ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
2
“ร้าน มอก.” กับผลกระทบต่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค
3
การนำเสนอ สมอ. และการดำเนินงาน การคุ้มครองผู้บริโภค
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขโครงการ “ร้าน มอก.” ผลกระทบต่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ การประกาศเกียรติคุณ “ร้าน มอก.”
4
สมอ.และการดำเนินงาน
5
หน่วยงานด้านการมาตรฐานของชาติ
ดำเนินงาน ภายใต้ พ.ร.บ.มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ.2511 พ.ร.บ.การมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ.2551 X การรับรองระบบงาน (Accreditation) มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.)
6
สมอ.และการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับความเป็นธรรม และ มีความปลอดภัย รักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ พัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก ลดและขจัดปัญหา/อุปสรรคทางการค้าที่เกิดจากมาตรการด้านการมาตรฐานของประเทศคู่ค้า กำกับดูแลงานด้านการมาตรฐาน (Standardization)
7
งานด้านการมาตรฐาน กำหนดมาตรฐาน มอก.
รับรองผลิตภัณฑ์เป็นไปตาม มาตรฐาน มอก. => การอนุญาตให้แสดงเครื่องหมายมาตรฐาน
8
เครื่องหมายมาตรฐาน มาตรฐานทั่วไป มาตรฐานบังคับ
9
การกำหนดมาตรฐาน
10
มาตรฐาน (Standards) ข้อกำหนดอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง ซึ่งเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ผลิตภัณฑ์ วิธีการ กระบวนการผลิต ส่วนประกอบ โครงสร้าง มิติ ขนาด แบบ รูปร่าง น้ำหนัก ประสิทธิภาพ สมรรถนะ ความทนทาน หรือความบริสุทธิ์ของผลิตภัณฑ์ หีบห่อ การบรรจุหีบห่อ การทำเครื่องหมาย หรือฉลาก วิธีการ กระบวนการ คุณลักษณะ ประสิทธิภาพ หรือสมรรถนะ ที่เกี่ยวข้องกับ การบริการ ระบบการบริหาร หรือการจัดการเกี่ยวกับคุณภาพ สุขอนามัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย หรือระบบอื่นใด นิยาม แนวทาง ข้อแนะนำ หน่วยวัด การทดสอบ การสอบเทียบ การทดลอง การวิเคราะห์ การวิจัย การตรวจ การรับรอง การตรวจประเมิน ที่เกี่ยวกับข้างต้น หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการมาตรฐาน ที่มา พระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๑
11
กระบวนการกำหนดมาตรฐาน
ผู้มีส่วนได้เสีย การชี้บ่ง ความต้องการ และข้อคิดเห็น การเสนอโครงงาน และยกร่างมาตรฐาน ผู้ทรง คุณวุฒิ และ สมาชิก ให้ความเห็นชอบ จัดพิมพ์จำหน่ายและ ประชา สัมพันธ์ ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการนำไปใช้ สำรวจ รวบรวมกระแสตอบกลับจากผู้ใช้ ความเพียงพอของทรัพยากร/โครงสร้างพื้นฐาน ง่ายขี้น รวดเร็วขึ้น เพิ่มนวัตกรรม และ การปรับปรุง
12
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (มอก.)
การกำหนดมาตรฐาน คณะกรรมการวิชาการ (กว.) มาจากผู้มีส่วนได้เสีย ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา ผู้บริโภค ผู้ผลิต นักวิชาการ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (มอก.)
13
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ประกาศมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม รายชื่อมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม รายชื่อมาตรฐาน
14
การประกาศเป็นมาตรฐานบังคับ
ประกาศกำหนดให้ผลิตภัณฑ์ใดต้องเป็นไปตามมาตรฐาน เพื่อความปลอดภัย เพื่อป้องกันความเสียหายอันอาจจะเกิดแก่ประชาชน หรือแก่กิจการอุตสาหกรรม หรือ เศรษฐกิจของประเทศ ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และระบุวันเริ่มใช้บังคับ
15
การประกาศเป็นมาตรฐานบังคับ (ต่อ)
ผลิตภัณฑ์ที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน แยกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ โยธาและวัสดุก่อสร้าง (25) โภคภัณฑ์ (10) วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (36) วิศวกรรมของไหล (3) อาหาร (1)
16
การประกาศเป็นมาตรฐานบังคับ (ต่อ)
ผลิตภัณฑ์ที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน แยกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ (ต่อ) วิศวกรรมส่งผ่านความร้อน (2) วิทยาศาสตร์การแพทย์ (4) สีและวาร์นิช (9) วิศวกรรมเครื่องกลและยานพาหนะ (18) เคมี (1) จำนวนมาตรฐานบังคับทั้งหมด 106 มาตรฐาน ณ วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ จะมีมาตรฐานบังคับทั้งหมด 108 มาตรฐาน
17
กระบวนการอนุญาต
18
การอนุญาต แสดงเครื่องหมายมาตรฐาน ทำผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
นำเข้าผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คู่มือการขอรับใบอนุญาต
19
การประกาศเป็นมาตรฐานบังคับ (ต่อ)
ผลิตภัณฑ์ที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน แยกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ โยธาและวัสดุก่อสร้าง (25) โภคภัณฑ์ (10) วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (36) วิศวกรรมของไหล (3) อาหาร (1)
20
การประกาศเป็นมาตรฐานบังคับ (ต่อ)
ผลิตภัณฑ์ที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน แยกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ (ต่อ) วิศวกรรมส่งผ่านความร้อน (2) วิทยาศาสตร์การแพทย์ (4) สีและวาร์นิช (9) วิศวกรรมเครื่องกลและยานพาหนะ (18) เคมี (1) จำนวนมาตรฐานบังคับทั้งหมด 106 มาตรฐาน ณ วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ จะมีมาตรฐานบังคับทั้งหมด 108 มาตรฐาน
21
การตรวจสอบผู้ได้รับใบอนุญาต
คู่มือผู้ซื้อ
22
การคุ้มครองผู้บริโภค
23
ผู้บริโภคกับการซื้อผลิตภัณฑ์
การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์จากร้านค้า ความเสี่ยงจากการตัดสินใจเลือกซื้อ คุณภาพ ความปลอดภัย คุ้มค่า คุ้มราคา ผลิตภัณฑ์ที่ได้เลือกซื้อมีมาตรฐานหรือไม่? แล้วจะดูจากไหน? อย่างไร? ผู้บริโภคอาจจะเป็นภาครัฐหรือเอกชน
24
กองตรวจการมาตรฐาน 1, 2 และ 3 สมอ.
การตรวจติดตามภายหลังจากได้รับใบอนุญาตตามแผนที่กำหนดไว้เพื่อยืนยันว่าผลิตภัณฑ์เป็นไปตามมาตรฐานอย่างสม่ำเสมอ การตรวจควบคุม ที่สถานประกอบการ และ การเก็บตัวอย่าง ที่ ร้านจำหน่าย การซื้อตัวอย่างจากท้องตลาด การตรวจติดตามผล ณ สถานประกอบการ การตรวจติดตาม ณ สถานที่จำหน่าย การตรวจควบคุม ไม่แจ้งล่วงหน้า มีข้อร้องเรียน มีเหตุอันควรให้มีข้อสงสัย
25
สถานการณ์ ตรวจพบผลิตภัณฑ์ที่ฝ่าฝืน พ.ร.บ.มาตรฐาน
ผู้ประกอบการ (ผู้ทำ และ ผู้นำเข้า) ร้านจำหน่าย
26
สินค้าที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน
27
สถิติการดำเนินการทางกฎหมาย
ข้อมูล : กองกฏหมายและกองบริหารยุทธศาสตร์ สมอ. ณ สิงหาคม 2559
28
สถิติข้อร้องเรียน ข้อมูล : กลุ่มช่วยอำนวยการ สล.สมอ. ณ สิงหาคม 2559
29
กระบวนการหลังการถูกจับกุม
ยึดและอายัดสินค้า นำผู้ต้องหาส่งพนักงานสอบสวน สอบสวน และ เปรียบเทียบปรับ ทำลายให้สิ้นสภาพเมื่อคดีสิ้นสุด
30
การทำลายให้สิ้นสภาพ
31
สถานการณ์ที่ต้องการความร่วมมือ
พนักงานเจ้าหน้าที่กับปริมาณงาน ผู้ทำ/ผู้นำเข้า ยังคงฝ่าฝืน ร้านจำหน่ายที่ฝ่าฝืน เราไม่ขาย เพื่อนขาย การเป็นแหล่งกระจายสินค้าที่ฝ่าฝืน ผู้บริโภคยังคงมีค่านิยมมุ่งเน้นของถูก
32
เรามาร่วมกัน ทำให้ ลดลง หรือ หมดไปได้อย่างไร?
33
มาร่วมมือกัน สร้าง “ร้าน มอก.”
34
การคุ้มครองผู้บริโภค
ผู้ทำ ผู้นำเข้า ผู้ประกอบการ (ผู้ได้รับใบอนุญาต) ร้านจำหน่าย ปคบ. สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด สคบ. สำนักงานพาณิชย์จังหวัด สำนักงานคณะอนุกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภคจังหวัด ผู้บริโภค กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
35
ผู้ประกอบการ (ผู้ทำ ผู้นำเข้า)
ทำและนำเข้าผลิตภัณฑ์ที่เป็นไปตามมาตรฐานที่ได้รับอนุญาตอย่างสม่ำเสมอ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด การแสดงเครื่องหมาย การแจ้งปริมาณการทำ/นำเข้า การเปลี่ยนแปลงต่างๆ การตอบสนองต่อข้อร้องเรียน
36
ร้านจำหน่าย ไม่วางผลิตภัณฑ์ต้องห้ามในร้านค้า
มีความรู้ ความเข้าใจรายละเอียดของผลิตภัณฑ์ที่สั่งซื้อ/รับมาวางจำหน่ายในร้านค้า สินค้าที่จำหน่ายมีการแสดงเครื่องหมายมาตรฐานครบถ้วนและถูกต้อง ให้ความร่วมมือและแจ้งเบาะแส เพื่อกำจัดผู้ผลิตที่ไม่มีมาตรฐาน ร่วมเป็นเครือข่าย และสร้างความเชื่อมั่นให้ผู้บริโภค สืบค้นหาข้อมูลยืนยัน รายละเอียดมาตรฐาน รายชื่อผู้ได้รับใบอนุญาต ขอบข่ายผลิตภัณฑ์ จาก (คู่มือผู้ซื้อ)
37
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข โครงการ “ร้าน มอก.”
Criteria and condition for “TISI Shop”
38
โครงการ “ร้าน มอก.” ส่งเสริมการคุ้มครองผู้บริโภค
เพิ่มการรับรู้และสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของเครื่องหมาย มอก. สร้างความมั่นใจให้ผู้บริโภค
39
“ร้าน มอก.” “ร้าน มอก.” หมายถึง สถานประกอบการ ร้านจำหน่ายที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เป็นไปตาม พ.ร.บ.หรือเป็นไปตามข้อกำหนดอื่นที่เกี่ยวข้อง
40
คุณสมบัติและเกณฑ์การพิจารณา
1. คุณสมบัติของ “ร้าน มอก.” เป็นร้านจำหน่ายที่มีสถานที่ตั้งในประเทศไทย และมีการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล หรือทะเบียนการค้า หรืออื่นๆ ที่เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติ โดยเป็นผลิตภัณฑ์ที่มาจากผู้ทำ หรือผู้นำเข้าที่ มีใบอนุญาตทำผลิตภัณฑ์ที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มีใบอนุญาตนำเข้าผลิตภัณฑ์ที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน กรณีจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ต้องมีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่แสดงเครื่องหมายมาตรฐานด้วย
41
คุณสมบัติและเกณฑ์การพิจารณา (ต่อ)
2 เกณฑ์การพิจารณา “ร้าน มอก.” มีการคัดเลือกผู้ทำ ผู้นำเข้า หรือผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับใบอนุญาตจากสำนักงาน มีการตรวจรับผลิตภัณฑ์เพื่อการยืนยันว่าเป็นไปตามข้อกำหนดของร้านจำหน่าย มีกระบวนการรับข้อร้องเรียน และ ดำเนินการ กับข้อร้องเรียน มีการจัดเก็บบันทึกผลการดำเนินงานตามข้อ (1) – (3)
42
ขั้นตอนการเข้าร่วมเป็น “ร้าน มอก.”
ยื่นคำขอ แบบคำขอ กรณีที่มีหลายสาขา มอบหมายคณะผู้ตรวจ บัญชีรายชื่อผู้ตรวจ ตรวจสอบ ณ ร้านจำหน่าย กรณีที่มีหลายสาขา เสนอคณะกรรมการพิจารณา ออกใบรับรอง พร้อมเงื่อนไข ใบรับรอง เข้าร่วมเป็น “ร้าน มอก”
43
เงื่อนไขสำหรับ “ร้าน มอก.”
ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขนี้ ตลอดระยะเวลาที่ร่วมเป็น “ร้าน มอก.” เข้าร่วมกิจกรรมการส่งเสริมด้านการมาตรฐานที่สำนักงานกำหนดให้เข้าร่วม ให้ความร่วมมือกับสำนักงานในการคุ้มครองผู้บริโภค ให้เบาะแสและข้อมูลที่จำเป็นในการดำเนินการกับผู้กระทำการอันเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติ
44
เงื่อนไขสำหรับ “ร้าน มอก.” (ต่อ)
อำนวยความสะดวกและให้ความร่วมมือในการตรวจติดตาม ส่งมอบบันทึกเกี่ยวกับการร้องเรียน และ ผลการดำเนินการให้สำนักงานเมื่อได้รับการร้องขอ แจ้งให้สำนักงานทราบเป็นลายลักษณ์อักษรโดยไม่ชักช้า ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสำคัญใด ๆ ที่อาจมีผลกระทบต่อการดำเนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขนี้
45
การตรวจติดตาม ได้รับการตรวจติดตามผลการดำเนินงานของ “ร้าน มอก.” อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (พิจารณาจากประวัติการดำเนินงานและข้อร้องเรียน) กรณีที่ร้านจำหน่ายมีหลายสาขา อาจจะตรวจสอบให้ครบทุกสาขาตามที่ระบุไว้ในรอบระยะเวลา 3 ปี
46
ลักษณะ การทํา และการแสดงตราสัญลักษณ์
ลักษณะ ตราสัญลักษณ์ “ร้าน มอก.”
47
ผลกระทบต่อผู้ประกอบการ
ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ถูกต้อง/ฝ่าฝืนถูกตีกลับ ไม่อยู่ในบัญชีรายชื่อผู้ส่งมอบ (Suppliers List) ได้รับการตรวจควบคุมจากหน่วยงานภาครัฐ ความสามารถในการแข่งขันลดลง ขาดข้อมูลในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ร้าน มอก.มีระบบในการคัดเลือป
48
ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น
ร่วมกันแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ผู้บริโภค : ได้รับการคุ้มครอง “คุ้มค่าปลอดภัย” ผู้ทำ/ผู้นำเข้าผลิตภัณฑ์ มอก. : ขายได้ ไม่ฝ่าฝืน พ.ร.บ.และมีฐานธุรกิจที่ยั่งยืน “ร้าน มอก.” : ซื้อสินค้ามาแล้วขายได้ ไม่ฝ่าฝืน พ.ร.บ. และ มีธุรกิจที่ยั่งยืน
49
งานเปิดตัว “ร้าน มอก.” วันที่ 2 กันยายน 2559
50
งานเปิดตัว “ร้าน มอก.” วันที่ 2 กันยายน 2559 วันที่ 2 กันยายน 2559
51
ร้านจำหน่าย งานเปิดตัว “ร้าน มอก.” วันที่ 2 กันยายน 2559 มีร้านจำหน่ายที่เข้าร่วมโครงการและเป็นไปตามหลักเกณฑ์ฯ แล้ว ร้าน Modern Trade 5 ราย ร้านจำหน่ายทั่วไป 3 ราย
52
ร้าน Modern Trade 5 ราย บริษัท เอก-ชัย ดีสทริบิวชั่น ซิสเทม จำกัด (Lotus) จำนวน 173 สาขา บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) จำนวน 98 สาขา บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) จำนวน 78 สาขา บริษัท ซีอาร์ซี ไทวัสดุ จำกัด จำนวน 42 สาขา บริษัท สยามโกลบอลเฮาส์ จำกัด (มหาชน) จำนวน 40 สาขา
53
ร้านจำหน่ายทั่วไป 3 ราย
บริษัท ไฟฟ้าชัยมงคล จำกัด เขตสัมพันธวงศ์ บริษัท ฮ.รุ่งเรืองดิจิตอล (2000) จำกัด เขตคลองเตย ร้าน ฮ.รุ่งเรือง เขตคลองเตย
54
“ร้าน มอก.” ได้รับการยกย่องเชิดชู มี CSR
ใบรับรองประกาศเกียรติคุณว่าจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน บัญชีรายชื่อ “ร้าน มอก.” ใบรับรองมีอายุ 3 ปี
55
ถาม – ตอบ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.