็น 1.6 ล้านคน และปี 2552 เป็น 1.9 ล้านคน สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
7
1. ภาพรวมเศรษฐกิจการค้า
4. ในปี 2553 มีการเฉลิมฉลองนครหลวงเวียงจันทน์ ครบรอบ 450 ปี มีการ ปรับปรุงถนนหนทางในเขตพื้นที่ที่มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และแหล่ง ท่องเที่ยวต่าง ๆ โครงการก่อสร้าง Infrastructure ยังขยายตัวสูง 5. สปป. ลาว เป็นแบตเตอร์รี่แห่งเอเซีย ( Battery of Asia ) โครงการก่อสร้างเขื่อน ไฟฟ้าจากพลังงานน้ำ ซึ่งถือเป็นโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมหภาค มีการ ดำเนินการหลายโครงการ มีผลต่อการนำเข้าอุปกรณ์ด้านการก่อสร้างจาก ประเทศไทยจำนวนมาก สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
8
1. ภาพรวมเศรษฐกิจการค้า
6. การเปิดเส้นทางยุทธศาสตร์ EWEC และ NSEC ทำให้ สปป. ลาว เป็น Land Bridge ของอินโดจีน และการก่อสร้างสะพานมิตรภาพแห่งที่ 3 (จ. นครพนม - แขวงคำม่วน) แล้วเสร็จในปี 2554, การก่อสร้างสะพานมิตรภาพ แห่งที่ 4 (อ. เชียงของ/เชียงราย - แขวงบ่อแก้ว) แล้วเสร็จในปี 2555 ตลอดจนการเปิดใช้เส้นทางรถไฟสายหนองคาย/ไทย - ท่านาแล้ง/ สปป. ลาว ก่อให้เกิดกิจกรรมทางการค้า เพิ่มรายได้ และการลงทุนให้แก่ สปป. ลาว เพิ่ม มากขึ้น 7. ในระยะ ปีที่ผ่านมา สปป. ลาว เกิดโรคระบาดสัตว์ปีก และเกิดภาวะ น้ำท่วม ได้รับความเสียหายมากเป็นประวัติการณ์ พืชสวนไร่นาเสียหายมาก ขาดแคลนเสบียงอาหาร ที่จะต้องนำเข้าสินค้าอุปโภคบริโภคจำนวนมาก สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
9
1. ภาพรวมเศรษฐกิจการค้า
8. ในปี 2553 สปป. ลาว ในฐานะประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ สินค้าหลายชนิดที่มีการเก็บภาษีในอัตราไม่เกิน ร้อยละ 5.0 และการ ปรับปรุงข้อกฎหมายที่เปิดกว้างมากขึ้น เพื่อเตรียมการเข้าเป็นสมาชิก WTO จะเป็นโอกาสต่อสินค้าและธุรกิจบริการไทย 9. สถาบันการเงินของ สปป. ลาว ไม่ได้ยุ่งเกี่ยวกับโลกภายนอกมาก นัก จึงรอดพ้นจากปัญหาหนี้เน่า สำนักงานส่งเสริมการระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
10
ตารางสถิติทางเศรษฐกิจที่สำคัญของ สปป.ลาว ปี 2547 - 2553
ตารางสถิติทางเศรษฐกิจที่สำคัญของ สปป.ลาว ปี สถิติ 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 อัตราการเติบโตของ GDP (ร้อยละต่อปี) 6.8 7.3 8.3 7.8 7.6 ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ GDP (ล้านดอลลาร์) 2,505 2,872 3,468 4,213 5,280 5,780 4,72 อัตราเงินเฟ้อ (ร้อยละต่อปี) 10.5 7.2 4.5 0.03 5.4 ประชากร (ล้านคน) 5.5 5.6 5.7 5.8 6.0 6.1 7.0 GDP ต่อหัว (ดอลลาร์สหรัฐ) 432 511 606 714 875 914 984 มูลค่าส่งออก (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 374 456 860.1 925.6 1,307.5 1,237.1 822.3 มูลค่าการนำเข้า (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) 562 686 931.4 916.4 1,364.8 1,065.8 1,053.7 ดุลการค้า (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (187) ( 230) (71.3) 9.2 (57.3) 171.3 (231.4) แหล่งข้อมูล : 1.กระทรวงอุตสาหกรรมและการค้าสปป.ลาว/กระทรวงแผนการและการลงทุน/ธนาคารแห่งชาติลาว2. ADB คาดการณ์ GDP ปี 2553
11
2. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการค้าไทย – สปป. ลาว (ปี 2553 )
2. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการค้าไทย – สปป. ลาว (ปี ) ประชากร ประมาณ 6.5 ล้านคน (IMF staff estimates for 2011) พื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร (เกือบครึ่งหนึ่งของประเทศไทย) GDP พันล้าน USD อุตสาหกรรมหลัก โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าพลังน้ำ ผลิตภัณฑ์ไม้เครื่องนุ่งห่ม ทรัพยากรสำคัญ ไม้ ข้าวโพด เหล็ก ถ่านหิน ทองคำ แหล่งผลิตกระแสไฟฟ้า เส้นเขตแดน 1,810 กิโลเมตร (ทางบก 702 กม. ทางน้ำ 1,108 กม.) สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
12
2. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการค้าไทย – สปป. ลาว (ปี 2553)
มูลค่าการค้า 2, ล้าน USD หรือ 91,542 ล้านบาท สินค้าส่งออก 2, ล้าน USD หรือ 67, ล้านบาท น้ำมันสำเร็จรูป, รถยนต์และชิ้นส่วน, เหล็ก เหล็กกล้า, เครื่องจักรกล เคมีภัณฑ์, ยานพาหนะ, ผ้าผืน, เครื่องดื่ม, เครื่องสำอาง, ปูนซิเมนต์ 749.4 ล้าน USD หรือ 23,935.7 ล้านบาท สินค้านำเข้า แร่โลหะ ไฟฟ้า ไม้แปรรูปไม้สำเร็จรูป ถ่านหิน พืชผัก, ผ้าสำเร็จรูป 443,316,910 USD : พลังงานไฟฟ้า เหมืองแร่ โรงแรมและท่อง เที่ยว เกษตร ขนส่ง ก่อสร้างฯลฯ (การลงทุนสะสมของไทยอันดับ 3) การลงทุนในลาว การบริโภคสินค้า ไทย 70.0 % เวียดนาม 8.9 % จีน 8.0 % เกาหลี 2.8 %
13
การค้าระหว่างประเทศไทยกับ สปป. ลาว ปี 2553
การค้าระหว่างประเทศไทยกับ สปป. ลาว ปี 2553 หน่วย : ล้านบาท รายการ ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปริมาณการค้า 58,473.2 61,480.3 78,828.3 71,989.3 91,542 สินค้าส่งออก 38,720.5 45,185.3 58,391.3 56,045.3 67,606.3 สินค้านำเข้า 19,752.7 16,295.0 20,437.0 15,944.0 23,935.7 ดุลการค้า 18,967.8 28,890.3 37,954.3 40,101.3 43,670.57 สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
14
ที่มา กระทรวงพาณิชย์ http://www2.ops3.moc.go.th/
สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์ ที่มา กระทรวงพาณิชย์
15
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ
สินค้าส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ สปป.ลาว อันดับที่ ชื่อสินค้า มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการขยายตัว (%) 2553 (ม.ค.-มิ.ย.) 2554 (ม.ค.-มิ.ย.) 1 น้ำมันสำเร็จรูป 227.6 341.9 59.37 50.21 2 รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 104.1 111.0 22.13 6.55 3 เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ 76.4 84.2 35.51 10.24 4 เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่องจักรกล 105.8 73.0 129.20 -31.00 5 เคมีภัณฑ์ 34.2 49.1 13.59 43.63 6 ยานพาหนะอื่นๆ และส่วนประกอบ 22.9 41.5 21.49 81.24 7 ผ้าผืน 27.3 27.8 -8.92 1.85 8 เครื่องสำอาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รักษาผิว 22.5 27.0 7.20 19.99 9 ไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง 0.7 25.9 - 3,490.59 10 เครื่องดื่ม 18.1 25.4 -40.75 40.35 11 ปูนซิเมนต์ 19.3 23.4 33.31 21.37 12 เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 10.6 22.3 56.09 110.76 13 ผลิตภัณฑ์ยาง 16.6 21.1 3.52 26.97 14 ผลิตภัณฑ์พลาสติก 18.5 36.95 2.02 15 ผลิตภัณฑ์เซรามิก 13.7 17.2 18.80 25.74 16 เนื้อและส่วนต่างๆ ของสัตว์ที่บริโภคได้ 0.1 15.8 -85.08 11,499.93 17 เม็ดพลาสติก 13.3 15.0 65.75 12.39 18 นมและผลิตภัณฑ์นม 10.7 14.9 29.73 39.16 19 รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ 5.6 14.3 29.75 157.28 20 กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ 12.3 12.8 44.02 4.06 ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
16
สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
17
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ
สินค้านำเข้า 20 อันดับแรกของไทย จาก สปป.ลาว อันดับที่ ชื่อสินค้า มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการขยายตัว (%) 2553 (ม.ค.-มิ.ย.) 2554 (ม.ค.-มิ.ย.) 1 สินแร่โลหะอื่นๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ 165.7 246.7 61.06 48.83 2 เชื้อเพลิงอื่นๆ 59.9 172.2 65.51 187.62 3 ไม้ซุง ไม้แปรรูปและผลิตภัณฑ์ 28.5 -10.58 0.04 4 พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช 18.8 25.3 -12.90 35.15 5 ผัก ผลไม้และของปรุงแต่งที่ทำจากผัก ผลไม้ 4.1 7.7 34.49 87.42 6 ถ่านหิน 6.8 6.2 75.01 -8.79 7 ลวดและสายเคเบิล 5.2 5.4 162.44 5.01 8 ปุ๋ย และยากำจัดศัตรูพืชและสัตว์ 0.1 4.8 204.68 3,225.28 9 รถยนต์โดยสารและรถบรรทุก 0.9 3.4 671.86 287.28 10 เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ 3.3 2.9 140.34 -10.86 11 เคมีภัณฑ์ 0.2 2.7 942.49 1,227.73 12 เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ 6.9 2.1 163.66 -69.33 13 แร่และผลิตภัณฑ์จากแร่ 1.8 1.5 99.77 -17.42 14 ผลิตภัณฑ์ยาสูบ 1.2 1.4 1,251.36 16.01 15 เสื้อผ้าสำเร็จรูป 1.6 154.17 -7.66 16 รถจักรยานยนต์ 1.3 - 1,573.99 17 เครื่องมือเครื่องใช้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การแพทย์ 0.3 -61.77 310.82 18 เยื่อกระดาษและเศษกระดาษ 0.6 0.7 56.79 30.06 19 สิ่งพิมพ์ -33.06 212.73 20 สัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ 0.4 456.82 120.7 ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
18
สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
19
เมืองที่มีศักยภาพ ตอนเหนือ เชียงใหม่ – เชียงราย – บ่อแก้ว – หลวงน้ำทา (เส้นทาง R 3a/ สะพานมิตรภาพ 4) น่าน - อุดมไชย - เดียนเบียนฟู เวียตนาม (โครงการหงสาลิกไนต์) เลย - ไชยะบุรี - หลวงพระบาง (การเกษตร และท่องเที่ยว) ตอนกลาง อุดรธานี - หนองคาย - นครหลวงเวียงจันทน์ - แขวงเวียงจันทน์ (สะพานมิตรภาพ บึงกาฬ ปากซัน แขวงบอลิคำไซ - มุกดาหาร - สะหวันนะเขต (สะพานมิตรภาพ 2 ) สกลนคร - นครพนม - เมืองท่าแขก คำม่วน (สะพานมิตรภาพ 3) ฮาติ๋ง และวิงห์ ตอนใต้ของ สปป. ลาว อุบลราชธานี - จำปาสัก อุบลราชธานี - สาละวัน - เซกอง - อัดตะปือ สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
20
3. โอกาสทางการค้าของไทยใน สปป. ลาว
3. โอกาสทางการค้าของไทยใน สปป. ลาว 1. ระบบการเมืองของ สปป. ลาว มีเสถียรภาพ เป็นประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่กัน อย่างสงบสุขที่สุด มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินสูง 2. ทรัพยากรหลากหลาย และอุดมสมบูรณ์ (เป็นแหล่งวัตถุดิบที่สำคัญ) พื้นที่การเกษตร แปลงขนาดใหญ่ / เช่าได้ในระยะยาว(Long Term) แร่ธาตุ ทองคำ ทองแดง ถ่านหิน เหล็ก บอกไซด์ แมงกานีส ตะกั่ว หินปูน อัญมณี ฯลฯ พื้นที่ป่า 47 % ของพื้นที่ (สมบูรณ์ที่สุดในเอเซีย) เป็นแหล่งอารยะธรรม แหล่งมรดกโลก สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
21
3. โอกาสทางการค้าของไทยใน สปป. ลาว
3. โอกาสทางการค้าของไทยใน สปป. ลาว 3. จากประเทศ Land Lock สู่ Land Link 3.1 ระเบียงเศรษฐกิจ EWEC ( East – West Economic Corridor ) ผ่านพม่า – ไทย – ลาว – เวียดนาม (เส้นทางหมายเลข 9 / ในลาว 245 กม. / ในเวียดนาม 255 กม.) 3.2 ระเบียงเศรษฐกิจ NSEC ( North – South Economic Corridor ) ผ่านไทย – ลาว – จีน (เส้นทาง R3a/ หรือ R3e/ ในลาว ระยะทาง 228 กม.) 3.3 เส้นทางหมายเลข 13 เหนือ – ใต้ (จีน – ลาว – กัมพูชา) สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
22
โครงการรถไฟความเร็วสูงลาว – จีน LAOS-CHINA HIGH SPEED RAILWAY
23
การก่อสร้างทางรถไฟความเร็วสูงจะเริ่มจากชายแดนลาว-จีน ผ่านเขตป่าเขาใน รวมระยะทาง 421 กม. และพบว่า เป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่ง 2 ใน 3 หรือเกือบ 300 กม. จะเป็นอุโมงค์ที่เจาะผ่านภูเขา กับสะพานข้ามลำน้ำลำธารและหุบเหว ไปยังนครเวียงจันทน์ เพื่อเชื่อมต่อกับระบบรถไฟความเร็วสูงจีน-ไทย เปิดทางไปสู่มาเลเซียกับสิงคโปร์ เรื่องเหล่านี้ปรากฏในเอกสารโครงการของนายสมสะหวาด เล่งสะหวัด รองนายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่ได้รับความเห็นจากสภาแห่งชาติ ในวันที่ 23 ธ.ค.2553 และจะต้องทำการขุดอุโมงค์ที่จะต้องเจาะมีความยาวรวมกันทั้งหมด 190 กม. และต้องสร้างสะพานรถไฟรวมกันอีกราว 90 กม. โครงการนี้ได้รับความเห็นชอบจากสภาแห่งชาติ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยที่ฝ่ายจีนถือหุ้นใหญ่ 70% ในโครงการมูลค่า 7,000 ล้านดอลลาร์ ทั้งที่เป็นเงินสดและอุปกรณ์ ลาวถือ 30% ลงทุนเป็นเงินสดส่วนหนึ่งและวัสดุก่อสร้างอีกส่วนหนึ่ง ลาวยังมีทางเลือกเพิ่มทุนได้ในอนาคตหากต้องการ เส้นทางสายนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของทางเชื่อมจีนกับอาเซียน เพื่อส่งเสริมการค้าการลงทุนระหว่างกัน จีนเลือกเส้นทางที่ตัดผ่านลาวจากทั้งหมด 3 เส้นทาง เนื่องจากเห็นว่าสั้นที่สุด ที่จะไปยังกรุงเทพฯกับกัวลาลัมเปอร์และสิงคโปร์ในอนาคต โดยขนาดรางกว้าง เมตร ออกแบบให้รถไฟความเร็วสูงขบวนโดยสารแล่นได้ด้วยความเร็ว 200 กม./ชม. ขึ้นไป และ 120 กม./ชม. สำหรับขบวนสินค้า
24
รถไฟความเร็วสูงระหว่างประเทศสายแรกในภูมิภาคเอเชียนี้จะแล่นผ่าน 21 สถานี ในนั้นมี 5 สถานีใหญ่ คือ บ่อเต็น เมืองไซ (แขวงอุดมไซ) เมืองหลวงพระบาง วังเวียง (แขวงเวียงจันทน์) และ นครเวียงจันทน์ อีก 16 แห่งเป็นสถานีย่อยจากนครเวียงจันทน์ ทางรถไฟความเร็วสูงจะผ่านไปยังท่านาแล้ง เพื่อเชื่อมต่อกับช่วงที่อยู่ในดินแดนไทยจาก จ.หนองคาย โดยจะมีการก่อสร้างสะพานรถไฟข้ามแม่น้ำโขงอีกแห่งหนึ่ง และการพัฒนา รถไฟหัวกระสุนจีน-ลาวอีกเฟสหนึ่ง จะสร้างจากนครเวียงจันทน์ต่อไปยังเมืองท่าแขก แขวงคำม่วนในภาคกลาง เพื่อต่อเชื่อมไปยังเวียดนามในอนาคต ทางรถไฟช่วงที่แล่นผ่านลาวเป็นเพียงช่วงกลางเท่านั้น จีนกำลังจะสร้างอีกช่วงหนึ่งจากด่านชายแดนที่บ่อหาน ผ่านเขตปกครองตนเอง 12 ปันนา กับเมืองจิ่งหง (เชียงรุ้ง) ไปยังนครคุนหมิง ในมณฑลหยุนหนันที่มีประชากรรวมกันกว่า 300 ล้านคน ตามรายงานของสำนักข่าวทางการจีน ในเดือน พ.ย.2553 นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีของไทยได้เดินทางไปเจรจากับฝ่ายจีนเกี่ยวกับโครงการร่วมทุนที่ยังไม่มีการเปิดเผยรายละเอียดทั้งหมด และกระทรวง การคลังอยู่ระหว่างขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรียังไม่มีการพูดถึงทางรถไฟความเร็วสูงช่วงยาวพอๆ กันจากกรุงเทพฯ ไปยังสถานีปาดังเบซาร์ เพื่อเชื่อมต่อกับมาเลเซีย ซึ่งเมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จทั้งหมด ทางรถไฟคุนหมิง-สิงคโปร์ จะมีระยะทางรวมกัน 3,640 กม.
25
รถไฟความเร็วสูงลาว-จีนยังไม่คืบ หลังต้องมีการสำรวจผลกระทบเพิ่มเติม
รถไฟความเร็วสูงลาว-จีนยังไม่คืบ หลังต้องมีการสำรวจผลกระทบเพิ่มเติม 11 พฤษภาคม 2554 โครงการ รถไฟความเร็วสูง ลาว-จีน ยังไม่มีความคืบหน้า หลังจากทางการจีนยังคงรวบรวมรายละเอียดไม่เสร็จเรียบร้อย และยังต้องการสำรวจเพิ่มเติม จึงต้องเลื่อนโครงการออกไปอีก ในขณะที่ประชาชนในพื้นที่ก่อสร้างก็ยังไม่มีการย้ายออกจากพื้นที่แต่อย่างใด เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกล่าวว่า ขณะนี้โครงการยังอยู่ในขั้นตอนของการสำรวจศึกษาถึงความเป็นไปได้ ซึ่งก็ได้มีการประสานงานกันอยู่อย่างต่อเนื่อง แต่ในขณะนี้ก็ยังไม่มีการเปิดเผยรายละเอียดต่าง ๆ แต่อย่างใด ทำให้ทางการลาวยังต้องศึกษาถึงผลกระทบต่อไปเรื่อยๆ จากกำหนดเดิมที่จะมีการลงมือก่อสร้างในวันที่ 25 เมษายนที่ผ่านมานั้น แต่ในขณะนี้ก็ยังไม่มีความคืบหน้าแต่อย่างใด แม้ว่าทางการลาวและจีนจะมีการประสานงานเกี่ยวกับเรื่องนี้มาก่อนแล้วก็ตาม โดยทางการลาวยังได้ว่าจ้างบริษัทเอกชนเข้ามาประเมินผลกระทบของโครงการ แต่ทางฝ่ายจีนก็ยังไม่มีปฏิกิริยาอะไรตอบกลับมา ทำให้การโยกย้ายชาวบ้านในเขตหลวงน้ำทานั้นยังต้องชะลอไปก่อน โครงการ รถไฟความเร็วสูงลาว-จีน มีกำหนดสร้างให้แล้วเสร็จในปี 2558 แต่จนถึงขณะนี้ก็ยังไม่มีกำหนดการสร้างที่แน่นอน โดยนายสมสะหวาด เล่งสะหวัด รองนายกรัฐมนตรีลาวได้กล่าวว่า โครงการจะลงมือก่อสร้างภายในปีนี้ เพื่อให้แล้วเสร็จทันในปี 2558 ที่มา : สิดนี, วิทยุเอเชียเสรี
26
Laos-China High Speed Railway
การสร้างทางรถไฟความเร็วสูงจาก ประเทศจีนมายังลาว โดยได้ทำการเซ็นสัญญากันเมื่อไม่นานมานี้ ซึ่งสัญญาดังกล่าวจะมีผลให้เกิดการก่อสร้างตามเส้นทางดังกล่าวในปี 2554 นี้ โดยทางการจีนได้ทำ Clip Video ความยาวประมาณ 7 นาทีออกเผยแพร่ใน You Tube ซึ่งเป็นแบบจำลองเส้นทางทั้งหมด 421 กม. ในลาว ที่มา :
27
ประมวลภาพ
28
3. โอกาสทางการค้าของไทยใน สปป. ลาว
3. โอกาสทางการค้าของไทยใน สปป. ลาว 4. อยู่ท่ามกลางประเทศเศรษฐกิจดาวรุ่ง 4.1 ทางเหนือเป็น สป. จีน 1,250 ล้านคน (เฉพาะยูนนาน 43 ล้านคน) 4.2 ทางตะวันตกเป็น ไทย 65 ล้านคน 4.3 ทางตะวันออกเป็น สส. เวียดนาม 83 ล้านคน 4.4 ทางใต้เป็น กัมพูชา 13 ล้านคน (ประเทศเปิดตัวใหม่) ตลาดตามรอยตะเข็บชายแดน ประชากรไม่ต่ำกว่า ล้านคน ประชากรลาว 6.0 ล้านคน ผลิตสินค้าขายไปยังตลาด 200 ล้านคน ภายใน 5 ปี สามารถฟื้นฟูประเทศได้ หากมีระบบการจัดการที่ดี ประชากรลาว มีความรู้หลายภาษา ได้แก่ ฝรั่งเศส รัสเซีย จีน เวียดนาม และไทย สามารถใช้ประโยชน์ในการแสวงหาตลาดได้หลายประเทศ
29
3. โอกาสทางการค้าของไทยใน สปป. ลาว
3. โอกาสทางการค้าของไทยใน สปป. ลาว 5. สปป. ลาว เป็นสะพานเชื่อม อินโดจีน ( Land Bridge) เพื่อก้าวไปสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC : ASEAN Economic Community ) ในปี แหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน้ำที่สำคัญในเอเซีย (Battery of Asia ) ภายในปี ในขณะนี้ดำเนินการไปแล้ว 10 เขื่อน - ยังอยู่ในระหว่างการสำรวจ / ศึกษาความเป็นไปได้อีก 79 เขื่อน สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
30
3. โอกาสทางการค้าของไทยใน สปป. ลาว
3. โอกาสทางการค้าของไทยใน สปป. ลาว 7. การได้รับประโยชน์สิทธิพิเศษด้านภาษี 7.1 เขตการค้าเสรีอาเซียน 7.2 สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป (GSP) จาก 35 ประเทศ 7.3 โครงการ Contract Farming ภายใต้ ACMECS 7.4 สหรัฐมอบสถานะ NTR ให้ สปป. ลาว (ลดภาษีนำเข้าจาก 45 % เหลือ 2.4 % ) สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
31
3. โอกาสทางการค้าของไทยใน สปป. ลาว
3. โอกาสทางการค้าของไทยใน สปป. ลาว 8. ต้นทุนการผลิตอยู่ในระดับต่ำ 8.1 น้ำ ไฟฟ้า อุดมสมบูรณ์ มีราคาถูก 8.2 ค่าแรง (ค่าแรงขั้นต่ำ 72 ดอลลาร์ / เดือน ) ระดับปริญญาตรี 4,500 บาท/เดือน 9. มี 49 ชนเผ่า เป็นความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว 10. สังคมเครือญาติ 10.1 วิถีชีวิต ประเพณี และวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน 10.2 ภาษาที่ไม่ต้องใช้ล่ามแปล 10.3 ประชาชนมีความสัมพันธ์กันมายาวนาน สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
32
4. ปัญหา และอุปสรรคทางการค้า
1. ผู้ส่งออกสินค้าของไทยไป สปป. ลาว ส่วนใหญ่เป็นพ่อค้าชายแดน ขาด ความเป็นนักการตลาดเชิงรุกมืออาชีพ 2. ราคาสินค้าไทยมีราคาสูงเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง คือ จีน และเวียดนาม 3. มีการลักลอบการค้าตามแนวชายแดน ทำให้สินค้าไทยเข้าไปแข่งขันกันเอง ในตลาด สปป. ลาว 4. สินค้าไทยถูกปลอมแปลง และลอกเลียนแบบ จากประเทศคู่แข่ง 5. มีแนวโน้มการแข่งขันระหว่างพ่อค้าคนกลางตามชายแดนทั้งต่างชาติและ พ่อค้าไทยมากขึ้น เช่นจากจีน เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
33
อุปสรรคทางการค้าจากนโยบายการค้าและขนส่งภายใน
1. การนำเข้าสินค้าของลาวต้องกระทำผ่านหน่วยงานของรัฐและมีใบอนุญาตจากรัฐ เท่านั้น ส่วนผู้ไม่มีใบอนุญาตอาจต้องเสียค่านายหน้า 1-3% ให้แก่บริษัทที่ได้ ใบอนุญาตในการอาศัยการนำเข้า-ส่งออก 2. การลดและจำกัดบริษัทผู้นำเข้า-ส่งออกของ สปป.ลาว 3. ระบบการค้าระหว่างสองประเทศของ สปป.ลาวยังไม่เป็นสากลและไม่แน่นอน ทำให้ผู้ส่งออกสับสนและไม่สามารถวางแผนระยะยาวได้ 4. มีการเข้มงวดในการนำเข้าสินค้า ทั้งยังจำกัดโควตาสินค้านำเข้าบางรายการ 5. ขั้นตอนการนำเข้าและการออกเอกสารของ สปป.ลาวมีความซับซ้อน ยุ่งยาก 6. การขนถ่ายสินค้าของสปป.ลาวเน้นการใช้แรงงาน ทำให้เสียเวลาและสินค้า เสียหาย สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
34
5. คาดการณ์การส่งออกของไทยไปยัง สปป. ลาว ปี 2552 และปี 2553
5. คาดการณ์การส่งออกของไทยไปยัง สปป. ลาว ปี 2552 และปี 2553 การส่งออกของไทยไปยังตลาด สปป. ลาว ปี 2553 มีอัตราการขยายตัว ร้อยละ มูลค่า 2, ล้านเหรียญสหรัฐ ประมาณการณ์การส่งออกของไทยไปยังตลาด สปป. ลาว ปี 2554 มีอัตราการขยายตัว ร้อยละ 25 มูลค่า 2, ล้านเหรียญสหรัฐ สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
35
6. สินค้าและบริการที่มีศักยภาพ
6. สินค้าและบริการที่มีศักยภาพ อุตสาหกรรม เกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร เครื่องจักรกลการเกษตร เครื่องสำอาง สบู่ และ ผลิตภัณฑ์รักษาผิว รถยนต์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ เครื่องดื่ม คอมพิวเตอร์ ปูนซิเมนต์ ของตกแต่งบ้าน ข้าว และผลิตภัณฑ์ข้าวสาลี อาหารสำเร็จรูป อาหารทะเลแช่แข็ง ผัก ผลไม้ตามฤดูกาล ผลิตภัณฑ์ยาง
36
6. สินค้าและบริการที่มีศักยภาพ
6. สินค้าและบริการที่มีศักยภาพ ธุรกิจบริการ สปา โรงแรม การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ร้านอาหาร และแฟรนไชส์ ออกแบบก่อสร้าง การวางระบบ การศึกษา สถานพยาบาล ธนาคาร ประกันภัย ตลาดหลักทรัพย์ บันเทิง ถ่ายทำภาพยนต์ ร้านสะดวกซื้อ สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง อู่ซ่อมรถ ล้างรถ และประดับยนต์ ร้านเสริมสวย สถาบันความงาม สถาบันฝึกอบรม ซ่อมบำรุงเครื่องใช้ไฟฟ้า ตกแต่งภายใน / จัดสวน จัดงานเลี้ยง / งานพิธี กำจัดแมลง / วัชพืช สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
37
7. กลยุทธ์ส่งเสริมการส่งออกไปยังตลาด สปป. ลาว ปี 2553 - 2554
7. กลยุทธ์ส่งเสริมการส่งออกไปยังตลาด สปป. ลาว ปี 1. การปรับนโยบายในด้านการส่งออก การทำการค้ากับประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะกับ สปป. ลาว ในเชิงสร้างสรรค์มากขึ้น (ไม่มองเป็นคู่แข่งแต่ เป็นคู่ค้า) 2. สร้าง Strategic Partnership ในทุกระดับ ให้เกิดความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่าง กัน 3.สนับสนุนการดำเนินธุรกิจการค้า ลักษณะ Win – Win Situation ไม่ใช่ ประเภทตีหัวเข้าบ้าน (ให้เขาเพื่อให้เรา) 4. ส่งเสริมการเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระหว่างกัน ( Partnership) 5. สร้างเครือข่ายทางการค้าร่วมกันในลักษณะ Net Working เพราะการค้า เป็นพหุพาคีมากขึ้น สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
38
7. กลยุทธ์ส่งเสริมการส่งออกไปยังตลาด สปป. ลาว ปี 2553 - 2554
7. กลยุทธ์ส่งเสริมการส่งออกไปยังตลาด สปป. ลาว ปี 6. ผลักดันสินค้าและธุรกิจบริการเชิงสร้างสรรค์ของไทย ( Creative Economy for Export ) ตามนโยบายรัฐบาลเข้าไปยังตลาด สปป. ลาว เพื่อเป็นกันชนกับคู่แข่ง คือ จีน และ เวียดนาม โดยเฉพาะสินค้าแฟร์ชั่น และอุตสาหกรรมบันเทิงไทย 7. ผลักดันสินค้าอาหารแปรรูป และอาหารทะเลแช่แข็งเข้าไปในเส้นทาง Logistics ใหม่ ๆ ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ เช่น เส้นทางหมายเลข 9 หรือ R 3 โดยใช้ สปป. ลาว เป็น ศูนย์กระจายสินค้าผ่านแดนไปยังจีนตอนใต้ และเวียดนาม ที่ตลาดเริ่มมีกำลังซื้อสูงขึ้น 8. ผลักดันส่งเสริมการส่งออกสินค้าเครื่องมือในการแปรรูปสินค้าเกษตร เครื่องมืออุปกรณ์ ในการปรุงอาหาร การบรรจุภัณฑ์หีบห่อ เพื่อรองรับภาคการเกษตรของ สปป. ลาว ที่ ขยายตัวมากขึ้น 9. จัดให้มีการเจรจาจับคู่ธุรกิจ (Business Matching) เพิ่มโอกาสทางการค้าและการลงทุน สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
39
7. กลยุทธ์ส่งเสริมการส่งออกไปยังตลาด สปป. ลาว ปี 2553 - 2554
7. กลยุทธ์ส่งเสริมการส่งออกไปยังตลาด สปป. ลาว ปี 10. การจัดงานแสดงสินค้าใน สปป. ลาว ในแขวงที่สำคัญตามแนวระบียงสะพาน มิตรภาพต่าง ๆ กระตุ้นเศรษฐกิจบริเวณพรหมแดน ให้เป็นพรหมแดนแห่งความมั่ง คั่ง 11. Local to Global ในแขวงที่เป็นศูนย์กลางทางการค้า 12. ให้การสนับสนุนการฝึกอบรม การศึกษาดูงาน เพื่อให้มีการใช้การบริหารจัดการที่ มีมาตรฐานของไทยเป็นต้นแบบ 13. Internationalization (ธุรกิจบริการ การเกษตร อุตสาหกรรมการเกษตร และ อุตสาหกรรมที่ได้รับ GSP ) 14. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ให้ธุรกิจไทย ใช้แบบฟอร์มการรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า เพื่อใช้สิทธิทางด้านภาษีศุลกากรให้ถูกต้องตามประเภทสินค้า สามารถขยายตลาด ให้มากขึ้น สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
40
7. กลยุทธ์ส่งเสริมการส่งออกไปยังตลาด สปป. ลาว ปี 2553 - 2554
7. กลยุทธ์ส่งเสริมการส่งออกไปยังตลาด สปป. ลาว ปี 15. จัดฝึกอบรมให้แก่นักธุรกิจไทยใน สปป. ลาว เพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขัน 16. จัดทำ Contract Farming ในสินค้าที่ตลาดมีความต้องการ และยังผลิตได้ ไม่เพียงพอ 17. สนับสนุนการจัดระเบียบ ยกระดับด่านไทย –สปป. ลาว ให้มีความเท่า เทียมกัน เกิดความสะดวกลื่นไหล เพิ่มปริมาณการค้ามากขึ้น 18. สนับสนุนการให้เงินทุนด้าน Infrastructure และให้คนไทยไปรับงานนอก บ้าน 19. สนับสนุนการใช้เงินสกุลท้องถิ่นบริเวณชายแดน เพิ่มช่องทางและปริมาณ การค้าให้เพิ่มมากขึ้น สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
41
นโยบายหลักของไทย 1. การสร้างความไว้วางใจระหว่างกัน ( Mutual Trust ) 2. การพัฒนาร่วมกัน ( Joint Development Effort ) 3. การสร้างความเข้มแข็งให้แก่ภูมิภาค ( Regional Strengthening ) “ความมั่งคั่งและความมั่นคงของ สปป. ลาว คือความมั่งคั่งและความมั่นคงของไทย” สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
42
การจัดตั้งธุรกิจในสปป.ลาว
กฎหมายส่งเสริมการลงทุนของ สปป.ลาว ได้จัดแบ่งรูปแบบการลงทุนออกเป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ 1. ธุรกิจร่วมสัญญา เป็นการร่วมธุรกิจกันระหว่างนิติบุคคลลงทุนภายใน กับฝ่ายต่างประเทศ 2. วิสาหกิจร่วมทุน เป็นวิสาหกิจที่ก่อตั้งและขึ้นทะเบียนตามกฎหมายของ สปป.ลาว ซึ่งมีการดำเนิน ธุรกิจและเป็นกรรมสิทธิ์ร่วมระหว่างผู้ลงทุนต่างประเทศ และผู้ลงทุนในประเทศ โดยผู้ลงทุนต่างประเทศต้องลงทุนอย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 10% ของทุนจดทะเบียน สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
43
ตารางแสดงสัดส่วนการถือหุ้นสูงสุดของต่างชาติ ในแต่ประเภทธุรกิจ ของสปป
ตารางแสดงสัดส่วนการถือหุ้นสูงสุดของต่างชาติ ในแต่ประเภทธุรกิจ ของสปป.ลาว ลำดับ ประเภทธุรกิจ สัดส่วนการถือหุ้น 1. ธนาคาร สถานีโทรทัศน์ วิทยุ โทรคมนาคม สื่อสิ่งพิมพ์/โรงพิมพ์ ผลิตภัณฑ์ยาและเครื่องมือทางการแพทย์ ประกันภัย อสังหาริมทรัพย์ สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
44
โรงแรม ท่องเที่ยว การคมนาคมขนส่ง ขายปลีก ขายส่ง
ตารางแสดงสัดส่วนการถือหุ้นสูงสุดของต่างชาติ ในแต่ประเภทธุรกิจ ของสปป.ลาว ลำดับ ประเภทธุรกิจ สัดส่วนถือหุ้น (%) โรงแรม ท่องเที่ยว การคมนาคมขนส่ง ขายปลีก ขายส่ง 10-100 สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
45
ตารางแสดงสัดส่วนการถือหุ้นสูงสุดของต่างชาติ ในแต่ประเภทธุรกิจ ของสปป
ตารางแสดงสัดส่วนการถือหุ้นสูงสุดของต่างชาติ ในแต่ประเภทธุรกิจ ของสปป.ลาว 3. วิสาหกิจลงทุนต่างประเทศทั้งหมด 100 % เป็นวิสาหกิจของต่างประเทศ ลงทุนฝ่ายเดียว จัดตั้งใน สปป.ลาว การจัดตั้ง วิสาหกิจดังกล่าว อาจตั้งเป็นนิติบุคคลใหม่ หรือเป็นสาขาของวิสาหกิจต่างประเทศ ทุนจดทะเบียนของวิสาหกิจลงทุนต่างประเทศ ไม่ให้น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุน ทั้งหมดตลอดระยะเวลาดำเนินธุรกิจ ทรัพย์สินของวิสาหกิจ ไม่ให้ต่ำกว่าทุนจดทะเบียน ทั้งนี้ อายุของวิสากิจลงทุน ต่างประเทศ เป็นการลงทุนตามลักษณะ ขนาด และเงื่อนไขของวิสาหกิจ กิจการ หรือโครงการ ไม่ให้เกิน 50 ปี และสามารถต่ออายุได้ตามการตกลงของรัฐบาล แต่อายุของวิสาหกิจลงทุนต่างประเทศสูงสุดไม่ให้เกิน 75 ปี สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
46
การเสนอขอลงทุนผ่านกลไก ONE STOP SERVICES
โครงการที่อยู่ในบัญชีส่งเสริม 15 วันทำการ โครงการที่อยู่ในบัญชีเปิดมีเงื่อนไข 25 วันทำการ โครงการที่เกี่ยวพันกับการให้สิทธิสัมปทาน 45 วันทำการ ผู้ลงทุนต่างประเทศที่มีเงื่อนไขถูกต้องตามที่ได้กำหนดไว้ในกฎหมายฉบับนี้ จะได้รับใบอนุญาตลง ทุน ทะเบียนวิสาหกิจ และทะเบียนอากร พร้อมกันที่กรมส่งเสริมการลงทุน กระทรวงแผนการ และการลงทุน ของ สปป.ลาว ซึ่งก่อนหน้านี้ผู้ลงทุนต้องไปเสนอขึ้นทะเบียนวิสาหกิจและใบ ทะเบียนอากรด้วยตนเองกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
47
อำนาจอนุมัติในการส่งเสริมการลงทุน
กฎหมายส่งเสริมการลงทุนของ สปป.ลาว ได้ให้สิทธิแก่แขวงฯ มีอำนาจในการอนุมัติการลงทุนต่างประเทศสำหรับโครงการใน บัญชีส่งเสริม (Activities Promoted for Foreign Investment) ที่มี มูลค่าไม่เกิน 5 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ. สำหรับ 4 แขวงใหญ่คือ นครหลวงเวียงจันทน์ แขวงหลวงพระบาง แขวงสะหวันนะ เขต และแขวงจำปาสัก และ 3 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ สำหรับ แขวงอื่นๆ สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
48
กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน
กิจการการผลิตสินค้าเพื่อส่งออก กิจการกสิกรรม-ป่าไม้ แปรรูปผลิตภัณฑ์กสิกรรม-ป่าไม้และหัตถกรรม กิจการอุตสาหกรรมแปรรูป อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีทันสมัย กิจการค้นคว้า วิทยาศาสตร์ และ การพัฒนา กิจการปกปักษ์รักษาสิ่งแวดล้อม และชีวะนานาพันธุ์ กิจการเกี่ยวกับการพัฒนาทางด้านทรัพยากรมนุษย์ ฝีมือแรงงาน และการปกปักษ์ รักษาสุขภาพของพลเมือง กิจการก่อสร้างพื้นฐานโครงสร้าง กิจการผลิตวัตถุดิบ อุปกรณ์เพื่อสนองให้แก่การผลิตอุตสาหกรรมที่สำคัญ กิจการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการบริการ
49
สิทธิประโยชน์การลงทุน
1. กำไรนำไปขยายกิจการที่ได้รับอนุญาต จะได้รับการยกเว้นอากรกำไรในปีการ บัญชี 2. ส่งผลกำไร ทุน และรายรับอื่นๆ (ภายหลังที่ได้ปฏิบัติพันธะทางด้านภาษี อากร และ ค่าธรรมเนียมอื่นๆ ตามระเบียบกฎหมายแล้ว) กลับประเทศของ ตน หรือประเทศที่สามโดยผ่านธนาคารที่ตั้ง อยู่ใน สปป.ลาว 3. ได้รับการยกเว้นภาษีนำเข้า และอากรที่เก็บจากการนำเข้าอุปกรณ์ เครื่อง อะไหล่ พาหนะการ ผลิตโดยตรง วัตถุดิบที่ไม่มีอยู่ในประเทศ หรือมีแต่ไม่ เพียงพอ ผลิตภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูปที่นำเข้ามา เพื่อแปรรูปหรือประกอบเป็น ผลิตภัณฑ์เพื่อส่งออก 4. ได้รับการยกเว้นภาษีขาออก สำหรับผลิตภัณฑ์เพื่อส่งออก สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
50
ตารางแสดงสิทธิประโยชน์ด้านภาษี
เขต ปีที่ อัตราอากรกำไร เขต 1 0 - 7 ปี 0% (ยกเว้นอากรกำไร) ปีที่ 8 ขึ้นไป 10% เขต 2 0 - 5 ปี 6 - 8 ปี 7.5 % 15 % เขต 3 0 - 2 ปี 0 % (ยกเว้นอากรกำไร) 3 - 4 ปี 10 % 20 % สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
51
ขั้นตอน/วิธีการจดทะเบียนนิติบุคคล และเอกสารประกอบ
การประกอบเอกสารเพื่อแจ้งขึ้นทะเบียนนิติบุคคล ประกอบมี 1. วิสาหกิจส่วนบุคคล ประกอบมี 1 เอกสาร (ไม่รวมเอกสารแนบ) ดังนี้ (1) ใบคำร้องแจ้งขึ้นทะเบียนวิสาหกิจส่วนบุคคล 2. วิสาหกิจหุ้นส่วนสามัญ ประกอบมี 4 เอกสาร(ไม่รวมเอกสารแนบ) ดังนี้ (1) ใบเสนอจองชื่อนิติบุคคลของวิสาหกิจหุ้นส่วนสามัญ (2) สัญญาก่อตั้งวิสาหกิจหุ้นส่วนสามัญ (3) ใบคำร้องขอขึ้นทะเบียนวิสาหกิจของวิสาหกิจหุ้นส่วนสามัญ (4) กฎระเบียบของวิสาหกิจหุ้นส่วนสามัญ สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
52
ขั้นตอน/วิธีการจดทะเบียนนิติบุคคล และเอกสารประกอบ
3. วิสาหกิจหุ้นส่วนจำกัด ประกอบมี 4 เอกสาร(ไม่รวมเอกสารแนบ) ดังนี้(1) ใบเสนอขอจองชื่อนิติ บุคคลของวิสาหกิจหุ้นส่วนจำกัด (2) สัญญาก่อตั้งวิสาหกิจหุ้นส่วนจำกัด (3) ใบคำร้องขอขึ้นทะเบียนวิสาหกิจของวิสาหกิจหุ้นส่วนจำกัด (4) กฎระเบียบของวิสาหกิจหุ้นส่วนจำกัด สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
53
ขั้นตอน/วิธีการจดทะเบียนนิติบุคคล และเอกสารประกอบ
4. บริษัทจำกัด ประกอบมี 4 เอกสาร(ไม่รวมเอกสารแนบ) ดังนี้ (1) ใบเสนอขอจองชื่อวิสาหกิจของบริษัทจำกัด (2) สัญญาก่อตั้งบริษัทจำกัด (3) ใบคำร้องขอขึ้นทะเบียนวิสาหกิจของบริษัทจำกัด (4) กฎระเบียบของบริษัทจำกัด สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
54
ขั้นตอน/วิธีการจดทะเบียนนิติบุคคล และเอกสารประกอบ
5. บริษัทจำกัดผู้เดียว ประกอบมี 3 เอกสาร(ไม่รวมเอกสารแนบ) ดังนี้ (1) ใบเสนอขอจองชื่อวิสาหกิจของบริษัทจำกัดผู้เดียว (2) ใบคำร้องขอแจ้งขึ้นวิสาหกิจของบริษัทจำกัดผู้เดียว (3) กฎระเบียบของบริษัทจำกัดผู้เดียว สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
55
ขั้นตอน/วิธีการจดทะเบียนนิติบุคคล และเอกสารประกอบ
6. บริษัทมหาชน ประกอบมี 4 เอกสาร(ไม่รวมเอกสารแนบ) ดังนี้ (1) ใบเสนอจองชื่อวิสาหกิจของบริษัทมหาชน (2) สัญญาก่อตั้งบริษัทมหาชน (3) ใบคำร้องขอขึ้นทะเบียนวิสาหกิจของบริษัทมหาชน (4) กฎระเบียบของบริษัทมหาชน สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
56
ขั้นตอน/วิธีการจดทะเบียนนิติบุคคล และเอกสารประกอบ
7. บริษัทรัฐวิสาหกิจ ประกอบมี 4 เอกสาร(ไม่รวมเอกสารแนบ) ดังนี้ (1) ใบเสนอจองชื่อวิสาหกิจของบริษัทรัฐวิสาหกิจ (2) สัญญาก่อตั้งบริษัทรัฐวิสาหกิจ (3) ใบคำร้องขอขึ้นทะเบียนวิสาหกิจรัฐวิสาหกิจ (4) กฎระเบียบของบริษัทรัฐวิสาหกิจ สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
57
ขั้นตอน/วิธีการจดทะเบียนนิติบุคคล และเอกสารประกอบ
8. บริษัทผสม ประกอบมี 4 เอกาสาร(ไม่รวมเอกสารแนบ) ดังนี้ (1) ใบเสนอขอจองชื่อวิสาหกิจของบริษัทผสม (2) สัญญาก่อตั้งบริษัทผสม (3) ใบคำร้องขอขึ้นทะเบียนวิสาหกิจของบริษัทผสม (4) กฎระเบียบของบริษัทผสม (รายละเอียดแบบฟอร์มต่างๆ สมารถ DOWNLOAD ได้จาก สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
58
ระบบการจัดเก็บภาษีของ สปป.ลาว
ระบบการจัดเก็บภาษีของ สปป.ลาว ลำดับ ประเภทภาษี อัตราภาษี หมายเหตุ 1. ภาษีเงินได้นิติบุคคล (กำไร) Corporation Tax 35 % 20% สำหรับแขนงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน 2. 3. ภาษีการค้า Business Turnover Tax 5% และ 10% - เป็นภาษีที่จัดเก็บจากการขายสินค้าตั้งแต่ขายส่งจากโรงงานถึงผู้ค้าปลีก มีเพียง 2 อัตรา - บริษัทต่างประเทศก็เก็บเช่น เดียวกัน ถ้าไม่อยู่ในระบบภาษี มูลค่าเพิ่ม
59
ระบบการจัดเก็บภาษีของ สปป.ลาว
ระบบการจัดเก็บภาษีของ สปป.ลาว 4. ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) 10 % ใช้กับทุกประเภทสินค้าไม่มีการจำแนก 5. ภาษีศุลกากร Import and Export Duty % - ขึ้นอยู่กับประเภทสินค้า - มีทั้งภาษีนำ และภาษีส่งออก 6. ภาษีสรรพสามิต หรือ ภาษีชมใช้ % - เก็บจากการนำเข้า หรือผลิตภายในประเทศ ในสินค้าฟุ่มเฟือยจากมูลค่าสินค้า สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
60
การยกเว้นภาษีซ้อน สปป.ลาว ลงนามในอนุสัญญาเพื่อยกเว้นการเก็บภาษีซ้อน (The Avoidance of Double Taxation) กับประเทศไทย เริ่มใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม ทำให้รายได้ต่างๆ ที่นักลงทุนไทยได้รับจากการลงทุนใน สปป.ลาว ไม่มีปัญหาภาษีซ้อน สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
61
ภาษีเงินได้นิติบุคคล (CORPORATION TAX)
ผู้ประกอบการทั่วไป จ่ายในอัตรา 35% กิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน เขต 1 พื้นที่ห่างไกลธุระกันดาร (ภูดอย) - ได้รับยกเว้นภาษีเป็นเวลา 7 ปี - หลังจากนั้น เสียภาษีในอัตรา 10% เขต 2 พื้นที่ที่มีสาธารณูปโภคพื้นฐานทางเศรษฐกิจบางส่วน - ได้รับยกเว้นภาษีเป็นเวลา 5 ปี - 3 ปีถัดมา เสียภาษีในอัตรา 7.5% - หลังจากนั้น เสียภาษีในอัตรา 15% เขต 3 พื้นที่ตัวเมืองใหญ่ มีสาธารณูปโภคพื้นฐานทางเศรษฐกิจสมบูรณ์ - ได้รับยกเว้นภาษีเป็นเวลา 2 ปี - 2 ปีถัดมา เสียภาษีในอัตรา 10% - หลังจากนั้น เสียภาษีในอัตรา 20% สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
62
ภาษีการค้า หรืออากรตัวเลขธุรกิจ (BUSINESS TURNOVER TAX)
เป็นภาษีที่เก็บจากการขายสินค้าตั้งแต่การขายส่งจากโรงงานจนถึงผู้ค้าปลีก จัดเก็บ 2 อัตรา คือ 5% และ 10% (สำหรับวิสาหกิจที่มีรายรับ 399,999,999 กีบ/ปี ลง มา) มีสินค้าบางประเภท ไม่ต้องเสียภาษีการค้า . ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax / VAT) ใช้กับทุกประเภทสินค้า, ไม่มีการจำแนก จัดเก็บในอัตรา 10% สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
63
ภาษีศุลกากร (IMPORT AND EXPORT DUTY)
ขึ้นอยู่กับประเภทสินค้า สอบถามได้ที่ กรมภาษี กระทรวงการเงิน สปป. ลาว http: //laocustoms.laopdr.net ภาษีสรรพสามิต หรือภาษีชมใช้ เป็นภาษีที่เก็บจากการนำเข้า หรือการผลิตภายในประเทศ ในสินค้าประเภท ฟุ่มเฟือย ได้แก่ ผลิต ภัณฑ์อิเลคทรอนิคส์ ผลิตภัณฑ์ปีโตเลี่ยม เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ บุหรี่ และผลิตภัณฑ์เสริมความงาม และยานพาหนะ อัตราจัดเก็บ 12 – 90% ของมูลค่าสินค้า สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
64
ภาวะการลงทุนใน สปป. ลาว
การลงทุนที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศอยู่ใน สปป. ลาว ปี 2544 จำนวน 64 โครงการ เงินลงทุน 54,097,712 เหรียญสหรัฐ ปี 2545 จำนวน 80 โครงการ เงินลงทุน 133,037,093 เหรียญสหรัฐ ปี 2546 จำนวน 178 โครงการ เงินลงทุน 465,987,139 เหรียญสหรัฐ ปี 2547 จำนวน 161 โครงการ เงินลงทุน 533,148,782 เหรียญสหรัฐ ปี 2548 จำนวน 143 โครงการ เงินลงทุน 1,245,307,116 เหรียญสหรัฐ ปี 2549 จำนวน 171 โครงการ เงินลงทุน 2,699,690,943 เหรียญสหรัฐ สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
65
ภาวะการลงทุนใน สปป. ลาว
ปี จำนวน โครงการ เงินลงทุน 1,136,905, เหรียญสหรัฐ ปี จำนวน โครงการ เงินลงทุน 1,215,543, เหรียญสหรัฐ ปี จำนวน โครงการ เงินลงทุน 4,312,886, เหรียญสหรัฐ ปี 2553 (ม.ค. – ก.ย.) จำนวน 32 โครงการ เงินลงทุน 43,854, เหรียญสหรัฐ สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
66
การลงทุนของประเทศที่สำคัญใน สปป. ลาว
การลงทุนของประเทศที่สำคัญใน สปป. ลาว ลำดับ ประเทศ ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 จำนวนโครงการ เงินลงทุน (เหรียญสหรัฐ) 1 เวียดนาม 39 149,425,319 48 1,421,214,766 45 658,437,985 2 จีน 41 107,246,034 47 932,892,867 73 473,985,798 3 ไทย 31 375,197,133 37 908,641,389 32 43,854,870 4 ฝรั่ง 500,000 7 11,732 9 6,093,840 5 อื่น ๆ 583,174,879 69 1,050,125,935 219,835,699 รวม 152 1,215,543,365 208 4,312,886,689 207 1,402,208,191 สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
67
มูลค่าการลงทุน (เหรียญสหรัฐ)
การลงทุนใน สปป. ลาว แยกเป็นรายธุรกิจ ลำดับที่ ประเภทธุรกิจ ปี 2551 ปี 2552 ร้อยละ จำนวนโครงการ มูลค่าการลงทุน (เหรียญสหรัฐ) 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้า 3 640,000,000 4 218,260,000 5.06 2 การเกษตร 23 78,490,650 30 289,833,350 6.72 เหมืองแร่ 17 102,066,035 37 2,280,459,092 52.87 สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
68
การลงทุนใน สปป. ลาว แยกเป็นรายธุรกิจ
การลงทุนใน สปป. ลาว แยกเป็นรายธุรกิจ 4 อุตสาหกรรมและหัตถกรรม 31 156,887,470 34 198,720,294 4.60 5 บริการ 19 33,589,318 30 1,055,059,107 24.46 6 การค้า 12 12,888,000 18 16,639,571 0.39 7 การก่อสร้าง 10 66,600,000 9 27,194,077 0.63 8 โรงแรมและภัตตาคาร 29,430,000 16 44,220,000 1.03 อุตสาหกรรมไม้ 20,991,680 2 13,634,200 0.32 ธนาคาร 33,000,000 77,000,000 1.79 สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
69
การลงทุนใน สปป. ลาว แยกเป็นรายธุรกิจ
การลงทุนใน สปป. ลาว แยกเป็นรายธุรกิจ 11 เทเลคอม 1 32,450,980 83,774,998 1.94 12 สิ่งทอ 5 5,109,232 2 1,200,000 0.03 13 ที่ปรึกษา 10 4,040,000 17 6,892,000 0.16 รวม 146 1,215,543,365 208 4,312,886,689 100 ที่มา : กรมส่งเสริมการลงทุน กระทรวงแผนการและการลงทุน สปป.ลาว / สคต. ณ เวียงจันทน์ รวบรวม สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
70
การลงทุนสะสมใน สปป. ลาว 5 อันดับแรก [ตั้งแต่ปี 2543 – 2553 (มิ.ย.) ]
การลงทุนสะสมใน สปป. ลาว 5 อันดับแรก [ตั้งแต่ปี – 2553 (มิ.ย.) ] ลำดับที่ ประเทศ จำนวนโครงการ มูลค่าการลงทุน (เหรียญสหรัฐ) ร้อยละ 1 จีน 356 2,929,644,688 23.15 2 ไทย 245 2,653,360,197 20.97 3 เวียดนาม 215 2,213,029,657 17.49 4 ฝรั่งเศส 69 454,293,746 3.59 5 ญี่ปุ่น 43 441,550,323 3.49 อื่นๆ - 1,950,224,996 15.41 รวม 10,705,170,572 84.1 เงินลงทุนของ สปป.ลาว 2,013,291,961 15.90 รวมทั้งสิ้น 1,426 12,655,395,568 100 ที่มา : กรมส่งเสริมการลงทุน กระทรวงแผนการและการลงทุน สปป.ลาว / สคต. ณ เวียงจันทน์ รวบรวม
71
สวัสดี สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เวียงจันทน์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.