งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อาณาจักรโปรติสตา Kingdom Protista พิษณุ วรรณธง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อาณาจักรโปรติสตา Kingdom Protista พิษณุ วรรณธง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อาณาจักรโปรติสตา Kingdom Protista พิษณุ วรรณธง
พิษณุ วรรณธง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตแพร่เฉลิมพระเกียรติ

2 การจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็น 5 อาณาจักร (kingdom)
1.Kingdom Monera 2. Kingdom Protista 3. Kingdom Fungi 4.Kingdom Plantae 5.Kingdom Animalia Prokaryotic cell ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส Eukaryotic cell มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส

3 Prokaryptic cell, Unicellular, Heterotrphic or Autotrophic, Asexual
Kingdom Animalia Eukaryptic cell Multicellular Heterotrophic Sexual Motile Kingdom Plantae Autotrophic Non-motile Kingdom Fungi Heterotrphic absorb Kingdom Protista Eukaryptic cell, Unicellular, Heterotrphic or Autotrophic, Asexual and Sexual Kingdom Monera Prokaryptic cell, Unicellular, Heterotrphic or Autotrophic, Asexual

4

5 Endosymbiosis Model

6 อาณาจักรโปรติสตา Kingdom Protista

7 ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้ คือ
Single- celled microorganism สามารถทำกิจกรรมของชีวิต (basic function of life) ได้สมบูรณ์: กินอาหาร ขับถ่าย สืบพันธุ์ Eukaryotic cell: ขนาดยาวกว่า prokaryotic cell ~ 10 เท่า, ปริมาตรมากกว่า prokaryotic cell ~ 100 เท่า ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่อ (tissue) หรืออวัยวะ (organ) ที่ทำหน้าที่จำเพาะ เรียกสมาชิกในอาณาจักรนี้ทั่วๆไป ว่า โปรติสต์ (protists)

8 สมาชิกของอาณาจักรนี้แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ได้แก่
กลุ่ม I โปรติสต์คล้ายสัตว์ (Animal-like protists) ได้แก่ โปรโตซัว (protozoa) กลุ่ม II โปรติสต์คล้ายพืช (Plant-like protists) ได้แก่สาหร่าย (algae) กลุ่ม III โปรติสต์คล้ายเชื้อรา (Fungus-like protists) ได้แก่ ราเมือก (slime mold)

9

10 กลุ่ม I โปรติสตาคล้ายสัตว์ (Animal-like protists) ได้แก่ โปรโตซัว (protozoa)

11 ลักษณะโดยทั่วไปของโปรโตซัว
Protozoa = first animal = Protos (first) + Zoon (animal) eukaryotic cell Singled-celled โครงสร้างคล้ายกับเซลล์ของสัตว์ชั้นสูง เกือบทั้งหมดเคลื่อนที่ได้ heterotrophic organism สร้างอาหารเองไม่ได้ = ต้องหาอาหาร ด้วยวิธีการกิน (ingesting) จึงถูกเรียกว่า “Animal-like protists”

12 รูปร่างและขนาดของโปรโตซัว
โปรโตซัวมีรูปร่างและขนาดที่แตกต่างกัน ต้องศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ กลม รี หรือ ยาว มีสมมาตรแบบ bilateral symmetry 3-300 ไมครอน Amoeba proteus มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 600 ไมครอน

13 โปรโตซัวที่รู้จักกันโดยทั่วไปสังเกตว่ามีรูปร่างและขนาดที่หลากหลาย

14 เยื่อหุ้มเซลล์ อยู่นอกสุด ส่วนมากมีชั้นเดียว อ่อนนุ่ม
ยอมให้สารบางอย่างผ่านเข้า-ออกได้ (semipermeable membrane) บางชนิดอาจมีสารอื่นๆ มาห่อหุ้ม เพื่อความแข็งแรงและคงตัว พบได้หลายแบบ เช่น เพลลิเคิล (pellicle) เชลล์และเทส (shell and test)

15 เยื่อหุ้มเซลล์แต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติต่างกัน ทำให้โปรโตซัวแต่ละชนิดมีรูปร่าง และความแข็งแรงของผนังเซลล์ต่างกันไปด้วย Amoeba ผนังเซลล์เป็นเพลลิเคิล Difflugia เยื่อหุ้มเซลล์เป็นเชลล์และเทส มีสสารอย่างอื่นมาปะติด

16 ไซโตพลาสซึม ส่วนมากใส ไม่มีสี แต่มีความหนืด มีออร์แกเนลล์ที่ทำหน้าที่
ต่างๆ ล่องลอยอยู่ เช่น endoplasmic reticulum, ribosome, lysosome, golgibody, mitochondria ฯลฯ food vacuole - เก็บอาหาร contractile vacuole – ควบคุมปริมาณน้ำในเซลล์ สารภายในเซลล์ เก็บในรูปผลึก, เม็ด, หยดน้ำมัน

17 นิวเคลียส โดยทั่วไปโปรโตซัวจะมีนิวเคลียส 1 อัน (เป็นอย่างน้อย)
มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส มีหลายแบบต่างกันทั้งจำนวน รูปร่าง และขนาด ภายในบรรจุสารพันธุกรรมอยู่

18

19 การดำรงชีวิตของโปรโตซัว
ที่อยู่อาศัยของโปรโตซัว โปรโตซัวสามารถแพร่กระจายตามที่ต่างๆได้ดี ทั้งน้ำจืด น้ำเค็ม ในดิน หรือร่างกายของสิ่งมีชีวิตอื่น การดำรงชีวิตของโปรโตซัว โปรโตซัวดำรงชีวิต 2 แบบคือ ดำรงชีวิตด้วยตนเอง (free living) เป็นส่วนมาก ดำรงชีวิตร่วมกับสิ่งมีชีวิตอื่น (symbiosis)

20 ดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยตนเอง
พบทั้งแบบอยู่เดี่ยวๆ หรืออยู่กันเป็นกลุ่ม เนื่องจากส่วนมากพบในน้ำ บางครั้งจึงถูกเรียกว่า แพลงก์ตอนสัตว์ (zooplankton) เป็นอาหารของสัตว์น้ำขนาดเล็ก

21 ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
มีหลายลักษณะ ได้แก่ 1. แบบพึ่งพาอาศัยกัน โปรโตซัวและสิ่งมีชีวิตที่ถูกอาศัยต่างได้ประโยชน์ทั้งคู่ ความสัมพันธ์ เป็น +,+ Trichonympha ในลำไส้ปลวก Entamoeba ginggivalis อาศัยบริเวณคอฟันในปากคน อมีบากับสาหร่ายสีเขียว

22 อะมีบาและสาหร่ายสีเขียวได้ประโยชน์ร่วมกันทั้งสองฝ่าย

23 2. แบบอิงอาศัย โปรโตซัวได้ประโยชน์ ส่วนผู้ถูกอาศัยไม่ได้และไม่เสียประโยชน์
ความสัมพันธ์เป็น +,0 Entamoeba coli เป็นโปรโตซัวในลำไส้มนุษย์ ได้รับ อาหารจากมนุษย์ โดยไม่ทำอันตรายแก่มนุษย์

24 3 แบบปรสิต โปรโตซัวได้ประโยชน์ แต่ผู้ถูกอาศัยเสียประโยชน์
ความสัมพันธ์เป็น +,- Plasmodium อาศัยในเม็ดเลือดแดงของคน ทำให้เป็นโรคมาลาเรีย Entamoeba histolytica ในลำไส้คน ทำให้เกิดโรคบิด

25 โรคบิดมีตัว การดำรงชีวิตแบบปรสิตของ Entamoeba histolytica อาศัยอยู่ในลำไส้ใหญ่ของคน เจาะลำไส้ กินเม็ดเลือดเป็นอาหาร ทำให้มีเลือดออกปวดท้องและท้องร่วงอย่างรุนแรง

26 การกินอาหารของโปรโตซัว
ส่วนมากคล้ายพวกสัตว์ มีการเคลื่อนไหวเพื่อจับกินเหยื่อ ย่อยด้วยเอ็นไซม์ แล้วจึงดูดซึม เช่น อมีบา Phagocytosis และ pinocytosis ในกลุ่มที่ไม่มีการเคลื่อนที่ จะดำรงชีวิตด้วยการดูดซึมสารอินทรีย์ จากซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อย หรือจาก host มักพบในโปรโตซัวที่เป็นพวกปรสิต

27 Membrane ยุบตัวลงเกิดเป็นถุง
Pinocytosis Membrane ยุบตัวลงเกิดเป็นถุง Phagocytosis ใช้ขาเทียมโอบล้อมอาหาร

28 การหายใจและขับถ่ายของโปรโตซัว
เนื่องจากเซลล์เดียว, ขนาดเล็ก ผิวของเซลล์จึงสัมผัสอยู่กับสิ่งแวดล้อม (ส่วนใหญ่เป็นน้ำ) อยู่ตลอดเวลา การหายใจ: ส่วนใหญ่ก๊าซทั้ง O2 และ CO2จะแพร่และเคลื่อนเข้า-ออกผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ การขับถ่ายของเสีย จากกระบวนการเมตาบอลิซึม ของเหลวแพร่ผ่านออกทางเยื่อหุ้มเซลล์ ของแข็งจะใช้ vacuole

29 ภาพแสดงส่วนต่างๆ ของ Paramecium
สังเกต Mouth groove และAnal pore

30 การเคลื่อนที่ของโปรโตซัว
เคลื่อนที่โดยใช้ขาเทียม เคลื่อนที่โดยใช้แฟลกเจลลา เคลื่อนที่โดยใช้ซิเลีย

31 การสืบพันธุ์ของโปรโตซัว
โปรโตซัวทุกชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบ ไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) วิธีแบ่งตัวเป็นสอง (binary fission) บางชนิดสามารถแบ่งตัวแบบ Multiple fission วิธีสร้างสปอร์ด้วยการแบ่งนิวเคลียสหลายๆครั้ง โปรโตซัวส่วนน้อยมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) ด้วยวิธี Conjugation

32 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction)
ด้วยวิธีแบ่งตัวเป็นสอง (binary fission)

33 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction)
ด้วยวิธีสร้างสปอร์ของ Plasmodium

34 การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) ด้วยวิธี conjugation
มีการรวมกันของสารพันธุกรรมจาก mating strain ที่ต่างกัน

35 การจัดจำแนกหมวดหมู่ โปรโตซัวเเบ่งได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ โดยใช้โครงสร้างที่ใช้ในการ เคลื่อนที่เป็นเกณฑ์ Mastigophora 2. Sarcodina 3. Ciliophora 4. Sporozoa

36 Mastigophora: กลุ่มที่ใช้แฟลกเจลลาในการเคลื่อนที่
ไม่มีผนังเซลล์ (cell wall) มักพบในน้ำจืด ดำรงชีวิตแบบ free living, synbiotic, parasitic ใช้เเฟลกเจลลา ( flagella ) ในการเคลื่อนที่และหาอาหาร แฟลกเจลลามีลักษณะคล้ายแส้เป็นเส้นยาว มี 1 เส้น หรือ มากกว่า (แต่ไม่มาก)

37 ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตกลุ่ม Mastigophora

38 Trypanosoma brucei มี flagella หลายเส้นช่วยในการ เคลื่อนที่
ก่อโรค African sleeping sickness กับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีแมลง testie fly เป็นพาหนะนำโรค สร้างสารพิษ ที่ทำลายเม็ดเลือดแดง ทำให้ผู้ป่วยอ่อนแอ ถ้ารักษาไม่ทัน จะเข้าทำลายระบบประสาท และตายในที่สุด

39

40 Ciliata: กลุ่มที่ใช้ซิเลียในการเคลื่อนที่
2. ไม่มีผนังเซลล์ มีนิวเคลียส 2 ชนิด พบทั้งน้ำจืด และน้ำเค็ม ส่วนใหญ่ดำรงชีวิตแบบอิสระ บางชนิดเป็นปรสิต (parasitic) เคลื่อนที่ และอาหารด้วยซิเลีย ( cilia ) ซึ่งเป็นขนเส้นสั้นๆ มี จำนวนมาก พบได้ในหลายตำแหน่ง

41 Vorticella Paramecium Stentor

42 Paramecium มีออร์แกเนลล์ค่อนข้างสมบูรณ์ มีนิวเคลียส 2 อัน
เยื่อหุ้มเซลล์ใส ยืดหยุ่นได้ดี เป็นโปรตีนเรียก pellicle ใช้ซิเลียโบกพัดหาอาหารระหว่างที่ว่ายน้ำไปด้วย อาหาร คือ สาหร่ายและแบคทีเรีย จะถูกเก็บและย่อยในถุง เรียก food vacuole Contractile vacuole ปั๊มน้ำส่วนเกินออกทิ้งนอกเซลล์

43 สืบพันธุ์ Asexual Sexual Macronucleus ช่วยควบคุมการทำงานของเซลล์ทั้งหมด Micronucleus ควบคุมการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ บรรจุสารพันธุกรรม

44 Sarcodina: กลุ่มที่เคลื่อนที่ด้วยเท้าเทียม
3.ไม่มีผนังเซลล์ บางชนิดหลั่งสาร เช่น ซิลิกา หรือหินปูนออกมาหุ้ม ตัวเอง พบในน้ำจืด น้ำเค็ม ดิน โคลน หิน ในบึงหรือลำธารที่น้ำค่อนข้างตื้น เคลื่อนที่และหาอาหารด้วยเท้าเทียม ( Pseudopodium )

45 Difflugia Amoeba

46 Amoeba เคลื่อนที่ด้วยขาเทียม (psuedopodium) ที่เกิดจากการไหลของไซโตพลาสซึม เรียกการเคลื่อนที่แบบนี้ว่า ameboid movement ใช้ขาเทียมในการหาอาหารด้วย โดยใช้ขาเทียมโอบล้อมอาหารเข้าสู่เซลล์ เพื่อ สร้าง food vacuole ย่อยด้วยเอนไซม์ แล้วจึงดูดซึม

47

48 Sporozoa 4. กลุ่มที่ไม่เคลื่อนที่ สมาชิกทั้งหมดดำรงชีพเเบบปรสิต
Spore-forming parasitic protozoans หายใจและขับถ่ายโดยการแพร่ ช่วงต้นของชีวิตเคลื่อนที่ได้ด้วยแฟลกเจลลา เช่น พลาสโมเดียม (Plasmodium) ที่เป็นสาเหตุของโรคไข้ มาลาเรีย, Monocystis, Toxoplasma

49 ยุงกัดคน แล้วปล่อย sporozoites เข้าเส้นเลือด แล้วเข้าสู่ตับ
พัฒนาเป็น merozoites แบ่งตัว เข้าทำลายเม็ดเลือดแดง หนาว มีไข้ บางส่วนแฝงอยู่ในเม็ดเลือด พัฒนาไปเป็น gametozoites ยุงกัดคนเป็นโรค นำ gametozoites ติดไปด้วย Sperm + egg = zygote Zygote แบ่งตัวเป็น sporozoites Plasmodium ก่อโรคมาลาเรีย ร้ายแรง หนาวสั่น มีไข้ เหงื่อออก ปวดเมื่อย กระหายน้ำ ตายถึง 2.7 ล้านคน/ปี รักษาด้วยยาควินิน

50 ความสำคัญของโปรโตซัว
1. ควบคุมสมดุลธรรมชาติ โดยกินแบคทีเรีย เชื้อรา หรือโปรโตซัวขนาดเล็ก ขณะเดียวกันก็เป็นอาหารของสัตว์น้ำอื่น เช่น ลูกกุ้ง ลูกปลา และย่อยสลายสารอินทรีย์ในดิน ช่วยให้ดินสมบูรณ์ 2. ก่อให้เกิดโรคกับมนุษย์และสัตว์ เช่น มาลาเรีย บิดมีตัว โรคเหงาหลับ 4. โปรโตซัวเป็นดัชนีชี้สภาวะบางอย่าง (bioindicator)

51 กลุ่ม II โปรติสตาคล้ายพืช (Plant-like protists) ได้แก่ สาหร่ายเซลล์เดียว (unicellular algae)

52 ลักษณะโดยทั่วไปของสาหร่าย
สร้างอาหารได้เอง = Autotrophic organism เพราะมีรงควัตถุ สำหรับใช้ในการสังเคราะห์แสง พบทั้งแบบเซลล์เดียว (unicellular) และหลายเซลล์ (multicellular) ขนาดตั้งแต่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าจนถึงขนาดใหญ่ มีความยาวหลายร้อยเมตร ไม่มีราก ลำต้น ใบที่แท้จริง

53

54 การจำแนกหมวดหมู่ การจำแนกหมวดหมู่ของสาหร่าย แบ่งได้เป็น 9 ดิวิชัน โดย พิจารณาจาก ความแตกต่างของรงควัตถุ ทั้งชนิด และปริมาณ อาหารสะสมหรือผลผลิตจากการสังเคราะห์แสง องค์ประกอบของผนังเซลล์ ลักษณะรูปร่างและการจัดระเบียบของเซลล์ วงชีวิต โครงสร้างและวิธีในการสืบพันธุ์

55 การจำแนกหมวดหมู่ของสาหร่าย แบ่งได้เป็น 9 ดิวิชัน
Division Chlorophyta Division Charophyta Division Phaeophyta Division Rhodophyta Division Cyanophyta Division Euglenophyta Division Chrysophyta Division Pyrrhophyta Division Cryptophyta

56 Division Cyanophyta Kingdom Monera Division Euglenophyta Division Chrysophyta Division Pyrrhophyta Division Cryptophyta Kingdom Protista Division Chlorophyta Division Charophyta Division Phaeophyta Division Rhodophyta Kingdom Plantae

57 ลักษณะของสาหร่าย (ที่มีคุณสมบัติเป็นสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโปรติสตา)
ลักษณะของสาหร่าย (ที่มีคุณสมบัติเป็นสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโปรติสตา) Single-celled Eukaryotic cell Autotorphic สร้างอาหารเองได้ เพราะมีรงควัตถุ คือคลอโรฟิลล์ มักพบโครงสร้างที่เรียกไพรีนอยด์:สร้างและสะสมแป้ง ถูกเรียกว่า “plant-like protists”

58 เกือบทั้งหมดอยู่ในน้ำ และมักเคลื่อนที่ได้ โดยใช้แฟลกเจลลา จึงมักถูกเรียกว่า แพลงก์ตอนพืช (phytoplankton) เนื่องจากมีรงควัตถุในเซลล์ จึงมองเห็นเซลล์มีสีสัน เช่น สีเขียว สีน้ำตาล สีเหลืองเหลือง เป็นต้น

59 เมื่อพิจารณาตามคุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต ในอาณาจักรโปรติสตาแล้ว
โปรคารีโอต โปรคารีโอต มีหลายเซลล์ มีหลายเซลล์

60 สาหร่าย 4 ดิวิชันต่อไปนี้เท่านั้น ที่เป็นสมาชิกในอาณาจักรโปรติสตา
Division Euglenophyta Division Chrysophyta Division Pyrrhophyta Division Cryptophyta

61 ดิวิชันยูกลีโนไฟตา/Division Euglenophyta
เรียกทั่วไปว่า “ยูกลีนอยด์” เซลล์ขนาดเล็ก ไม่มีผนังเซลล์ แต่มีเยื่อหุ้มเซลล์ที่แข็งแรง ยืดหยุ่น ประกอบด้วยโปรตีนที่เรียก pellicle มี คลอโรฟิลล์ a, b, beta-carotene, อาหารสะสมเป็นแป้งเก็บอยู่ในโครงสร้างที่เรียก pyreniods มีแฟลกเจลลา 1-3 เส้น บางชนิดพบมากถึง 7 เส้น มี eye spot สำหรับรับแสง

62 สมาชิกที่สำคัญ ได้แก่ Euglena, Phagus, Trachelomonas เป็นต้น
พบทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม น้ำกร่อยและที่ชื้นแฉะ โดยเฉพาะบริเวณที่มีสารอินทรีย์สูง (น้ำค่อนข้างสกปรก) สืบพันธุ์ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ สมาชิกที่สำคัญ ได้แก่ Euglena, Phagus, Trachelomonas เป็นต้น

63 Euglena Phagus Trachelomonas

64 ตัวอย่างโครงสร้างของ ยูกลีนอยด์
ตัวอย่างโครงสร้างของ ยูกลีนอยด์

65 สาหร่ายบลูม (algal bloom)
สาหร่ายเจริญอย่างรวดเร็ว เนื่องจากสารอาหารในน้ำสูง ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศในน้ำ

66

67 ดิวิชันคริโซไฟตา/Division Crysophyta
สมาชิกมี 3 กลุ่มย่อย ได้แก่ ไดอะตอม (diatom ) ซึ่งมีสมาชิกมากที่สุด สาหร่ายสีน้ำตาลเเกมทอง (golden - brown algae)

68 มีลักษณะสำคัญโดยรวม คือ
มีคลอโรฟิลล์ a และ c มีแคโรทีนอยด์และแซนโทฟิลล์มาก จึงเห็นเป็นสีน้ำตาลหรือเหลืองแกมเขียว ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลส และเพคติน อาหารสะสมเป็นน้ำมัน พบทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม มีแฟลกเจลลา 1เส้น หรือมากกว่า ไม่พบแฟลกเจลลาในกลุ่มไดอะตอม (diatom) ไม่มี

69 กลุ่มไดอะตอม (diatom)
1. ผนังเซลล์เป็น 2 ฝา (frustule or valve) ประกบกันอย่างสมมาตร 2. มีสารซิลิกามาสะสมทำให้เกิดเป็นลวดลายสวยงาม 3. มีรูปร่างหลากหลาย 4. การสืบพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศฆ 5. พบมากทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม ในรูปแบบยึดเกาะและแพลงก์ตอน สมาชิกที่สำคัญได้แก่ Navicula, Melosira เป็นต้น

70

71 ประโยชน์ของไดอะตอม เป็นเเหล่งผลิตออกซิเจนจำนวนมากให้ระบบนิเวศ ซากของไดอะตอมที่ตายทับถมอยู่ใต้พื้นน้ำนับพันปี เป็นเเห ล่งรวมของเเร่ธาตุเเละน้ำมัน บางเเห่งเป็นภูเขาใต้น้ำเรียกว่า ไดอะโทมาเชียสเอิร์ท ( diatomaceous earth ) สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ทำ เครื่องกรองของเหลว เป็นส่วนผสมของยาขัดโลหะ ยาสีฟัน เครื่องสำอาง เเละใช้ทำฉนวนกับความร้อนในตู้เย็น เตาอบ

72 กลุ่มสาหร่ายสีน้ำตาลเเกมทอง (golden - brown algae)
สมาชิกน้อย พบได้ยาก พบทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม สาหร่ายเเซลล์เดียว มีแฟลกเจลลาใช้เคลื่อนที่ หลายชนิดไม่มีผนังเซลล์ การสืบพันธุ์ แบบไม่อาศัยเพศ - - binary fission และสร้างสปอร์ แบบอาศัยเพศ - - สร้งเซลล์สืบพันธุ์มาผสมกัน สมาชิกที่สำคัญได้แก่ Ocrhomonas, Synura และ Dinobryon

73 Mallomonas Synura Dinobryon

74 ดิวิชันไพโรไฟตา/ Division Pyrrhophyta
มีชื่อเรียกทั่วไปว่า dinoflagellate มีแฟลกเจลลา 2 เส้น ที่ผนังเซลล์มีร่อง 2 ร่องและมีแฟลกเจลลายื่นออกมาร่องละ 1 เส้น ส่วนมากเป็นเซลล์เดียว รูปร่างหลากแบบ ผนังเซลล์เป็น plate แข็งแรง รงควัตถุสำคัญ ได้แก่ คลอโรฟิลล์ a และ c , carotenoids อาหารสะสมเป็นแป้งหรือน้ำมัน

75 93 % พบในน้ำเค็ม เมื่อบลูมในทะเล ทำให้เกิดปรากฏการณ์น้ำแดง (red tide) ปรากฏการเรืองแสง การสืบพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศ สมาชิกที่สำคัญได้แก่ Ceratium, Peridinium, Gymnodinium

76

77 ปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ หรือ red tide
เกิดจาก Gymnodinium และ Gonyaulax สร้างพิษที่มีผลกับระบบประสาททำให้สัตว์น้ำหรือคนตายได้

78 ดิวิชันคริพโตโมแนส/ Division Cryptomonas
ทั่วไปเรียก”คริพโตโมแนดส์” รงควัตถุ ได้แก่ คลอโรฟิลล์ a และ c, carotenoid, xanthophyll เป็นต้น ว่ายน้ำเป็นอิสระ ด้วยแฟลกเจลลา 2 เส้น ยาวไม่เท่ากัน มักพบด้านข้าง เซลล์มีหลายสี: เขียว, เขียวมะกอก, ฟ้า, น้ำตาล, แดง หรือไม่มีสี

79 อาหารสะสมเป็นแป้งเก็บไว้ที่ไพรีนอยด์
ดำรงชีวิตแบบ heterotrophic และ autotrophic อาหารสะสมเป็นแป้งเก็บไว้ที่ไพรีนอยด์ เซลล์จะมีลักษณะแบนข้าง หรือแบนจากบนลงล่าง มีเข็มพิษ ตัวอย่างสมาชิก เช่น Cryptomonas, Rhodomonas, Chilomonas

80 Division Pigment อาหารสะสม Cell wall flagellum Habitat ดำรงชีวิต
Euglenophyta Chlo a, b carotene xanthophyll paramylon absent 1-3 (7) น้ำจืด น้ำกร่อย น้ำเค็ม พื้นดิน แพลงก์ตอน ผิวทราย Crysophyta Chlo a, c beta-alfa-carotene crysolaminarin Cellulose Silica calcium 1-2 น้ำเค็ม พื้นดิน เกาะพื้น Pyrrhophyta แป้ง และน้ำมัน เซลลูโลส หรือไม่มี 2 Cryptophyta Xanthophyll** Floridian starch เซลลูโลส ไซแลน

81 ความสำคัญของสาหร่าย ในระบบนิเวศ สาหร่าย เป็นผู้ผลิตเบื้องต้น (primary producer) สังเคราะห์แสงแล้วให้ออกซิเจนกับสิ่งแวดล้อม เป็นอาหารของสัตว์น้ำและลูกสัตว์น้ำต่างๆ เช่น ลูกกุ้ง ลูกปลา หอย ความสำคัญด้านเภสัชกรรม ความสำคัญด้านการศึกษาและทดลองทางวิทยาศาสตร์

82 ความสำคัญในการบำบัดน้ำเสีย ลดสารอินทรีย์ และเพิ่มออกซิเจน
ทำให้เกิดมลภาวะ - - สาหร่ายบลูม

83 กลุ่ม III โปรติสตาคล้ายเชื้อรา (Fungus-like protista)
ได้แก่ ราเมือก (mold) และ ราน้ำ (water mold)

84 ลักษณะโดยทั่วไป ราชั้นต่ำ มีสมาชิกไม่มาก มีขนาดเล็ก มักพบในที่ชื้นแฉะ
ปัจจุบันนิยมจัดไว้ใน Kingdom Fungi สร้างอาหารเองไม่ได้ ปล่อยเอ็นไซม์ออกไปย่อยสลายซากพืช แล้วดูดซึมสารอินทรีย์เข้าสู่เซลล์ กินอาหาร ด้วยวิธี phagocytosis มีเส้นใยคล้ายรา และมักมีสีสันสดใส บางช่วงของชีวิตเคลื่อนที่ได้

85 ราเมือก หรือ Slime Molds
พบลักษณะเมือก มันวาว สีเหลือง ขาว หรือแดง จับกินสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กกว่า + ย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ พบในที่ชื้นแฉะ เช่น กองไม้ผุ ๆ ใบไม้ที่ทับถมกันนาน ทำหน้าที่เป็นผู้ย่อยสลาย (decomposer) ในระบบนิเวศ เช่น

86

87 เซลล์ปกติเคลื่อนที่ได้ คล้ายอะมีบา เรียก plasmodium
ภาวะขาดแคลน plasmodium จะพัฒนาเป็น fruiting body ที่สร้างอับสปอร์ เมื่ออับสปอร์แตก สปอร์งอกส่วนที่คล้ายวุ้นหรือเมือก เรียก swarm cell ซึ่งเป็นแกมมีตที่มี flagella เมื่อผสมกันจะกลายเป็น zygote ซึ่งจะพัฒนาไปเป็น plasmodium อีกครั้ง

88

89


ดาวน์โหลด ppt อาณาจักรโปรติสตา Kingdom Protista พิษณุ วรรณธง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google