ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กรอบความร่วมมืออาเซียน สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
พันตำรวจโท สุทธิชัย สงค์อนุกูล อาจารย์ (สบ 3) (ทนท.อาจารย์วิชาทั่วไป) กอจ บช.ศ.
2
Outline อาเซียนคืออะไร ASEAN Community และASEAN Charter
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ASEAN กับความร่วมมือทั้งในและนอก ASEAN บทบาทตำรวจไทยในอาเซียน ประเด็นท้าทาย ASEAN Conclusions
3
วัตถุประสงค์ หลักการ และประเด็นท้าทาย
อาเซียนคืออะไร วัตถุประสงค์ หลักการ และประเด็นท้าทาย 3
6
Overview Bangkok Declaration
ก่อตั้งขึ้นปี ประกอบด้วย 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย (2510) มาเลเซีย (2510) ฟิลิปปินส์ (2510) สิงคโปร์ (2510) และ ไทย (2510) ต่อมาเพิ่มอีก 5 ประเทศ บรูไน (2527) เวียดนาม (2538) ลาว (2540) พม่า (2540) กัมพูชา (2542) รวมเป็น 10 ประเทศ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไน (2527) เวียดนาม (2538) ลาว+พม่า (2540) กัมพูชา (2542) 8 August1967 ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration)
7
วัตถุประสงค์ของอาเซียน
ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก ธำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก และองค์การระหว่าง ประเทศต่างๆ
8
หลักการพื้นฐานของอาเซียน
การตัดสินใจโดยใช้ฉันทามติ (Consensus) การไม่แทรกแซงในกิจการภายในของกันและกัน (Non-interference) การร่วมมือเพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชน (Prosperity)
9
Why ASEAN? 4.46 million km2 3% of the total land area of Earth
10
Why ASEAN? 626 million people 8.8% of the world population.
11
its combined nominal GDP in 2015
Why ASEAN? USD $2.65 trillion its combined nominal GDP in 2015
12
Why ASEAN? If ASEAN were a single country, it would rank as the 7th largest economy in the world and the 3rd largest in Asia in terms of nominal GDP By 2050, ASEAN will be the 4th largest world economic powerhouse
13
10 countries 626 2.65 ประชาคมอาเซียน
เป้าหมายหลักในการก่อตั้งประชาคมอาเซียน 10 countries Single Market and Production Base (ตลาดและแหล่งผลิตเดียวกัน) Bargaining Power (อำนาจการต่อรองทางเศรษฐกิจและการเมือง) ประชาคมอาเซียน 626 M people Free Flows (การไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน แรงงานมีฝีมือ และ เงินทุน) การรวมกลุ่มประเทศอาเซียน 10 ประเทศ ประชกรรวมกัน 626 ล้านคน เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจเกิดเงินทุนหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจอาเซียนกว่า 2.65 ล้านล้านบาท ทำให้เกิดอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจและการเมืองกับชาติมหาอำนาจของโลก การรวมตัวทางเศรฐกิจอาเซียน เกิด ตลาดเดียว และฐานการผลิตเดียว (single market and production base) อันจะทำให้ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่ง - เกิดการไหลเวียนของสินค้าอย่างเสรี - การไหลเวียนของการค้าภาคบริการอย่างเสรี - การไหลเวียนของการการลงทุนอย่างเสรี - การไหลเวียนของเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น (freer flow of capital) ซึ่งการไหลเวียนของเงินทุนนี้ ไม่ใช้คำว่า free แต่ใช้คำว่า freer ซึ่งหมายถึง มีเสรีมากขึ้น แต่ยังไม่เสรี 100% - การไหลเวียนของแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี (free flow of skilled labor) โดยจะมีการเปิดเสรีในการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือ อันได้แก่ แพทย์ พยาบาล วิศวกร สถาปนิก บัญชี เป็นต้น 2.65 T US $
15
Takeshima/ Dokdo Senkaku/ Diaoyu
16
Global Challenges Chinese New Normal and One-Belt, One-Route Policy
US Pivot Policy Rebalancing Signs of recovery in Eurozone area but facing some challenges, Greece, UK Referendum, Migrant workers No major outcomes from the WTO negotiations, except for trade facilitations Trade Initiatives: TPP, TTIP, RCEP and the Implications on ASEAN
18
One Belt, One Road 一带一路 (Yídài yílù)
20
(ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยแนวปฏิบัติทะเลจีนใต้)
1971 Zone of Peace, Freedom and Neutrality Declaration (ZOPFAN) (ปฏิญญาว่าด้วยการกำหนดให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นเขตสันติภาพ เสรีภาพ และความเป็นกลาง) 1976 Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia (TAC) (สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) 1976 Declaration of ASEAN Concord (ปฏิญญาว่าด้วยความสมานฉันท์ของอาเซียน) 1992 ASEAN Declaration on the South China Sea (DOC) (ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยแนวปฏิบัติทะเลจีนใต้) 1997 The Southeast Asia Nuclear-Weapon-Free Zone (SEANWFZ) (สนธิสัญญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) 3.การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่ชะอำ หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่ 1 มีนาคม 2552 ผู้นำอาเซียนได้ลงนาม “ปฏิญญาชะอำ หัวหิน” ว่าด้วยแผนงานจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ค.ศ ) เพื่อจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายในปี 2558
21
บทบาทสำคัญของไทยในอาเซียน
ไทยเป็น 1 ใน 5 ประเทศสมาชิกผู้ก่อตั้งอาเซียน (อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ) ไทยผลักดันให้มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) เมื่อปี 2535 ไทยก่อตั้งการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ARF) เมื่อปี 2537
22
บทบาทสำคัญของไทยในอาเซียน (ต่อ)
ผลักดันการจัดทำกฎบัตรอาเซียน ริเริ่มการจัดตั้ง ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights (AICHR) ส่งเสริมเรื่อง Chiang Mai Initiative Multilateralization (การจัดทำสำรองแลกเปลี่ยนเงินต่างประเทศ เพื่อเป็นกลไกความร่วมมือทางการเงินที่ช่วยเสริมสร้างสภาพคล่องระยะสั้นในภูมิภาค) ริเริ่มเรื่อง enhanced ASEAN Connectivity ส่งเสริมเรื่องการศึกษาและความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียน
23
ประโยชน์ที่ไทยได้จากอาเซียน
เป็นกลไกสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ รักษาสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจของไทย เพิ่มโอกาสการค้าและการลงทุน กระตุ้นให้เกิดการพัฒนา ร่วมกันพัฒนาเครือข่ายความเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐาน ร่วมมือกันรับมือกับภัยคุกคามและความท้าทายต่างๆ เช่น โรคระบาด ภัยพิบัติทางธรรมชาติ อาชญากรรมข้ามชาติ ปัญหาหมอกควัน
24
ประเด็นท้าทายของอาเซียน
ความแตกต่างด้านเชื้อชาติ ศาสนา ระดับการพัฒนา การพัฒนา โครงสร้างสถาบัน การแข่งขันประเทศมหาอำนาจ ประชาคมอาเซียน การแข่งขันเพื่อแย่งชิงทรัพยากร ตลาด การลงทุน ขาดความไว้เนื้อเชื่อใจ ความขัดแย้งในอดีต ผลประโยชน์ของชาติ กับ ภูมิภาค
25
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
26
ASEAN Economic Community
ASEAN Today The ASEAN Charter was signed on 20 November 2007. ASEAN Security Community (ASC) ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) ASEAN Economic Community (AEC) ASEAN COMMUNITY 2015
27
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
ในระหว่างการประชุมผู้นำอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อ 20 พ.ย ผู้นำอาเซียนได้ลงนามกฎบัตรอาเซียน ซึ่งเป็นเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร โดยมีเป้าหมาย 3 ประการ คือ - มีกฎกติกาในการทำงาน (Rules-based) - มีประสิทธิภาพ - มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีผลใช้บังคับเมื่อ 15 ธ.ค. 2551 27
28
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
ในแง่กฎหมาย : ธรรมนูญ (Constitution) เป็นการก่อตั้ง ASEAN ให้เป็นองค์การระหว่างประเทศ ยืนยันการมีนิติฐานะของ ASEAN meทำให้ ASEAN เป็น Rules Based Organization การจัดโครงสร้างภายใน ASEAN
29
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
ในแง่การเมือง ระบุหลักการสำคัญ อาทิ การไม่แทรกแซงกิจการภายใน, เคารพในอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดน, การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี เป็นต้น หลักฉันทามติ Consensus
30
ASEAN Community Model หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม One Vision, One Identity, One Community มีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคง ปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน ประชาคมการเมืองและความมั่นคง (ASEAN Political and Security Community) เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับภายนอกและบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนาของประเทศสมาชิก เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community) เป็นเอกภาพ มีอัตลักษณ์ เป็นสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ควบคุมอาชญากรรมข้ามชาติ และร่วมมือกันบริหารจัดการภัยพิบัติ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community) ประชาคมการเมืองและความมั่นคง (ASEAN Security Community) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Social Cultural Community) ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community) One Vision, One Identity, One Community ประชาคมการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน (ASEAN Security Community) เป็นหนึ่งในสามเสาความร่วมมือสำคัญของประชาคมอาเซียน ที่จะช่วยเสริมสร้างความมีเสถียรภาพทางการเมืองของภูมิภาคอันถือเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาด้านต่าง ๆ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ 1.สร้างกฎเกณฑ์ บรรทัดฐาน ค่านิยม และแนวปฏิบัติร่วมกันของอาเซียนในด้านต่าง ๆ ร่วมกัน 2.เสริมสร้างขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคงในรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่บนพื้นฐานของการมีความมั่นคงของมนุษย์ 3.มีพลวัตรละปฏิสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นและสร้างสรรค์กับประชาคมโลก โดยให้อาเซียนมีบทบาทนำในภูมิภาค มุ่งให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอำนวยความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน (ตลาดเดียว และฐานการผลิตเดียว (single market and production base) อันจะทำให้ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่ง และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้เพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชนในประเทศอาเซียน และการที่เราจะมีตลาดเดียว จะมีการไหลเวียนของปัจจัยต่างๆอย่างเสรี คือ การไหลเวียนของสินค้าอย่างเสรี การไหลเวียนของการค้าภาคบริการอย่างเสรี การไหลเวียนของการการลงทุนอย่างเสรี การไหลเวียนของเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น (freer flow of capital) ซึ่งการไหลเวียนของเงินทุนนี้ ไม่ใช้คำว่า free แต่ใช้คำว่า freer ซึ่งหมายถึง มีเสรีมากขึ้น แต่ยังไม่เสรี 100% การไหลเวียนของแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี (free flow of skilled labor) โดยจะมีการเปิดเสรีในการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือ อันได้แก่ แพทย์ พยาบาล วิศวกร สถาปนิก บัญชี เป็นต้น ซึ่งหมายความว่า แรงงานไร้ฝีมือ (unskilled labor) ยังไม่เปิดเสรี เหตุผล คือ เราเห็นภาพอยู่ในขณะนี้ว่า ประเทศไทยไม่ได้เปิดเสรีให้คนงานพม่าเข้ามาทำงานในประเทศ แต่ก็มีการลักลอบแอบเข้ามาทำงาน จำนวนก็คงจะหลายล้านคนที่แอบทำงานอยู่ในไทยอย่างผิดกฎหมาย เพราะฉะนั้น จะเกิดอะไรขึ้น หากมีการเปิดเสรีในเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงานไร้ฝีมือ ก็คงจะทะลักเข้ามา คราวนี้คงจะไม่ใช่ 3-4 ล้านคน แต่อาจจะเป็น 10 ล้านคน จากพม่า กัมพูชา และลาว เพราะฉะนั้น ไทยก็ไม่พร้อมในการเปิดเสรีการเคลื่อนย้ายแรงงานไร้ฝีมือ สิงคโปร์ มาเลเซีย บรูไน ก็ไม่พร้อม ปัญหาตรงนี้ คือ ถ้าระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจไม่ต่างกันมาก ก็คงจะไม่ทะลัก แต่ในอาเซียน ช่องว่างระหว่างประเทศรวยกับประเทศจน ห่างกันมาก ดังนั้น หากมีการเปิดเสรี คนจนในประเทศจน จะทะลักเข้าไปสู่ประเทศรวย เพื่อที่จะหางานที่ดีกว่า ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม(ASEAN Social Cultural Community) มีเป้าหมายหลักเพื่อทำให้อาเซียนเป็นสังคมที่สมาชิกมีความเอื้ออาทรต่อกัน ประชากรมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี ได้รับการพัฒนาในทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม (social security) โดยเน้นการส่งเสริมความร่วมมือในด้านต่าง ๆ อาทิ 1) การพัฒนาสังคม โดยการยกระดับความเป็นอยู่ของผู้ด้อยโอกาสและผู้ที่อาศัยในถิ่นทุระกันดาร และส่งเสริมการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันของกลุ่ม ต่าง ๆ ในสังคม (2) การพัฒนาการฝึกอบรม การศึกษาระดับพื้นฐานและสูงกว่า การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การสร้างงาน และการคุ้มครองทางสังคม (3) การส่งเสริมความร่วมมือในด้านสาธารณสุขโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ เช่น โรคเอดส์ และโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (4) การจัดการปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน และ (5) การส่งเสริมการปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเขียน นักคิดและศิลปินในภูมิภาค รวมถึงการส่งเสริมความเป็นตัวตนหรือที่เรียกว่า ‘อัตลักษณ์’ ของอาเซียนผ่านกระบวนการสร้างความเข้าใจซึ่งกันและกันระหว่างประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียน อาทิ การมีกิจกรรมที่จะช่วยให้พลเมืองในประเทศสมาชิกอาเซียนเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของกันและกัน
31
ASEAN’s mechanisms การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit)
คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Council: ACC) คณะมนตรีประชาคม การเมืองและความมั่นคง อาเซียน (ASEAN Political-Security Community Council) คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community Council) คณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Council) การประชุมรมต./จนท.อาวุโสอาเซียน เฉพาะด้าน เช่น ASEAN Law Ministers’ Meeting การประชุม รมต./จนท.อาวุโสอาเซียน เฉพาะด้าน เช่น ASEAN Finance Ministers Meeting การประชุม รมต./จนท.อาวุโสอาเซียนเฉพาะด้าน เช่น ASEAN Ministers Meeting on Social Welfare and Development คณะกรรมการประสานงานการเชื่อมโยงกันในภูมิภาคอาเซียน (ASEAN Connectivity Coordinating Committee: ACCC)
32
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community: AEC
วางแผน Blue Print เมื่อ 2550 เร่งรัดเป้าหมายให้เร็วขึ้นเป็น 2558
33
AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี e-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์) AEC นโยบายภาษี ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน ลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น ปี 2558 (2015) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก องค์ประกอบหลักของ AEC ตามเป้าหมายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน ซึ่งระบุไว้ในแถลงการณ์บาหลี ฉบับที่ 2 (Bali Concord II) คือ การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมืออย่างเสรี และเงินทุนที่เสรีขึ้น รวมทั้งส่งเสริมการรวมกลุ่มสาขาสำคัญของอาเซียน การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ให้ความสำคัญกับประเด็นด้านนโยบายที่ช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการแข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค IPR พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน ขนส่ง ICT พลังงาน) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้ความสำคัญกับการลดช่องว่างการพัฒนาและส่งเสริมการรวมกลุ่มของประเทศสมาชิกใหม่ ได้แก่ CLMV ผ่านความร่วมมือภายใต้โครงการริเริ่มเพื่อการรวมกลุ่มของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration: IAI) ตลอดจนส่งเสริมการพัฒนา SME ในภูมิภาค การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก โดยการจัดทำเขตการค้าเสรีของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา และการสร้างเครือข่ายการผลิต/จำหน่ายในภูมิภาคเชื่อมโยงกับโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ทำ FTAs กับประเทศนอกอาเซียน ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สนับสนุนการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม SMEs
34
แผนงานจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนAEC Blueprint
ASEAN Economic Community Liberalisation Free flow of goods Free-er flow of capital Free flow of services Free flow of investment Free flow of skilled labour
35
การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ
สาขาวิศวกรรม MRAs ข้อตกลงยอมรับร่วม นักวิชาชีพในอาเซียนสามารถจดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ สาขานักสำรวจ* สาขานักบัญชี* สาขาแพทย์ สาขาสถาปัตยกรรม สาขาพยาบาล สาขาทันตแพทย์ 35 35 35
36
การจัดทำร่างข้อตกลง MRA (Mutual recognition Arrangement)
ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงานภายใต้กรอบความตกลงด้านการค้าบริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Service - AFAS) เป็นพันธกรณีลดขั้นตอนการตรวจสอบ/รับรอง คุณสมบัติแรงงานฝีมือ ประวัติการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน เพื่ออำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ
37
การบูรณาการทางเศรษฐกิจ
เขตการค้าเสรี (Free Trade Area) ขจัดอุปสรรคทางด้านภาษีและข้อจำกัดทางการค้าในกลุ่มประเทศสมาชิก สหภาพศุลกากร (Customs Union) กำหนดภาษีในอัตราเดียวกับประเทศนอกกลุ่ม ตลาดร่วม (Common Market) การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตได้เสรี สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) ประสานนโยบายด้านเศรษฐกิจและการเงินระหว่างประเทศสมาชิก
38
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC ) 2015
* ตลาดและฐานการผลิต รวมเป็นหนึ่งเดียว * สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน * พัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค * การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก Indonesia Cambodia Laos Myanmar Philippines Thai Vietnam Malaysia Singapore Brunei AEC 2015 Asean+3 China Japan S. Korea Asean+6 → India Australia New Z. USA EU Laos Laos เสรีการค้า เสรีการลงทุน เสรีการบริการ เสรีแรงงานฝีมือ เสรีตลาดทุน (Economic scale)
39
AEC Free Trade Agreements ASEAN10 : 583 ล้านคน ( 9% ของประชากรโลก )
CEPEA (Comprehensive Economic Partnership in East Asia) (ASEAN +6) EAFTA (East Asia FTA) (ASEAN +3) Australia New Zealand AEC China Japan India Korea ASEAN10 : 583 ล้านคน ( 9% ของประชากรโลก ) GDP 1,275 พันล้าน US$ ( 2% ของ GDP โลก ) การขยายเขตการค้าเสรีของอาเซียนในอนาคต จะเป็นกลุ่มเศรษฐกิจที่มีอำนาจซื้อมากที่สุด เพราะมีประชากรเกือบ 3,500 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 58 ของประชากรโลก สำหรับประโยชน์ที่ไทยจะได้รับจากการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อาเซียนจะได้รับประโยชน์การใช้วัตถุดิบร่วมกัน เป็นการเพิ่มพูนขีดความสามารถของผู้ประกอบการในประเทศ การใช้ทรัพยากรการผลิตร่วมกัน/เป็นพันธมิตรดำเนินธุรกิจร่วมกับอาเซียนอื่นๆ จะทำให้เกิดความได้เปรียบเชิงแข่งขัน (Comparative Advantage) โดยเลือกใช้จุดแข็งของแต่ละประเทศในการผลิต/ส่งออก ทำให้ลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มขีดความสามารถแข่งขัน ผู้ผลิตจะได้ประโยชน์จากความได้เปรียบทางด้านเทคโนโลยี การลดต้นทุนผลิต การเพิ่มโอกาสในการขยายตลาด และผู้บริโภคก็จะได้ประโยชน์ด้านการเพิ่มทางเลือกในการซื้อสินค้า ทั้งความหลากหลายด้านราคาและคุณภาพ EAFTA (ASEAN +3) : ประชากร 2,068 ล้านคน ( 31% ของประชากรโลก ) GDP 9,901 พันล้าน US$ (18% ของ GDP โลก ) CEPEA(ASEAN +6) :ประชากร 3,284 ล้านคน (50% ของประชากรโลก ) GDP 12,250 พันล้าน US$ (22% ของ GDP โลก ) 39 39 39
40
เขตการค้าเสรีอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา
ASEAN-Russia ASEAN-Canada CEPEA ASEAN-China FTA ASEAN-EU FTA ASEAN-US TIFA EAFTA ASEAN-Korea FTA ASEAN-Japan CEP ASEAN-Pakistan AEC: ล้านคน EAFTA: 2129 ล้านคน CEPEA: 3365 ล้านคน AEC ASEAN-India FTA EAFTA (East Asia Free Trade Area) ความตกลงเขตการค้าเสรีเอเชียตะวันออก CEPEA (Comprehensive Economic Partnership in East Asia) ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนกับ 6 ประเทศ ASEAN-US TIFA (ASEAN-US Trade And Investment Framework Arrangement) ASEAN-Australia- New Zealand FTA 40
41
เพื่อให้อาเซียนเป็นสังคมที่สมาชิกมีความ
ประชาคมการเมืองและความมั่นคง (ASEAN Political-Security Community: APSC) เป้าหมาย เพื่อให้อาเซียนเป็นสังคมที่สมาชิกมีความ ไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน มีเสถียรภาพ มีสันติภาพ และมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
42
คุณลักษณะของประชาคมการเมืองและความมั่นคง
มีกฎเกณฑ์ บรรทัดฐาน และค่านิยมร่วมกัน สร้างความแข็งแกร่งแก่ประชาธิปไตย ส่งเสริมธรรมา ภิบาล และหลักนิติธรรม ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน โดยระลึกถึงสิทธิและความรับผิดชอบของรัฐสมาชิกอาเซียน
43
คุณลักษณะของประชาคมการเมืองและความมั่นคง (ต่อ)
มีเอกภาพ สงบสุข แข็งแกร่ง และรับผิดชอบ แก้ปัญหาความมั่นคง - ยึดมั่นกับหลักการความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ และคํานึงถึงความมั่นคงในรูปแบบใหม่ - การสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ การทูตเชิงป้องกัน และการสร้างสันติภาพหลังความขัดแย้ง เป็นภูมิภาคที่มีพลวัตร และรวมตัวกับประชาคมโลก - มองไปยังโลกภายนอก รวมทั้งมีการพึ่งพาซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น ความเป็นศูนย์กลาง ขับเคลื่อน ARF
44
(ASEAN Regional Forum : ARF)
การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมือง และความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (สมาชิก 26 ประเทศ + สหภาพยุโรป) ขั้นตอนที่ 1 การเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ ขั้นตอนที่ 2 การป้องกันความขัดแย้ง (การทูตเชิงป้องกัน) ขั้นตอนที่ 3 การแก้ไขความขัดแย้ง
45
ภัยคุกคามด้านความมั่นคง
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ภัยคุกคามรูปแบบเดิม การก่อการร้าย โรคระบาด ความขัดแย้งระหว่างประเทศ - ปัญหาเขตแดน - สงคราม การลักลอบขนอาวุธ การเกิดภัยพิบัติ / ภัยธรรมชาติ การลักลอบค้ายาเสพติด การลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย อาชญากรรมทาง ศก.ระหว่างประเทศ การฟอกเงิน อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ การค้าสตรีและเด็ก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การกระทำอันเป็นโจรสลัด
46
(1) การพัฒนาทางการเมือง เช่น ส่งเสริมประชาธิปไตย
แผนงานการจัดตั้งประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community Blueprint) (1) การพัฒนาทางการเมือง เช่น ส่งเสริมประชาธิปไตย (2) สร้างบรรทัดฐานร่วมกันในด้านต่างๆ เช่น ไม่สะสมอาวุธนิวเคลียร์ ไม่ใช้กำลังในการแก้ไขปัญหา (3) ป้องกันความขัดแย้ง (4) การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง (5) การส่งเสริมสันติภาพและฟื้นฟูบูรณะ
47
กลไกในประชาคมการเมืองและความมั่นคง
Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia (TAC) (สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) The Southeast Asia Nuclear-Weapon-Free Zone (SEANWFZ) (สนธิสัญญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) Declaration on the Conduct of Parties in South China Sea (DOC) (ปฏิญญาว่าด้วยแนวปฏิบัติในทะเลจีนใต้) กลไกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights (AICHR) (คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน) ASEAN Maritime Forum (AMF) (การประชุมว่าด้วยประเด็นทางทะเลอาเซียน)
48
สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC)
49
สนธิสัญญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Southeast Asia Nuclear Weapon Free Zone สนธิสัญญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
50
องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sect oral Ministerial Bodies) ที่เกี่ยวข้องกับประชาคมการเมืองและความมั่นคง ASEAN Foreign Ministers Meeting (AMM) (ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน) Commission on the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone (SEANWFZ Commission) (คณะกรรมการเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) ASEAN Defense Ministers Meeting (ADMM) (ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน)
51
ASEAN Law Ministers Meeting (ALAWMM)
(ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านกฎหมาย) ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime (AMMTC) (ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านอาชญากรรมข้ามชาติ) ASEAN Regional Forum (ARF) (ประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก)
52
การดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายการจัดตั้ง ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
การต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ อนุสัญญาอาเซียนว่าด้วยการต่อต้านการก่อการร้าย การแก้ไขข้อพิพาท ASEAN Institute for Peace and Reconciliation ความมั่นคงทางทะเล Maritime Forum
53
ความปลอดภัยด้านนิวเคลียร์
การจัดการภัยพิบัติ ASEAN Humanitarian Assistance (AHA) Center, UN Humanitarian Response Depot (UNHRD) in Subang ความปลอดภัยด้านนิวเคลียร์ การประชุมของ nuclear regulatory agencies ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ Workshop on Nuclear Forensic กับสหรัฐฯ การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน จัดตั้งและสนับสนุนงานของ AICHR, การร่างปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน โดยไทยจะเป็นเจ้าภาพการประชุม
55
กลไกของสำนักงานตำรวจแห่งชาติกับภารกิจที่มีต่อ ประชาคมอาเซียนในปัจจุบัน
อาชญากรรมข้ามชาติ ยาเสพติด ก่อการร้าย ค้าอาวุธ ฟอกเงิน ค้ามนุษย์ โจรสลัด อาชญากรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ SOMTC ASEANAPOL AMMTC – ASEAN ministerial Meeting on Transnational Crime SOMTC – Senior Official Meeting on Transnational Crime 8 ฐานความผิดของอาชญากรรมข้ามชาติ 2553 – ASEANAPOL 9 ฐานความผิดของอาชญากรรมข้ามชาติ 3 เรื่อง
56
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)
เป็นสังคมที่สมาชิกมีความเอื้ออาทรต่อกัน ประชากรมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี ได้รับการพัฒนาในทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม ส่งเสริมความร่วมมือในด้านต่าง ๆ อาทิ พัฒนาสังคม พัฒนาการฝึกอบรม การศึกษาระดับพื้นฐาน และสูงกว่าการสร้างงาน และการคุ้มครองทางสังคม สาธารณสุข ด้านสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ส่งเสริม ‘อัตลักษณ์’ ของอาเซียนโดยการสร้างความเข้าใจซึ่งกันและกัน และระหว่างประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียน
57
ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (ASEAN Connectivity)
เป็นผลจากความริเริ่มของไทยในช่วงที่ไทยเป็นประธานอาเซียน เมื่อปี 2552 แผนแม่บทฯ ระบุการเชื่อมโยง 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านกฎระเบียบ และด้านประชาชน ในการประชุมสุดยอด ครั้งที่ 18 ผู้นำอาเซียนได้สนับสนุนข้อเสนอของไทยที่จะให้มีการเชื่อมโยงที่ขยายไปถึงภูมิภาคอื่นด้วย (Connectivity Plus) 57
58
แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน คมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ พลังงาน ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ เปิดเสรีและอำนวยความสะดวกทางการค้า เปิดเสรีและอำนวยความสะดวกในการบริการและการลงทุน ความตกลง/ข้อตกลงยอมรับร่วมกัน ความตกลงการขนส่งในภูมิภาค พิธีการในการข้ามพรมแดน โครงการเสริมสร้างศักยภาพ ความเชื่อมโยงด้านประชาชน การศึกษาและวัฒนธรรม การท่องเที่ยว
59
การเชื่อมโยงในอาเซียนเป็นผลสืบเนื่องจากความริเริ่มของไทยในช่วงที่ไทยเป็นประธานอาเซียนเมื่อปี 2552
ได้มีการจัดทำแผนแม่บทฯ (ASEAN Master Plan on Connectivity) โดยระบุการเชื่อมโยงเป็น 3 รูปแบบ คือ ด้านกายภาพ ด้านสถาบัน/ระบบ และการเชื่อมโยงระหว่างประชาชน การเชื่อมโยงจะมีส่วนสำคัญในการสนับสนุนการสร้างประชาคมของอาเซียน โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ โดยไทยน่าจะได้นับผลประโยชน์มากที่สุด ในฐานะที่เป็นศูนย์กลางของเครือข่ายการเชื่อมโยง ในการประชุมสุดยอด ครั้งที่ 18 ผู้นำอาเซียนได้สนับสนุนข้อเสนอของไทยที่จะให้มีการเชื่อมโยงที่ขยายไปถึงภูมิภาคอื่นด้วย (Connectivity Plus)
60
เชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิก-มหาสมุทรอินเดีย การไหลเวียน ทุน สินค้า-บริการ
จีน พม่า ลาว EWEC เวียดนาม ไทย ภาพรวมของ EWEC เชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิก-มหาสมุทรอินเดีย การไหลเวียน ทุน สินค้า-บริการ ประชากร ข้อมูลสารสนเทศ และความรู้ กัมพูชา ช่องแคบมะละกา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ช่องแคบซุนด้า ช่องแคบลอมบ็อค แหล่งที่มาของข้อมูล :
62
พัฒนาก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง เพื่อเชื่อมโยงเมืองหลักและเมืองเศรษฐกิจของประเทศไทย และกับประเทศเพื่อนบ้าน ที่ เส้นทาง ระยะทาง 1 กทม.-โคราช-หนองคาย 615 กม. 2 กทม.-หัวหิน-ปาดังเบซาร์ 982 กม. 3 กทม.-พัทยา-ระยอง 221 กม. 4 กทม.-พิษณุโลก-เชียงใหม่ 745 กม. รวม 4 เส้นทาง 2,563 กม. 62
63
63
64
การปรับปรุงประสิทธิภาพประตูการค้าชายแดน
ด่านพรมแดนในปัจจุบันมี 46 แห่ง ทางหลวงอาเซียนผ่านไทย 6,693 กม. ทางหลวงอาเซียนที่เป็นเส้นทางที่กำหนดให้ใช้สำหรับการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดน 4,477 กม. ด่านพรมแดนที่มีการเชื่อมโยงกับทางหลวงสายอาเซียนมี 13 แห่ง คือ AH1 AH2 AH3 AH12 AH13 AH15 AH16 AH18 AH19 AH112 AH121 AH123 (2) ด่านพรมแดนที่จะรองรับการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดนมี 8 ด่าน คือ ด่านเชียงของ ด่านแม่สาย ด่านหนองคาย ด่านแม่สอด ด่านมุกดาหาร ด่านอรัญประเทศ ด่านปาดังเบซาร์ และด่านสะเดา พัฒนาด่านที่มีศักยภาพสูง 3 ด่าน คือ นครพนม ช่องจอม และบ้านพุน้ำร้อน 64
65
โครงการท่าเรือน้ำลึกที่ ทวาย ประเทศพม่า
โครงการก่อสร้างท่าเรือทวาย รัฐบาลไทยได้ลงนามความร่วมมือกับรัฐบาลพม่า ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม 2551 และบริษัท อิตาเลียนไทย ดิเวลลอปเม้นทจำกัด (มหาชน) ได้MOU กับการท่าเรือของ ประเทศพม่า “เกียวกับการเป็นผู้สำรวจเส้นทางและพืนทีของโครงการ” โดยได้ศึกษาเมือเดือนมิถุนายน 2551 (1 เดือนถัดมา) เข้าไปดำเนินการสำรวจพืนทีภูมิภาคในทวาย โดยศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ จำนวน 7 เส้นทาง โดยขันสุดท้ายได้เลือกทีจะก่อสร้างท่าเรือนำลึกทีจังหวัดทวาย โดยตัวท่าเรือจะ สร้างทีตำบลนาปูเล่ห่างจากตัวเมืองทวายเพียง 10 กิโลเมตร ซึงเป็นเส้นทางทีดีทีสุด เนืองจากพืนทีหน้า ทะเลมีนําลึกมากกว่าบริเวณอืน ด้านหลังเป็นพืนทีเรียบบริเวณกว้างใหญ่ทำให้สามารถตัดถนนเข้าสู่ ประเทศไทยทีีจังหวัดกาญจนบุรีได้ด้วยเส้นทางทสันทสุด 160 กิโลเมตร โดยตัดถนนจากทิศตะวันตก มาทางทิศตะวันออก ไปออกช่องพุนําร้อน อำเภอบ้านเก่า จังหวัดกาญจนบุรีซึงห่างจากอำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรีไป 60 กิโลเมตร ซึงจะเป็นประตูการค้า (Gateway) จากตะวันตกไปสู่ตะวันออก จะ เชือมโยงระหว่างฝังอันดามันไปสู่ฝังตะวันออก โดยทีท่าเรือทวายจะเป็นศูนย์กลาง (Hub) แล้วตรงเข้าสู่ ประเทศไทยไปสู่อินโดจีนและตอนใต้ของประเทศจีนซึงพืนทีทีจะใช้ในการสร้าง ท่าเรือและจะมีนิคม อุตสาหกรรมขนาดใหญ่บนพืนทีขนาด 250 ตารางกิโลเมตร สำหรับรองรับท่าเรือนำลึก (Deep Sea Port) ขนาดใหญ่ประมาณท่าเรือแหลมฉบัง จำนวน 2 ท่า ลดค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้า สำคัญมากที่สุดในการค้าระหว่างประเทศ เส้นทางการขนส่งทางน้ำในอาเซียนกว่า 51,000 กม. ในปี 2008 อาเซียนกำหนดท่าเรือ 47 แห่งเป็นท่าเรือหลัก รวมถึง แหลมฉบัง ไม่รวม ทวาย ปากบารา
66
แนวทางพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ (ไทย-พม่า)
* แนวทางพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ (ไทย-พม่า) 07/16/96 เขตเศรษฐกิจการผลิตร่วม เมืองทางฝั่งไทย เมืองทางฝั่งพม่า เมืองหลวง / เมืองศูนย์กลางหลัก คุนหมิง เป้าหมายกิจกรรมทางเศรษฐกิจ : เชื่อมโยงธุรกิจบริการ การค้า ธุรกรรมเงินตรา Account Trade Logistic industry : ขนส่ง เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยว ตลาดกลางสินค้าเกษตรร่วม เขตประกอบการอุตสาหกรรม/ เขตการผลิตร่วม : เน้นใช้อุตสาหกรรมแรงงาน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานร่วมกัน Sister Cities: ที่มีศักยภาพ แม่สาย – ท่าขี้เหล็ก แม่สอด – เมียวดี เจดีย์สามองค์ – พญาตองซู ระนอง – เกาะสอง กาญจนบุรี – ทวาย บางสะพาน – บ๊กเปี้ยน ลาเซียว จิงหง มัณฑะเลย์ เชียงตุง ฮานอย ท่าขี้เหล็ก ไฮฟอง แม่สาย ทะเลจีนใต้ เชียงใหม่ วินห์ เวียงจันทน์ ย่างกุ้ง เมียวดี แม่สอด เมาะละแหม่ง ดานัง พญาตองซู เจดีย์สามองค์ กาญจนบุรี ทวาย กรุงเทพฯ Against this background, let me now summarize the progress achieved by the GMS Program so far. In the transport sector, there are several major corridors have been identified, out of which two corridors are being implemented: One is the Bangkok-Phnom Penh-Ho Chi Minh City-Vung Tau Corridor, the other is the East-West Transport Corridor. These two are expected to be completed by 2006 including the International Bridge over the Mekong river at Mukdahan and Savannakhet. Another important corridor is planned for implementation for the next five years. These are the North-South Corridor (Chiang Rai-Kunming via Lao PDR corridor) subject to the completion of the mediation process between Lao government and Thai investor. Therefore, the major transport corridors are to be completed by around The GMS Ministers agreed during the 9th Meeting that the Cross-border Framework Agreement including detailed Annexes and Protocols will be implemented by the end of Thus, towards the middle of this decade, more robust movement of goods and people will come to reality along the major corridors. บ๊กเปี้ยน พนมเปญ ทะเลอันดามัน บางสะพาน โฮจิมินห์ ซิตี้ เกาะสอง ระนอง อ่าวไทย ภูเก็ต สงขลา * ##
67
เส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงไทย-พม่า (แม่สอด/เมียวะดี-ท่าตอน)
* 07/16/96 Theinzayat Thailand Myanmar Payagyi Bago แม่สอด/เมียวะดี- กอกะเรก- พะอัน-ท่าตอน ระยะ 200 กม. Pa-an Thaton Eindu Yangon Myawaddy Mae Sod Mawlamyine แนวตะวันออก-ตะวันตก เชื่อมโยงพม่า-ไทย-ลาว-เวียดนาม แนวทางด้านตะวันตก แม่สอด-เมียวะดี-ปะอัน-เมาะละแหม่งไทยให้ความช่วยเหลือเป็นเงินให้เปล่า วงเงิน ล้านบาท เพื่อก่อสร้างถนนจากชายแดน อ.แม่สอด – เชิงเขาตระนาวศรี ระยะ 18 กม. ปัจจุบันอยู่ระหว่างแลกเปลี่ยน exchange of note เพื่อเริ่มงานก่อสร้าง โดยไทยจะให้เงินกู้เงื่อนไขผ่อนปรนแก่พม่าในส่วนที่ต่อเนื่องจากเชิงเขาตระนาวศรีไปยังกอกะเรก-ปะอัน-ท่าตอน และเชื่อมมายังเมาะละแหม่ง ปัจจุบันอยู่ระหว่างแนวทางการดำเนินงานร่วมกับรัฐบาลพม่า Kawkareik ไทยจะพิจารณาให้ความช่วยเหลือพัฒนา เส้นทาง กอกะเรก-มูดอง-เมาะละแหม่ง–ท่าตอน ระยะ 189 กม. ในระยะต่อไป (เส้นที่พม่าเสนอ) * ##
68
แนวทางพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ (ไทย-กัมพูชา)
แนวทางพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ (ไทย-กัมพูชา) เมืองทางฝั่งไทย เมืองทางฝั่งกัมพูชา เมืองหลวง / ศูนย์กลางหลัก จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม / พื้นที่อุตสาหกรรม เขตเศรษฐกิจการท่องเที่ยว เขตเศรษฐกิจการเกษตร ทะเลจีนใต้ เป้าหมายกิจกรรมทางเศรษฐกิจ : เขตประกอบการอุตสาหกรรม เขตการผลิตร่วม เน้นใช้ GSP วัตถุดิบ และแรงงาน Logistic industry เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยว ตลาดกลางสินค้าเกษตรร่วม เชื่อมโยงธุรกิจบริการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานร่วมกัน Sister Cities: ที่มีศักยภาพ ตราด – เกาะกง บ้านผักกาด – ไพลิน อรัญประเทศ – ปอยเปต ช่องจอม – ภูมิสำโรง ช่องสะงำ – อัลลองเวง อุบลราชธานี บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ ช่องจอม ช่องสะงำ กรุงเทพฯ ภูมิสำโรง จอมกะสาน ปอยเปต อัลลองเวง อรัญประเทศ ศรีโสภณ เสียมเรียบ พระตะบอง จันทบุรี ไพลิน โพธิสัตว์ ตราด เกาะกง กำปงสะปือ พนมเปญ อ่าวไทย สีหนุวิลล์ โฮจิมินห์ซิตี้
69
เส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงไทย-กัมพูชา
* 07/16/96 ไทย ช่องจอม จ.สุรินทร์ ช่องสะงำ จ.ศรีสะเกษ ไทยให้ความช่วยเหลือเป็นเงินให้เปล่า 126 ล้าน อรัญประเทศ/ปอยเปต กัมพูชา เสียมราฐ ตราด พนมเปญ เกาะกง ไทยให้ความช่วยเหลือเงินให้เปล่าและเงินกู้เงื่อนไขผ่อนปรน 856 ล้าน สร้างสะพานและปรับปรุงถนน กำหนดก่อสร้างปี สะแรอัมปึล การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมตามแนวตอนใต้ เชื่อมโยงไทย-กัมพูชา-เวียดนาม เส้นทางเลียบชายฝั่งทะเล กทม.-ตราด-เกาะกง-สแรแอมปึล-กัมปอต-กามู-นำเชา ไทยได้ให้ความช่วยเหลือเป็นเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำเพื่อพัฒนาถนนเชื่อมโยงตราด-เกาะกง-สแรแอมปึล ระยะ กม. วงเงิน 568 ล้านบาท (กัมพูชาขอกู้เพิ่มอีก 300 ล้านบาท เพื่อปรับความชันให้ลดลง) และเงินให้เปล่าเพื่อก่อสร้างสะพาน 4 แห่ง วงเงิน 288 ล้านบาท คาดว่าจะเริ่มก่อสร้างได้ภายในปี 2547 แล้วเสร็จในปี 2550 เส้นทางกทม.-อรัญประเทศ-พนมเปญ-โฮจิมินห์ ซิตี้-วังเตา ส่วนใหญ่ ได้รับความช่วยเหลือจาก ADB ส่วนใหญ่ก่อสร้างแล้วเสร็จ เหลือช่วงปอยเปต-ศรีโสภณ ซึ่ง ADB จะเริ่มก่อสร้างในปี 2547 โฮจิมินห์ ซิตี้ เวียดนาม เส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงไทย-กัมพูชา * ##
70
แนวทางพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศ (ไทย-สปป.ลาว)
เขตเศรษฐกิจการผลิตร่วม เมืองทางฝั่งไทย เมืองทางฝั่งลาว เมืองหลวง / ศูนย์กลางหลัก เป้าหมายกิจกรรมทางเศรษฐกิจ: เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยว เขตประกอบการอุตสาหกรรม/ เขตการผลิตร่วม เน้นใช้ GSP และวัตถุดิบ Logistic industry เชื่อมโยงธุรกิจบริการ ตลาดกลางสินค้าเกษตรร่วม พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานร่วมกัน Sister Cities ที่มีศักยภาพ : เชียงแสน – บ้านต้นผึ้ง มุกดาหาร – สะหวันนะเขต นครพนม – ท่าแขก ช่องเม็ก – ปากเซ เชียงของ – บ้านห้วยทราย ห้วยโก๋น – เมืองเงิน หนองคาย – ท่านาแล้ง บ่อแก้ว หลวงน้ำทา เชียงแสน ปากแบ่ง เชียงของ ห้วยโก๋น เวียงจันทน์ ท่าแขก หนองคาย นครพนม อุดรธานี มุกดาหาร สะหวันนะเขต สาระวัน อำนาจเจริญ ยโสธร ปากเซ อุบลราชธานี ช่องเม็ก จำปาศักดิ์ โฮจิมินห์ซิตี้
71
เส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงไทย - สปป.ลาว
* 07/16/96 สะพานข้ามแม่น้ำเหือง ( 3.31 กม.): ไทยให้ความช่วยเหลือเป็นเงินให้เปล่า ล้านบาท ก่อสร้างปี 2547 ห้วยทราย-หลวงน้ำทา-บ่อเต้น(250 กม.): ไทย-ADB-จีน ให้เงินกู้เงื่อนไขผ่อนปรนแก่ลาว (ไทย 1,385 ล้านบาท) ก่อสร้าง ทางรถไฟ หนองคาย-ท่านาแล้ง (4 กม.):ไทยให้ความช่วยเหลือเป็นเงินกู้เงื่อนไขผ่อนปรนและเงินให้เปล่า 197 ล้านบาท ก่อสร้างปี ห้วยโก๋น-ปากแบ่ง (50 กม.): ไทยช่วยเหลือเป็นเงินกู้เงื่อนไขผ่อนปรนและเงินให้เปล่า 840 ล้านบาท ก่อสร้างปี สะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 2: ไทย-ลาว ใช้เงินกู้ JBIC 3,200 ล้านบาท ก่อสร้าง ดานัง NORTH-SOUTH EAST-WEST กำลังก่อสร้าง แนวตะวันออก-ตะวันตก เชื่อมโยงพม่า-ไทย-ลาว-เวียดนาม มุกดาหาร-สะหวันนะเขต-ดองฮา-ดานัง จะแล้วเสร็จต้นปี 2548 โดยส่วนใหญ่ จะเป็นเงินช่วยเหลือจาก JICA และ ADB ส่วนสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 2 มุกดาหาร-สะหวันนะเขต เริ่มก่อสร้างแล้ว คาดว่าจะแล้วเสร็จ ในปี 2549 เส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงไทย - สปป.ลาว * ##
72
Kunming Laos Thailand Malaysia
High-speed train plan Malaysia Singapore
73
พม่า สปป. ลาว (ยูนนาน) จีน เชียงราย หลวงพระบาง ไซยะบุลี พะเยา
* (ยูนนาน) จีน 07/16/96 พม่า จิงหง ต้าหลั่ว แม่สาย-ท่าขี้เหล็ก- เชียงตุง-เชียงรุ่ง เชียงตุง เมืองลา เชียงของ-ห้วยทราย-หลวงน้ำทา-บ่อเต้น-คุนหมิง บ่อเต็น หลวงน้ำทา เวียงภูคา เมืองไซ ท่าขี้เหล็ก ห้วยโก๋น-ปากแบ่ง-หลวงน้ำทา-เชียงรุ่ง ห้วยโก๋น-ปากแบ่ง-หลวงน้ำทา-เชียงรุ่ง แม่สาย ห้วยทราย เชียงแสน เชียงของ เชียงราย ปากแบ่ง หลวงพระบาง แนวเหนือ-ใต้ เชื่อมโยงไทย-พม่า/ลาว-จีน ประกอบด้วย 2 เส้นทางหลัก คือ เส้นทางเชื่อมโยงผ่านพม่า ทางอ.แม่สาย(ไทย)-ท่าขี้เหล็ก-เชียงตุง-เมืองลา(พม่า)-ต้าหลั่ว-เชียงรุ่ง-คุนหมิง (จีนยูนนาน) ปัจจุบันเส้นทางแล้วเสร็จ และไทยให้ความช่วยเหลือพม่าก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำสายแห่งที่ 2 เพื่อสนับสนุนการค้าและการคมนาคมระหว่างกัน แล้วเสร็จเดือนเมษายน 2547 เส้นทางเชื่อมโยงผ่านลาว ผ่านทาง อ.เชียงของ-ห้วยทราย-หลวงน้ำทา-บ่อเต้น-เชียงรุ่ง-คุนหมิง ในส่วนของไทยถนนมีสภาพดี ในส่วนของจีนกำลังก่อสร้างปรับปรุงเส้นทางแล้วเสร็จกว่าร้อยละ 90 เหลือช่วงที่ต้องก่อสร้างเพิ่มเติม อีกประมาณ กม. ซึ่งปัจจุบัน ไทย จีน และ ADB ได้ให้ความช่วยเหลือเป็นเงินกู้เงื่อนไขผ่อนปรนแก่ ลาว ฝ่ายละ 30 ล้านเหรียญ สรอ. เพื่อก่อสร้างเส้นทางนี้ โดยปัจจุบันเริ่มดำเนินงานก่อสร้างคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2550 นอกจากความร่วมมือในส่วนของถนนแล้ว เรื่องสะพานข้ามแม่น้ำโขง ณ อ.เชียงของ-ห้วยทราย อยู่ระหว่างการเจรจาในส่วนที่จะให้จีนเข้ามาให้ความช่วยเหลือ นอกจากนี้ ยังมีเส้นทางเชื่อมโยงไทย-ลาว-จีน ผ่านทาง จังหวัดน่าน ได้อีกทางหนึ่ง ซึ่งรัฐบาลไทยได้ให้ความช่วยเหลือศึกษาความเหมาะสมและออกแบบเส้นทางห้วยโก๋น-ปากแบ่ง ระยะ 50 กม. และให้เงินกู้เงื่อนไขผ่อนปรนแก่ลาว วงเงิน 840 ล้านบาท ห้วยโก๋น สปป. ลาว พะเยา ไซยะบุลี เชียงใหม่ น่าน การพัฒนาระบบคมนาคมแนวเหนือ-ใต้ (NSEC) * ##
74
ความสัมพันธ์กับภายใน
และภายนอกภูมิภาค
75
การใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่จากกรอบความสัมพันธ์ระหว่าง อาเซียนกับประเทศ/กลุ่มประเทศนอกภูมิภาค (Dialogue Partners) U.S.A. Australia Russia Canada ASEAN New Zealand China Republic of Korea E.U. Japan India
76
ความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับองค์การระหว่างประเทศอื่น
RIO GROUP UN ASEAN SAARC GCC MERCOSUR ECO
77
ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่และมีบทบาทนำในกรอบความร่วมมือ ในระดับภูมิภาคที่อาเซียนเป็นแกนกลาง
ACD ARF ADMM Plus EAS ASEAN+3 ACMECS ASEAN IMT-GT BIMP-EAGA ASEAN+1 77
78
EAST ASIAN SUMMIT : EAS สมาชิก 18 ประเทศ - 10 ประเทศอาเซียน จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย เป็นเวทีหารือระดับผู้นำด้านยุทธศาสตร์ทางการเมือง และเศรษฐกิจในเอเชีย ประชุมครั้งแรกปี 2548
79
Greater Mekong Sub-Region (GMS)
จีน พม่า ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา (กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง) Japan – Mekong Cooperation ญี่ปุ่น + ไทย, พม่า, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา, US – Lower Mekong Initiative สหรัฐฯ + ไทย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา
80
โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง 6 ประเทศ กัมพูชา-พม่า-สปป.ลาว-เวียดนาม-ไทย-จีนตอนใต้ (ยูนนาน) Greater Mekhong Subregional (GMS)
81
ASEAN กับความร่วมมือทั้งใน
84
ACMECS ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี – เจ้าพระยา – แม่โขง (Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy - ACMECS) มีวัตถุประสงค์ top down เพื่อขจัดปัญหา red tape ในอดีต (เช่น เพื่อนบ้านขอให้ไทยลดภาษี แต่ราชการไทย ลดแต่สินค้าที่ลาวผลิตไม่ได้) ลดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก ส่งเสริมความเจริญอย่างยั่งยืนในอนุภูมิภาค ให้ความสำคัญกับกิจกรรมใน 6 สาขา การอำนวยความสะดวกการค้าและการลงทุน ความร่วมมือด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงการคมนาคม ความร่วมมือด้านการท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ความร่วมมือด้านสาธารณสุข
85
คณะกรรมการว่าด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาร่วมสำหรับพื้นที่ชายแดนไทย-มาเลเซีย (Thailand-Malaysia Committee on Joint Development Strategy for border areas : JDS)
86
เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2547 นายกรัฐมนตรีของไทยกับมาเลเซียได้เห็นชอบให้จัดตั้งคณะกรรมการ ว่าด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาร่วมสำหรับพื้นที่ชายแดนไทย - มาเลเซีย (Thailand - Malaysia Committee on Joint Development Strategy for border areas : JDS) มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างกลไกในการพัฒนาความกินดีอยู่ดีของประชาชนในบริเวณพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จชต.) ได้แก่ สงขลา ยะลา สตูล ปัตตานี และนราธิวาส ตลอดจน 4 รัฐภาคเหนือของมาเลเซีย ได้แก่ เปอร์ลิส เคด้าห์ กลันตัน และเปรัค (เฉพาะอำเภอเปิงกาลันฮูลู) เน้นโครงการความร่วมมือที่ให้ประโยชน์แก่ประชาชนในพื้นที่เป็นสำคัญ เพื่อสร้างเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่ ซึ่งจะเป็นผลในการแก้ไขปัญหาใน จชต. ด้วย
87
JDS ได้กำหนดกรอบความร่วมมือกัน จำนวน 9 สาขา ดังนี้
1. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการเชื่อมโยงเส้นทางการขนส่ง 2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3. การท่องเที่ยว 4. วัฒนธรรมและความสัมพันธ์ระดับประชาชน 5. การค้าและการลงทุน 6. การเกษตร ประมง ปศุสัตว์ และชลประทาน 7. การเงินและการคลัง 8. ด้านพลังงาน 9. ด้านการบรรเทาสาธารณภัย
88
มีความร่วมมือ 6 ด้าน ได้แก่
โครงการพัฒนาเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย–มาเลเซีย–ไทย (Indonesia–Malaysia–Thailand Growth Triangle : IMT–GT) เริ่มเมื่อปี 2536 มีความร่วมมือ 6 ด้าน ได้แก่ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน และการขนส่ง ด้านการค้าและการลงทุน ด้านการท่องเที่ยว ด้านบริการ และผลิตภัณฑ์ฮาลาล ประเทศ ไทยเป็น Lead Country ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ด้านการเกษตร อุตสาหกรรมการเกษตร และ สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะความร่วมมือด้าน ประมง
89
BIMP-EAGA East ASEAN Growth Area เขตพัฒนาเศรษฐกิจ อาเซียนด้านตะวันออก
ความร่วมมือ ด้านการเกษตร ด้านการประมง ด้านการท่องเที่ยว พัฒนาด้านคมนาคม พัฒนาด้านพลังงาน และมีการตั้งสถาธุรกิจ
90
กรอบความร่วมมือเอเชีย Asia Cooperation Dialogue – ACD
ยุทธศาสตร์ไทยต่อเอเชีย (ไทยริเริ่มขึ้นเมื่อ 2545) มุ่งนำจุดแข็งและศักยภาพที่แตกต่างของประเทศในเอเชียมาเสริมซึ่งกันและกัน เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของเอเชียในเวทีโลก มิได้สร้าง bloc แต่มุ่งพัฒนาเพื่อเป็น missing link ที่ต่อยอดความร่วมมือที่มีอยู่ในกรอบความร่วมมืออื่นๆ และเป็นหุ้นส่วนที่ดีของภูมิภาคอื่น สมาชิก 31 ประเทศ (คีร์กิซสถานเป็นสมาชิกใหม่) ความร่วมมือ 20 สาขา (ความร่วมมือด้านวัฒนธรรมเป็นสาขาใหม่) ประเทศที่เสนอตัวเป็นเจ้าภาพการประชุมระดับรัฐมนตรี ได้แก่ ศรีลังกา (2552) อิหร่าน (2553) คูเวต (2554) ทาจิกิสถาน (2555) ซาอุดิอาระเบีย
91
ประเทศสมาชิก ACD 31 ประเทศ
Bahrain Bangladesh Bhutan Brunei Cambodia China India Indonesia Iran Japan KazakhstanSouth KoreaKuwait Kyrgyzstan Laos Malaysia Mongolia Myanmar Oman Pakistan Philippines Qatar Russia Saudi Arabia Singapore Sri Lanka Tajikistan Thailand United Arab Emirates Uzbekistan Vietnam
92
โครงการความร่วมมือ ACD 20 สาขา
สาขาความร่วมมือ ประเทศผู้ขับเคลื่อน/ร่วมขับเคลื่อน 1. ความมั่นคงด้านพลังงาน (energy security) บาห์เรน อินโดนีเซีย คาซักสถาน กาตาร์ จีน และฟิลิปปินส์ 2. การแก้ไขปัญหาความยากจน (poverty alleviation) บังกลาเทศ กัมพูชา และเวียดนาม 3. การเกษตร (agriculture) จีนและปากีสถาน 4. การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม (transport linkages) อินเดีย คาซักสถาน และพม่า 5. เทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) อินเดีย 6. การค้าอิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce) มาเลเซีย 7. กองทุนโครงสร้างพื้นฐาน (infrastructure fund) 8. การศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ (e-education) 9. สถาบันด้านการจัดมาตรฐานเอเชีย (Institute of Asian Standards) ปากีสถาน 10. ความร่วมมือด้านผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) สิงคโปร์ ศรีลังกา
93
โครงการความร่วมมือ ACD 20 สาขา
สาขาความร่วมมือ ประเทศผู้ขับเคลื่อน/ร่วมขับเคลื่อน 11. การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT development) เกาหลีใต้ 12. พลังงาน (energy) ฟิลิปปินส์ 13. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (science and technology) 14. การท่องเที่ยว (tourism) ไทย กัมพูชา พม่า และปากีสถาน 15. คณะทำงานด้านความร่วมมือด้านการคลัง (financial cooperation) ไทย 16. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (human resources development) เวียดนาม 17. สิ่งแวดล้อมศึกษา (environmental education) ญี่ปุ่น และกาตาร์ 18. การสร้างความแข็งแกร่งของโครงสร้างด้านกฎหมาย (strengthening the legal infrastructure ญี่ปุ่น 19. ความปลอดภัยบนท้องถนน ( road safety ) โอมาน 20. ความร่วมมือทางวัฒนธรรม (cultural cooperation) อิหร่าน อินเดีย
94
เหล่านี้จึงเป็นการเสริมความพร้อมที่จะให้สมาชิก ASEAN เข้าสู่เป้าหมายของ ASEAN Community
One Vision One Identity One Community
95
บทบาทของฝ่ายตำรวจในอาเซียน
สนับสนุนการดำเนินการของ ASEAN Political Security Community ภายใต้กฎบัตรอาเซียน ส่งเสริม Trust and Confidence โดยผ่านกลไกต่างๆ เช่น ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime, ASEAN Senior Officials’ Meeting on Transnational Crime, and Meeting of ASEAN Chiefs of Security Agencies, DG of Immigration Departments and Heads of Consular Affairs Divisions of Ministries of Foreign Affairs Meeting เป็นต้น การส่งเสริมความร่วมมือในด้านอาชญากรรมข้ามชาติกับประเทศคู่เจรจาของอาเซียน
96
บทบาทของฝ่ายตำรวจในอาเซียน
ส่งเสริมความร่วมมือในกรอบ ASEANAPOL ให้เป็นประโยชน์กับการทำงานของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เช่นในเรื่องของการแลกเปลี่ยนข่าวกรอง การจัดทำ ASEAN Lane ในสนามบินนานาชาติในภูมิภาค ควบคู่ไปกับการมี ASEAN Business Travel Card (มิติของ cross-border facilitation) ระบบตรวจสอบและคัดกรองผู้โดยสารล่วงหน้า APPS(Advance Passenger Processing System)
98
การเตรียมความพร้อมของตำรวจ ในการเป็นประชาคมอาเซียน
เฝ้าระวังและหามาตรการแก้ไขผลกระทบทางลบ/ผลข้างเคียงของการสร้างความเชื่อมโยงในอาเซียน (enhanced ASEAN connectivity) การจัดระบบ safeguards เพื่อรองรับผลกระทบทางลบของ Enhanced ASEAN Connectivity กลไก ASEAN Directors-General of Immigration Departments and Heads of Consular Affairs การจัดตั้ง task force ในคณะกรรมการการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติในกรอบอาเซียน (เดรียมการประชุม AMMTC/SOMTC)
99
การเตรียมความพร้อมของตำรวจ ในการเป็นประชาคมอาเซียน
การผนวกวิสัยทัศน์และแผนปฏิบัติการของอาเซียนเข้าสู่นโยบายของรัฐบาลและส่วนราชการ เพื่อผลักดันให้ไทยสามารถบรรลุวิสัยทัศน์หรือเป้าประสงค์ที่ผู้นำอาเซียนมีร่วมกัน การสร้างองค์ความรู้ของหน่วยราชการ รับทราบข้อมูลอาเซียนที่ทันต่อเหตุการณ์ บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน และช่วยเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
100
การเตรียมความพร้อมของตำรวจ ในการเป็นประชาคมอาเซียน
การจัดตั้งสำนักงานหรือส่วนความร่วมมืออาเซียนในส่วนราชการ เป็นจุดประสาน เป็นเครือข่ายในการขับเคลื่อนการเป็นประชาคมอาเซียนในส่วนราชการของไทย การพัฒนาบุคลากรของตำรวจในสาขาความร่วมมือที่เป็น priority สำคัญของอาเซียน เช่น การปฏิบัติการรักษาสันติภาพและการบริหารจัดการภัยพิบัติโดยอาจมีศูนย์ฝึกอบรมตำรวจให้ไปปฏิบัติหน้าที่ใน Peacekeeping Operation
101
ประเด็นท้าทาย ASEAN ขาดความตระหนักของการเป็นสมาชิก ASEAN– ไทย awareness น้อย เกือบเป็นที่สุดท้าย ขาดความรู้สึกการเป็นประชาคมในหัวใจ ขาด Social Media ขาดการสัมผัสสิ่งรอบตัว: สินค้า, โทรทัศน์ (ASEAN TV), ธงอาเซียน, ความสะดวกในการเดินทางผ่าน ASEAN ขาดนโยบายต่างๆ ร่วมกัน eg. ต่างประเทศ, ความมั่นคง,
102
ขาดความรู้สึกว่า ความคุกคาม (Threat) ต่อประเทศหนึ่ง คือ ความคุกคามต่อ ASEAN eg. ปัญหาความไม่สงบในภาคใต้, ฟิลิปปินส์, ปัญหามลพิษ: หมอกควันจากไฟไหม้ป่า, ภัยพิบัติ, ความขัดแย้งไทย-กัมพูชา, วิกฤตเศรษฐกิจในสหรัฐฯ, วิกฤตเศรษฐกิจในยุโรป ขาด ASEAN Affair Comes First ขาดจุดยืนร่วมในเวทีสำคัญๆ APEC, ASEM, การเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ ขาดการพบปะกันอย่างไม่เป็นทางการ โดยไม่มีพิธีการโดยเฉพาะผู้นำภาคการเมือง
103
เน้นผลประโยชน์ของประเทศสูง
ความร่วมมือด้านความมั่นคงยังไม่แน่นแฟ้น-ยังขาดความไว้เนื้อเชื่อใจกัน เพราะการเมืองในประเทศ หรือ ประวัติศาสตร์ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ภาคประชาสังคมยังมีความสัมพันธ์ที่ถือว่าห่างเหินไม่กระชับ
104
รู้จักตัวเอง รู้จักอาเซียน C = Competitiveness U = Utilization
Conclusions I = Identification รู้จักตัวเอง A = Awareness รู้จักอาเซียน M = Mindset ปรับเปลี่ยนวิธีคิด C = Competitiveness เพิ่มขีดความสามารถ U = Utilization ฉลาดในการใช้ประโยชน์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.