ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ความรู้เกี่ยวกับวัณโรค
Pavongsak Rientrairat ,M.D 14 สิงหาคม 2551 ความรู้เกี่ยวกับวัณโรค สถานการณ์ สาเหตุ อาการ วินิจฉัย ขึ้นทะเบียน รักษา การกำกับการกินยา(พี่เลี้ยง/เยี่ยมบ้าน) นิรมล พิมน้ำเย็น สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก
2
This is an acid fast stain of Mycobacterium tuberculosis (MTB).
Note the red rods - hence the terminology for MTB in histological sections or smears: acid fast bacilli. Page 2
3
Pavongsak Rientrairat ,M.D
วัณโรค 14 สิงหาคม 2551 TUBERCULOSIS เกิดจากเชื้อแบคทีเรียรูปแท่ง M.tuberculosis ค้นพบ/รายงาน ในปี ค.ศ. 1882 โรคติดต่อเรื้อรัง ทาง Air borne disease (ทางเดินหายใจ เป็นหลัก, ทางเดินอาหาร, บาดแผล) มีคุณสมบัติติดสีทนกรด (Acid fastness) จึงเรียกชื่อเชื้อนี้ว่า“แบคทีเรียติดสีทนกรด” (Acid fast bacilli, AFB) ผู้ที่ติดเชื้อไม่ป่วยเป็นวัณโรคทุกคน (ป่วยร้อยละ 5 -10) เกิดได้ทุกอวัยวะของร่างกาย Page 3
4
Pavongsak Rientrairat ,M.D
14 สิงหาคม 2551 วัณโรค (Tuberculosis : TB) เป็นโรคติดต่อเป็นได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย แต่โดยมากมักเป็นที่ปอด มักจะจับที่ปอดข้างหนึ่งก่อนแล้วลามไปอีกข้างหนึ่ง Page 4
5
วัณโรคแพร่ระบาดได้อย่างไร และเราจะเป็นวัณโรคได้อย่างไร
วัณโรคแพร่ระบาดได้อย่างไร และเราจะเป็นวัณโรคได้อย่างไร แพร่กระจายทางอากาศ (หลัก) โดย ผู้ป่วยไอ จาม พูดคุย ถ่มน้ำลาย ฯลฯ หายใจเอาเชื้อวัณโรคเข้าไปติดต่อกันในช่วงเวลาหนึ่ง (หลัก) Page 5
6
Pavongsak Rientrairat ,M.D
14 สิงหาคม 2551 การติดต่อ Sneezing (3M) Coughing (1.5M) Speaking Page 6
7
การติดเชื้อ/การป่วยเป็นวัณโรค
ส่วนมากติดเชื้อวัณโรคแล้ว จะไม่ป่วย ร้อยละ 5 – 10 ป่วยวัณโรค Page 7
8
แหล่งแพร่เชื้อวัณโรค
Pavongsak Rientrairat ,M.D 14 สิงหาคม 2551 แหล่งแพร่เชื้อวัณโรค คือ ผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่เชื้อ ได้แก่ ผู้ป่วยก่อนได้รับการรักษา ผู้ป่วยที่ยังรักษาไม่หาย หมายเหตุ ผู้ป่วยหลังได้รับการรักษา 2 สัปดาห์ จะไม่แพร่กระจายเชื้อ) Page 8
9
วงจรการติดต่อวัณโรค ผู้สัมผัส ติดเชื้อวัณโรค ไม่ป่วยเป็นวัณโรค
100% ป่วยเป็นวัณโรคระยะไม่แพร่เชื้อ ติดเชื้อวัณโรค 5-10% ป่วยเป็นวัณโรคระยะแพร่เชื้อ ปีละ คน Page 9
10
Pavongsak Rientrairat ,M.D
14 สิงหาคม 2551 ถ้าไม่ได้รับการรักษาภายในระยะเวลา 1-1½ ปี จะตายสูงถึงร้อยละ ภายในระยะเวลา 5 ปี ถ้าได้รับการรักษาที่ถูกต้องจะหายจากโรค Page 10
11
1.วัณโรคปอด (Pulmonary Tuberculosis) 1.1วัณโรคปอดเสมหะบวก(M+)
ประเภทผู้ป่วยวัณโรค 1.วัณโรคปอด (Pulmonary Tuberculosis) 1.1วัณโรคปอดเสมหะบวก(M+) 1.2วัณโรคปอดเสมหะลบ(M-) 2.วัณโรคนอกปอด(Extrapulmonary Tuberculosis) 3.วัณโรคแพร่กระจาย(Disseminated Tuberculosis) Page 11
12
การวินิจฉัยวัณโรคปอด
การตรวจเสมหะ AFB ในผู้ป่วยที่สงสัยวัณโรคปอด ผู้ป่วยที่สงสัยวัณโรคปอด - ไอเรื้อรัง สัปดาห์ โดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด - ไอเป็นเลือด Page 12
13
ชนิดของการตรวจเสมหะย้อมสีดูด้วยกล้องจุลทรรศน์
Collected Sputum :เสมหะที่ออกมาครั้งแรกตอนเช้าโดยเป็นเสมหะที่สะสมมาตลอดคืนที่คนไข้นอนหลับ :มีโอกาสพบเชื้อวัณโรคมากกว่า Spot sputum % Spot Sputum :เสมหะที่เก็บช่วงเวลาอื่นๆที่ไม่ใช่ collected sputum Page 13
14
มาตรฐานการตรวจเสมหะในการวินิจฉัย
การตรวจเสมหะ 3 ครั้ง ต้องมี Collected sputum อย่างน้อย 1 ครั้ง มาครั้งแรก - Spot sputum 1 ครั้ง -ถ้าสงสัยมาก นัดมาพรุ่งนี้ - Collected 1 ครั้ง+Spot sputum 1 ครั้ง -ถ้าสงสัยโรคอื่น เช่น ปอดบวม - รักษาไปก่อน(ATBS) :นัดมา 1 สัปดาห์ - Collected 1 ครั้ง +Spot sputum 1 ครั้ง Page 14
15
Page 15
16
Chest X- Ray - ปกติ เป็น TB ได้ - ผิดปกติ เป็นโรคอื่นๆ ได้
- ผิดปกติ เป็นโรคอื่นๆ ได้ TB(Active/Inactive) แพทย์ผู้เชี่ยวชาญคนเดิมอ่าน – เวลาต่างกัน/อ่านต่างกัน % แพทย์ผู้เชี่ยวชาญหลายคน -เวลาเดียวกัน/อ่านต่างกัน % มีทั้ง Over/Under Diagnosis Page 16
17
Chest X-Ray - Sensitivity สูง - Specificity ต่ำ
ทำเมื่อไร - วินิจฉัยครั้งแรก - เมื่อรักษาครบแล้ว -เมื่อมีข้อบ่งชี้อื่นๆ Page 17
18
Microscopy is a more specific test than X-ray
for TB diagnosis Specificity Page 18
19
Three sputum smears are optimal
Page 19
20
หลักการวินิจฉัยวัณโรคปอด
M+ : 1.1 เสมหะบวก 2 ครั้ง หรือ : 1.2 เสมหะบวก 1 ครั้ง + Chest X- Ray หรือ :1.3 เสมหะบวก 1 ครั้ง+เพาะเชื้อขึ้น M- : 2.1 เสมหะลบ 3 ครั้ง + Chest X- Ray +รักษาด้วยantibiotic ระยะหนึ่งไม่ดีขึ้น + แพทย์ให้การวินิจฉัย หรือ : 2.2 เสมหะลบ 3 ครั้ง +เพาะเชื้อขึ้น Page 20
21
วัตถุประสงค์ของการรักษาผู้ป่วยวัณโรค
รักษาผู้ป่วยให้หาย ป้องกันการเสียชีวิต ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ ป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยา ลดการแพร่ระบาดเชื้อวัณโรค Page 21
22
ผังชะตากรรมผู้ป่วยวัณโรคในรูปแบบ
การดำเนินงานควบคุมวัณโรคที่แตกต่างกันออกไป Page 22
23
ความสามารถของยาในการทำลายเชื้อกลุ่มต่างๆ
-เชื้อแบ่งตัวตลอดเวลา : H (R, S) -เชื้ออยู่ใน Solid caseous : Z -เชื้ออยู่ใน Cell : R -เชื้อ Dormant : ไม่มียาที่มีประสิทธิภาพ Page 23
24
การดื้อยาของเชื้อวัณโรค
H : เชื้อ 1,000,000 ตัวดือยา 1 ตัว(1 ใน 106) R : เชื้อ 100,000,000 ตัวดือยา 1 ตัว(1 ใน 108) H+R : เชื้อ 100,000,000,000,000 ตัวดือยา 1 ตัว(1 ใน 1014) Page 24
25
Principle of TB treatment
Kill tubercle bacilli rapidly Prevent the emergence of drug resistance Prevent Relapse by eliminate persistent bacilli form host tissue วิธีการ-ให้ยาหลายชนิดพร้อมกัน -ให้ยานานพอแบ่งเป็นระยะเข้มข้นและ ระยะต่อเนื่อง Page 25
26
การกินยาวัณโรค First-Line (H,R,Z,E)
:ให้กินยาวันละครั้งเพื่อต้องการ Peak Level ที่สูง :การกินยาพร้อมอาหารมีผลลดการดูดซึมของยา แต่ไม่มากจนมีผลต่อการรักษา :ยา FDC (Fixed Dose Combination)อาจทำให้กิน ยาได้สะดวกขึ้น : หลีกเลี่ยงกินยาแบบ Split Dosing :DOT มีความสำคัญมาก Page 26
27
การขึ้นทะเบียนเพื่อการรักษาติดตามและประเมินผล
New =ผู้ป่วยไม่เคยรักษามาก่อนหรือได้รับยาน้อยกว่า 4 สัปดาห์ Relapse =ผู้ป่วยที่เคยรักษาหายแล้วและมีอาการใหม่เสมหะบวก Failure =ผู้ป่วยที่รักษาแล้วล้มเหลว Treatment After Default =ผู้ป่วยที่รักษาแล้วขาดยาติดต่อกัน 2 เดือนกลับมารักษาใหม่ Transfer In =ผู้ป่วยขึ้นทะเบียนที่อื่นแล้วโอนมารักษาต่อ Others =ผู้ป่วยที่ไม่เข้ากรณีข้างต้น Page 27
28
การติดตามการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวก
การตรวจเสมหะต้องมีผลต่อการตัดสินใจในการรักษา ถ้าเป็นไปตามเกณฑ์ต้องตรวจ 2 ครั้งโดยมี Collected Sputum อย่างน้อย 1 ครั้ง ตรวจเมื่อรักษาสิ้นสุดระยะเข้มข้น ตรวจเมื่อเดือนที่ 5 ตรวจเมื่อสิ้นสุดการรักษา Page 28
29
การติดตามการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวก
CAT HRZE / 4 HR ตรวจเสมหะเดือนที่ 2, 5, 6 CAT HRZES / 1 HRZE/ 5 HRE ตรวจเสมหะ เดือนที่ 3, 5, 8 Page 29
30
การประเมินผลการรักษา
Cure =ได้รับยาครบและผลเสมหะเป็นลบ 2 ครั้ง โดยเป็นครั้งเมื่อสิ้นสุดการรักษา 1 ครั้ง Complete =ได้รับยาครบแต่ไม่มีผลเสมหะครบถ้วน Failure =ผลเสมหะยังคงเป็นบวกเมื่อเดือนที่ 5 ของการรักษา หรือเสมหะเป็นบวกเมื่อเดือนที่ 2 โดยที่ก่อนรักษาเสมหะเป็นลบ Page 30
31
ปัญหาที่พบบ่อยๆระหว่างรักษา
เมื่อสิ้นสุดระยะเข้มข้นเสมหะยังเป็นบวกอยู่ การรักษาล้มเหลว ผลข้างเคียงจากยา หยุดยาไประยะหนึ่งแล้วกลับมารักษาใหม่ ผลทดสอบความไวของยาต่อเชื้อพบว่าดื้อต่อยาที่ให้ Page 31
32
การประเมินผลการรักษา(ต่อ)
Death =ผู้ป่วยเสียชีวิตโดยที่ยังกินยาไม่ครบไม่ว่าจะสาเหตุใดๆก็ตาม Default =ขาดการกินยาติดต่อกัน 2 เดือนขึ้นไป Transfer Out =ขึ้นทะเบียนแล้ว โอนไปรักษาต่อที่อื่น Page 32
33
เมื่อรักษาจนสิ้นสุดระยะเข้มข้นผลเสมหะไม่กลับเป็นลบ
หยุดยา 2-3 วันแล้วส่งเสมหะเพาะเชื้อวัณโรค กินยาระยะเข้มข้นต่ออีก1เดือน เสมหะกลับเป็นลบ IR4 เดือน กินยาระยะเข้มข้นต่ออีก1เดือน เสมหะยังเป็นบวก ส่งเสมหะเพาะเชื้อ IR4 เดือน เสมหะกลับเป็นลบ IRZE ต่ออีก 1 เดือน Page 33
34
เมื่อรักษาจนสิ้นสุดระยะเข้มข้นผลเสมหะไม่กลับเป็นลบ(ต่อ)
เมื่อกินยาสูตร CAT1 แล้ว 4 เดือนเสมหะยังเป็นบวกอยู่ แสดงว่าล้มเหลว คำแนะนำเดิมของ WHO และสำนักวัณโรคให้เปลี่ยนเป็นสูตร CAT 2 จากการศึกษาของ สคร.7 พบว่าในผู้ป่วยกลุ่มนี้รักษาหายเพียง 50% และเป็นการผิดหลักการที่เพิ่มยาเพียงชนิดเดียวในคนไข้ที่ล้มเหลวหรือกำลังล้มเหลว Page 34
35
การดูแลรักษาผู้ป่วยที่พบผลข้างเคียงจากยา
ยาต้านวัณโรคมีผลข้างเคียงมาก และต้องกินนาน ก่อนเริ่มยาครั้งแรกต้องให้คำปรึกษาผู้ป่วยและญาติอย่างดี ผลข้างเคียงจากยามักเกิดในช่วงการรักษาระยะเข้มข้น ผลข้างเคียงที่ต้องระวังมากได้แก่ พิษต่อตับ ผื่นแพ้ยา พิษต่อตา Page 35
36
การดูแลรักษาผู้ป่วยที่เกิดพิษต่อตับจากยา
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญคือ 1.มีประวัติตับอักเสบ มาก่อน (OR 3.4, 95% CI ) 2.อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป (OR 1.9, 95% CI ) 3.เพศหญิง, 4.คนที่เกิดในทวีปเอเชีย Page 36
37
การดูแลรักษาผู้ป่วยที่เกิดพิษต่อตับจากยา(ต่อ)
5.ติดเชื้อเอชไอวี 6. Lower preferential serum albumin 7. High alcohol intake (กิน ethanol อย่างน้อย48 กรัม /วัน มากกว่า 1 ปี) 8.genetic บางอย่างสัมพันธ์กับการเกิดตับอักเสบ หลังกินยาต้านวัณโรค คือ การมี HLA-DQB1* 0201 หรือการไม่มี HLA-DQA1* 0102 Page 37
38
การดูแลรักษาผู้ป่วยที่เกิดพิษต่อตับจากยา(ต่อ)
ผู้ป่วยที่มีโรคตับอยู่ก่อนรักษาวัณโรค มีโอกาสที่ยาจะทำให้เกิดเกิดพิษต่อตับรุนแรง (ถึงชีวิตได้) นอกจากนี้การติดตามการทำงานของตับก็มีความยุ่งยาก ในกรณีที่ก่อนรักษาด้วยยาต้านวัณโรค ถ้าตรวจพบค่า AST > 3 เท่าของค่าปกติที่สูงสุด (Upper normal limit) อาจพิจารณาให้สูตรยา ดังนี้ อย่างไรก็ตามในกรณีที่เชื้อวัณโรคทำให้เกิดพยาธิสภาพต่อตับทำให้การทำงานผิดปกติก่อนรักษา การให้ยาต้านวัณโรคก็สามารถทำให้การทำงานของตับดีขึ้นได้ Page 38
39
การดูแลรักษาผู้ป่วยที่เกิดพิษต่อตับจากยา(ต่อ)
1.(สูตรไม่มี H) ให้ยา 3 ตัว RZE นาน6 เดือน 2.(สูตรไม่มี Z) ให้ยา 3 ตัว HRE จนผลการทดสอบความไวของยาต่อเชื้อวัณโรคแสดงว่าเชื้อไวต่อ HR ให้หยุด EMB ได้โดยให้ยานาน 9 เดือน Page 39
40
การดูแลรักษาผู้ป่วยที่เกิดพิษต่อตับจากยา(ต่อ)
3.(สูตรที่มียามีพิษต่อตับ1ชนิด ) RIF, EMB, Fluoroquinolone, Cycloserine และยาฉีด 1 ชนิดให้ยานาน เดือน 4.ในกรณีที่การทำงานของตับไม่ดีและ Unstable อาจให้ยาที่ไม่มีพิษตับเลย เช่น Streptomycin, EMB, Fluoroquinolone และยาในกลุ่ม second line อีก 1 ชนิด ให้ยานาน เดือน Page 40
41
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่มีภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านวัณโรค
1. ตรวจสอบความถูกต้องของสูตรยา และขนาดยาต่อน้ำหนักตัวผู้ป่วยก่อนรักษาเสมอเพราะยาหลายชนิด ทำให้เกิดผลข้างเคียงมากขึ้นในขนาดยาที่สูงกว่าการรักษาปกติ 2. ต้องอธิบายให้ผู้ป่วย,ญาติ, พี่เลี้ยง ทราบถึงโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนต่อตับจากกยาต้านวัณโรคและสอน ให้สังเกตอาการที่เป็นตัวบ่งการเกิดภาวะแทรกซ้อนง่ายๆให้ทราบเช่นถ้ามีอาการ ตัวเหลือง – ตาเหลือง , คลื่นไส้อาเจียนหรือเบื่ออาหารมาก ให้หยุดยาและพบแพทย์ทันที โดยสอนก่อนใหัยาทุกครั้ง โดยเฉพาะในคนที่มีความเสี่ยงสูง เช่น ผู้สูงอายุ,ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ต้องให้เวลาในการให้คำแนะนำปรึกษามากขึ้นเป็นพิเศษจนเข้าใจ Page 41
42
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่มีภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านวัณโรค
3. ผู้ป่วยต้องงดดื่มสุราเด็ดขาด 4. ในรายที่มีปัจจัยเสี่ยงสูงต้องตรวจ liver function tests ก่อนการรักษาเสมอ เช่น ผู้สูงอายุ(มากกว่า 50 ปี), สตรีมีครรภ์ ,ดื่มสุรามาก , มีประวัติเป็นโรคตับเรื้อรัง(42) , มีภาวะทุพโภชนาการ , มี liver enzymes ผิดปกติก่อนการรักษา, ติดเชื้อโรคเอดส์, ได้ยาอย่างอื่นที่มีพิษต่อตับร่วมด้วย เป็นต้น Page 42
43
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่มีภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านวัณโรค
5. ในรายที่มีอาการสงสัยภาวะแทรกซ้อนจากตับให้แพทย์ส่งตรวจ liver function tests ทุกราย และในรายที่ liver function tests ผิดปกติก่อนรักษาจะต้องติดตามดูผลการทำงานของตับอย่างใกล้ชิด ในช่วงแรกๆอาจต้องตรวจเลือดทุกสัปดาห์ 6. ถ้ามีความผิดปกติของตับที่รุนแรง คือ มีอาการตับอักเสบชัดเจน หรือค่า liver enzymes สูง เกิน 3-5 เท่า หรือ Bilirubin เกิน 3 mg % ให้หยุดยาทันที Page 43
44
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่มีภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านวัณโรค
7.ในกรณีที่จำเป็นต้องให้ยาในการรักษาเร่งด่วน ให้ใช้ยาที่ไม่มีพิษต่อตับเช่น Ethambutol , Streptomycin , Ofloxacin เป็นต้น 8.การทดลองให้ยาใหม่ (Re-challenge test) ต้องรอให้ตับและผู้ป่วยมีสภาพที่ดีก่อน โดยทั่วไปหลังหยุดยา 1-2 สัปดาห์ผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้นมาก แต่บางรายจะมีอาการนานกว่านั้น 9.ในรายที่มีอาการรุนแรงมาก ๆ เช่น Fulminant hepatitis ถ้าไม่มีเหตุผลที่จำเป็นจริงๆไม่ควรทดลองให้ยาที่มีพิษต่อตับใหม่ Page 44
45
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่มีภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านวัณโรค
10. ในรายที่มีตับอักเสบ ให้ตรวจ liver function tests อย่างน้อยทุก 7 วัน 11.ในบางกรณี เช่น ผู้ป่วยที่แข็งแรงดี ไม่มีโรคประจำตัว , ไม่ดื่มสุราเป็นประจำ อยู่ในวัยหนุ่ม – สาว ถ้ามีอาการตับอักเสบไม่รุนแรงมาก และเป็นวัณโรคที่ไม่รุนแรง หลังจากหยุดยา 1-2 สัปดาห์ อาจพิจารณาให้ยาวัณโรคชนิดเดิมและขนาดเดิม ตามสูตรการรักษาไปเลยพร้อมกันทุกชนิด แต่จะต้องอธิบายถึงอาการแทรกซ้อนให้ผู้ป่วยเข้าใจอย่างดี และติดตามการรักษาอย่างใกล้ชิด (ไม่ควรห่างเกินสัปดาห์ละครั้ง) Page 45
46
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่มีภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านวัณโรค
ส่วนผู้ป่วยที่อายุมากกว่า 50 ปีถ้ามีพิษต่อตับแบบ Hepatocellular ไม่ควรทดลองยาซ้ำใหม่ โดยให้ยาเดิมและขนาดเดิมพร้อมกันทุกชนิดแบบนี้ 12. ผู้ป่วยที่เป็นวัณโรคตับจะมี Liver function tests ผิดปกติ ตั้งแต่ก่อนรักษาสามารถให้ยารักษาวัณโรคตามปกติได้ โดย Liver function tests จะค่อย ๆ กลับมาเป็นปกติ แต่ต้องติดตามดูอาการอย่างใกล้ชิดเช่นเดียวกัน Page 46
47
แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่มีภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านวัณโรค
13.ถ้าผู้ป่วยกินยา Phenobarbitol และ ยาในกลุ่ม Phenothiazine ควรหยุดยาเหล่านี้ เพราะยาจะไปเพิ่ม Metabolite ของ Isoniazid ทำให้พิษของตับมากขึ้น 14.ไม่ควรให้ Isoniazid ร่วมกับRifampicin ทันที หลังผ่าตัดใหญ่ที่ได้ General anesthesia เพราะมีโอกาสทำให้เกิดพิษต่อตับมากขึ้น Page 47
48
การทำRe-challenge test
คือการให้ยาเข้าไปใหม่โดยไม่รู้ว่ายาชนิดใดที่ทำให้เกิดปัญหากับผู้ป่วย โดยอาจจะมีจุดประสงค์อันหนึ่งในการทดสอบว่าผู้ป่วยแพ้หรือมีปัญหากับยาอะไร ดังนั้นสิ่งที่ต้องคำนึงเป็นอันดับแรกเสมอคือความปลอดภัยของผู้ป่วย เช่นในกรณีที่ผู้ป่วยแพ้ยารุนแรงแบบ Steven Johnson Syndrome ผู้ปวยมีภาวะ Fulminant hepatitis จากยา ไม่ควรทำการทดสอบถ้าไม่มีเหตุอันควรทีจำเป็นจริง ๆ Page 48
49
การทำRe-challenge test
ขึ้นกับความพร้อมความเหมาะสมของผู้ป่วยและผู้ให้การรักษา เช่น ผู้ป่วยวัณโรคได้ยา H,R,Z,E และมีผื่นเกิดขึ้นรุนแรงปานกลางและจำเป็นต้องให้ยาใหม่ หลังจากหยุดยาและผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นแล้ว อาจทดสอบยาทีละชนิดห่างกัน 3-7 วัน เพื่อค้นหายาที่เป็นสาเหตุ มักจะนิยมเริ่มด้วย Isoniazid 5-7 วัน ถ้าไม่มีผื่นแพ้ยาให้ยาต่อด้วย Rifampicin 5-7 วัน ถ้าไม่มีผื่นก็ให้ Pyrazinamide และ Ethambutol ต่อไปตามลำดับ แต่ถ้าให้ยาตัวใดตัวหนึ่งแล้วเกิดผื่นขึ้นก็อาจแสดงว่าแพ้ยาตัวนั้น (มีหลายครั้งที่ผู้ป่วยแพ้ยามากกว่า 1 ชนิด ) Page 49
50
วัณโรค (มหันตภัย…ที่กลับมาอีกครั้ง)
องค์การอนามัยโลก (ประกาศ เมษายน 2536) วัณโรค ปัญหาฉุกเฉินของโลก (มหันตภัย…ที่กลับมาอีกครั้ง) วัณโรคชนิดดื้อยา รักษาไม่หาย , ประชากรทั่วไปติดเชื้อ/ป่วย และ ผู้ป่วยเสียชีวิตในเวลาไม่กี่ปี Page 50
51
2002 : highest estimated TB rates per capita were in Africa
per pop < 10 Thailand 300 or more No estimate The designations employed and the presentation of material on this map do not imply the expression of any opinion whatsoever on the part of the World Health Organization concerning the legal status of any country, territory, city or area or of its authorities, or concerning the delimitation of its frontiers or boundaries. White lines on maps represent approximate border lines for which there may not yet be full agreement. © WHO 2004 Page 51 Global Tuberculosis Control. WHO Report WHO/HTM/TB/ DPC 9th, PL.
52
สถานการณ์/ข้อเท็จจริงวัณโรค
ระดับโลก ประชากร 1 ใน 3 ของโลกติดเชื้อวัณโรค (ทุกวินาที มีผู้ติดเชื้อ 1 คน) เป็นผู้ป่วย 9 ล้านคน (142/100,000) ตาย 3 ล้านคน เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของโรคติดเชื้อ ผู้ป่วยวัณโรค/เอดส์ (ร่วมด้วย) 674,000 คน (11/100,000) ไม่ป่วยเป็นวัณโรคทุกคน Page 52
53
ผู้ป่วยและผู้ตายอยู่ในประเทศกำลังพัฒนา ร้อยละ 95 และอยู่ในวัยแรงงาน
ร้อยละ 95 และอยู่ในวัยแรงงาน หลายประเทศ ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์วัณโรคได้ มีผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตจากวัณโรคมากขึ้น ผลกระทบจากการระบาดของเอดส์ทำให้ปัญหาวัณโรครุนแรง/ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น Page 53
54
สถานการณ์/ข้อเท็จจริงวัณโรค
ประเทศไทย ทุกๆปีมีผู้ป่วยใหม่ 100,000 คน (ระยะแพร่เชื้อ 50,000 คน) ได้รับการรักษา 25,000 คน (เฉพาะเสมหะบวก+) ความชุกจาก X-ray ~ 1% ความชุกจาก AFB (เสมหะบวก) ~ 0.1% อัตราการติดเชื้อรายปี 1.4 % Page 54
55
สถานการณ์/ข้อเท็จจริงวัณโรค
ประเทศไทย (ต่อ) อัตราการติดเชื้อเฉลี่ยทุกกลุ่มอายุ ~ 30% ผู้ป่วยวัณโรคติดเชื้อเอดส์ ~ % อัตราการดื้อยาวัณโรคหลายขนาน (MDR-TB)1.65 % วัณโรคเพิ่มขึ้นทุกภาค ทุกจังหวัดของประเทศ ผลการรักษาหายต่ำ % Page 55
56
Pavongsak Rientrairat ,M.D
แก้ไขวิกฤตวัณโรค 14 สิงหาคม 2551 อะไรที่เป็นสัญญาณบ่งบอกว่า ปัญหาวัณโรคของประเทศไทย ไม่น่าไว้วางใจ Page 56
57
สาเหตุ/ปัญหาทั่วไป ความยากจน (ประเทศกำลังพัฒนา) การมองข้ามปัญหา
ความยากจน (ประเทศกำลังพัฒนา) การมองข้ามปัญหา การค้นหา , การวินิจฉัย การรักษาที่ไม่เหมาะสม ผลการระบาดของ HIV ผู้ป่วยTBเดินทางไปได้ทั่วโลกพร้อมกับการแพร่เชื้อTBด้วย Page 57
58
ความไม่เหมาะสมของงบประมาณ และความตระหนักของผู้เกี่ยวข้อง
ความไม่เหมาะสมของโครงสร้างองค์กรและการบริการ ความไม่เหมาะสมของการดูแลผู้ป่วย การให้ความเชื่อถือ “วัคซีน BCG” มากเกินไป Page 58
59
การดื้อต่อยาวัณโรคสูง
ปัญหาเฉพาะ *** ขาดความร่วมมือในการรักษาให้หายขาด TB ผลการรักษาหายต่ำ *** เอดส์ระบาด ผู้ป่วยเพิ่มขึ้น การดื้อต่อยาวัณโรคสูง ผู้ป่วยตายมากขึ้น Page 59
60
อดีตที่ผ่านมา…ของผู้ป่วย
กับ… การยอมรับ / ร่วมมือในการรักษา ใช้เวลารักษานาน (18-24 เดือน) ยามาก / ฤทธิ์ข้างเคียงมาก การติดต่อสถานบริการไม่สะดวก / ขั้นตอนมาก เสียเงิน / ค่ายาแพง ไม่มีเงิน / ค่าเดินทาง Page 60
61
ไม่มีญาติ / ผู้สูงอายุ สถานบริการไม่มียาจ่ายสม่ำเสมอ
ไม่มีระบบนัดหมาย / ติดตามที่เหมาะสม เวลาให้บริการไม่สะดวก (เวลาราชการ) ความไม่เสมอภาค Page 61
62
DOTS แก้ไขได้ ด้วย ส่งผลให้... การรักษาไม่สม่ำเสมอ ไม่ได้รักษา
ผู้ป่วยมาก/ตาย ขาดยา/ดื้อยา DOTS Page 62
63
DOTS กับ DOT ต่างกันอย่างไร
Page 63
64
DOTS: เป็น brand name ของกลยุทธ์ที่ใช้ต่อสู้กับวัณโรค มี 5 ยุทธวิธี
พันธสัญญา การวินิจฉัยเน้น bacteriology (=direct smear และ culture) การรักษาแบบ supportive และ supervise (=dot) ยามีคุณภาพและไม่ขาดแคลน บันทึก/รายงานที่ดี, สามารถประเมินผลกระทบได้ Page 64
65
เป็นการกินยาภายใต้การสังเกตโดยตรง มีพยานรู้เห็น มีพี่เลี้ยง
DOT,dot เป็นการกินยาภายใต้การสังเกตโดยตรง มีพยานรู้เห็น มีพี่เลี้ยง Page 65
66
DOT ย่อมาจาก D : directly O : observe T : treatment Page 66
67
การทำ DOTให้สำเร็จต้อง
ไม่ทำ DOT DOT DOT DOT = sloppy DOT หน่วยบริการต้องพูดภาษาเดียวกัน “This is the way we do it” เราทำอย่างนี้ เราทำพรรค์นี้ แล้วแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น มาลำบาก เวลาไม่ตรงกัน Page 67
68
การรักษาวัณโรค เป็นแนวคิด “การรักษาเพื่อการควบคุมโรค”
To cure is the best prevention คุณหาย เราปลอดภัย “ ง้อ ” Page 68
69
dot ควรใช้กับผู้ป่วยประเภทใด
PTB SS. Positive MDR.TB PTB.SS. Negative Page 69
70
ควรทำ dot เฉพาะinitial phase หรือตลอดไป
ขึ้นกับระบบยาที่ใช้ เพื่อ preserve RMP 2HRZE/4HR 2HRZE/6HE dot ตลอด 6 เดือน dot เพียง 2 เดือน Page 70
71
Pavongsak Rientrairat ,M.D
14 สิงหาคม 2551 หลักในการใช้ยารักษาวัณโรค ต้องใช้ยาอย่างน้อย 3-4 ขนานพร้อมกัน ต้องให้ยาในขนาดที่เพียงพอ ผู้ป่วยต้องกินยาอย่างสม่ำเสมอ ระยะเวลาที่กินยาต้องครบถ้วนตามมาตรฐานการรักษา Page 71
72
Pavongsak Rientrairat ,M.D
14 สิงหาคม 2551 ยารักษาวัณโรคในปัจจุบัน ยากิน ไอโสไนอาสิด ไรแฟมปิซิน ไพราซินาไมด์ เอธแธมบูทอล ยาฉีด สเตร็บโตมัยซิน Page 72
73
Pavongsak Rientrairat ,M.D
14 สิงหาคม 2551 พี่เลี้ยงกำกับการกินยา ...เป็นใครได้บ้าง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข สมาชิกในครอบครัว Page 73
74
สิ่งที่พี่เลี้ยงดูแลการกินยาของผู้ป่วยวัณโรคพึงปฏิบัติ
Pavongsak Rientrairat ,M.D 14 สิงหาคม 2551 สิ่งที่พี่เลี้ยงดูแลการกินยาของผู้ป่วยวัณโรคพึงปฏิบัติ มีความรู้เกี่ยวกับวัณโรค : อาการ การแพร่กระจายเชื้อวัณโรค การรักษา การป้องกัน ไม่แสดงท่าทีรังเกียจผู้ป่วย เอาใจใส่ผู้ป่วย ถ้าติดตามถึงบ้านผู้ป่วยได้จะดีมาก ให้ความรู้ความเข้าใจกับครอบครัวของผู้ป่วย ติดตามการกินยาอย่างสม่ำเสมอ และให้ผู้ป่วยกินยาต่อหน้า หมั่นไต่ถามอาการผู้ป่วยให้กำลังใจผู้ป่วย หมั่นย้ำเรื่องการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ทำเครื่องหมายในบัตรบันทึกการกินยา “ดอทการ์ด” ทุกครั้ง ให้ข้อมูลผู้ป่วยแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รักษาความลับผู้ป่วย ทำตนให้ผู้ป่วยนับถือ Page 74
75
สิ่งที่พี่เลี้ยงดูแลการกินยาของผู้ป่วยวัณโรคพึงปฏิบัติ
Pavongsak Rientrairat ,M.D 14 สิงหาคม 2551 สิ่งที่พี่เลี้ยงดูแลการกินยาของผู้ป่วยวัณโรคพึงปฏิบัติ แนะนำการปฏิบัติตัวระหว่างรักษา เช่น ให้กินยาต่อเนื่องจนครบ ให้รักษาความสะอาดในบ้าน เปิดห้องให้โปร่ง ให้ลมและแสงสว่างส่องถึง ให้สุขศึกษาเกี่ยวกับ การแพร่เชื้อวัณโรคว่า แพร่ทางการหายใจ จาม ควรระวังไอจามให้ปิดปาก อย่าบ้วนน้ำลายเปรอะเปื้อน การทำลายเชื้อ โดยบ้วนน้ำลายใส่ภาชนะ แล้วเผาไฟ ภาชนะควรลวกน้ำร้อน เสื้อผ้าสิ่งของคนไข้ควรลวกด้วยน้ำเดือด หรือผึ่งแดดตอนเที่ยง เพื่อให้แสงแดดทำลายเชื้อโรค กรณีผู้ป่วยย้ายที่อยู่ ควรแจ้งเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องให้ทราบภายใน 24 ชั่วโมง Page 75
76
Page 76
77
วิธีการของพี่เลี้ยงในการดูแลผู้ป่วยกินยาต่อหน้า
Pavongsak Rientrairat ,M.D 14 สิงหาคม 2551 วิธีการของพี่เลี้ยงในการดูแลผู้ป่วยกินยาต่อหน้า เตรียมยาไว้ให้พร้อม ภาชนะ น้ำ เมื่อผู้ป่วยมาถึงให้กินยาและคอยดูแลให้ผู้ป่วยกินยาจนครบทุกชนิด ทำเครื่องหมายในบัตรบันทึกการกินยา “ดอทการ์ด” ซักถามอาการผู้ป่วย เพื่อรับทราบปัญหาและหาแนวทางช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ถ้าผู้ป่วยมีอาการตาพร่า ตัวเหลือง ตาเหลือง ให้รีบไปพบแพทย์ พูดคุยให้กำลังใจผู้ป่วย สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วย และญาติ แนะนำการปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพ เช่น อาหาร การพักผ่อน การออกกำลังกาย การทำจิตใจให้แจ่มใส Page 77
78
ถ้าผู้ป่วยไม่มากินยาตามเวลา
Pavongsak Rientrairat ,M.D 14 สิงหาคม 2551 วิธีการปฏิบัติของพี่เลี้ยง ถ้าผู้ป่วยไม่มากินยาตามเวลา ติดตามผู้ป่วยทันที หากผิดนัดเกิน 24 ชั่วโมง ค้นหาสาเหตุการผิดนัด และให้ยามื้อที่ไม่ได้กินยาในวันเดียวกัน ถ้าหากติดตามไม่ได้ แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทราบ ภายใน 24 ชั่วโมง หากเมื่อวานผิดนัดอย่าให้ยามื้อที่ไม่ได้กินเมื่อวาน และมื้อวันนี้พร้อมกันในวันเดียว Page 78
79
ตัวอย่างคำถาม ที่พี่เลี้ยงควรถามผู้ป่วย
Pavongsak Rientrairat ,M.D 14 สิงหาคม 2551 ตัวอย่างคำถาม ที่พี่เลี้ยงควรถามผู้ป่วย อาการไอเป็นอย่างไร การพักผ่อนนอนหลับเป็นอย่างไร รับประทานอาหารอะไรบ้าง มีอาการผิดปกติอะไรบ้าง มีปัญหากังวลจิตใจอะไรบ้าง ทำไม ? Page 79
80
การป้องกันตนเองของพี่เลี้ยงในการดูแลผู้ป่วย
Pavongsak Rientrairat ,M.D 14 สิงหาคม 2551 การป้องกันตนเองของพี่เลี้ยงในการดูแลผู้ป่วย มีความพร้อมทั้งสุขภาพกายและใจ คือ ร่างกายแข็งแรง จิตใจพร้อมช่วยเหลือ มีความรู้เรื่องโรคและการป้องกันโรค แนะนำให้ผู้ป่วยถือและใช้ผ้าเช็ดหน้าปิดปาก หรือใช้หน้ากากอนามัยเมื่อไอ จาม ในขณะพูดคุยกับผู้ป่วย ดูแลผู้ป่วยในสถานที่โล่งแจ้ง อากาศถ่ายเทได้ดี ไม่ควรเปิดพัดลมขณะพูดคุยกับผู้ป่วย ล้างมือทุกครั้งหลังจากกลับจากบ้านผู้ป่วย Page 80
81
Page 81
82
หัวข้อบันทึกการเยี่ยมบ้าน
ชื่อผู้ป่วย วันที่เยี่ยมบ้าน ชื่อพี่เลี้ยง (จนท./อสม./ญาติ/กินยาเอง/อื่นๆ) การกินยาถูกต้องหรือไม่ (ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง) ตรวจสีปัสสาวะ (สีส้ม/ไม่มีสีส้ม) การรับประทานอาหาร (กินได้ดี/กินได้น้อย/กินไม่ได้) อาการทั่วไป (ไอมาก/ไอน้อยลง/ปกติ/อื่นๆ) อาการข้างเคียงจากยา (ไม่มี/ผื่นคัน/ปวดข้อ/ตามัว/ตาเหลือง/ตัวเหลือง/หูอื้อ/อื่นๆ) การดูแล และคำแนะนำ นัดเยี่ยมบ้านครั้งต่อไป เจ้าหน้าที่ สธ. (ผู้เยี่ยมบ้าน) เซ็นชื่อ Page 82
83
Page 83
84
บทบาทหน้าที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข (สถานีอนามัยหรือศูนย์สุขภาพชุมชน)
บทบาทหน้าที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข (สถานีอนามัยหรือศูนย์สุขภาพชุมชน) เป็นพี่เลี้ยงในการดูแลให้ผู้ป่วยกินยาต่อหน้าในพื้นที่รับผิดชอบ จนรักษาหาย เยี่ยมบ้านให้เร็วที่สุด ภายใน 1-3 วัน ระยะเข้มข้นของการรักษา เยี่ยมสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ระยะต่อเนื่อง เยี่ยมเดือนละ 1 ครั้ง บันทึกผลการเยี่ยมบ้านใน “สมุดประจำตัวผู้ป่วยวัณโรค” ประสานข้อมูลผู้ป่วยกับโรงพยาบาล และจัดทำทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคในพื้นที่ของตนเอง ค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุก
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.