ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยVeronika Irawan ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
Mobile Computing and Commerce and Pervasive Computing
Chapter 6 Mobile Computing and Commerce and Pervasive Computing © 2008 Pearson Prentice Hall, Electronic Commerce 2008, Efraim Turban, et al.
2
Learning Objectives Describe the mobile computing environment that supports m-commerce (devices, software, services). Describe the four major types of wireless telecommunications networks. Define mobile commerce and understand its relationship to e-commerce. Discuss the value-added attributes, benefits, and fundamental drivers of m-commerce. Discuss m-commerce applications in finance, shopping, advertising, and provision of content. Describe the application of m-commerce within organizations.
3
Learning Objectives Understand B2B and supply chain management applications of m-commerce. Describe consumer and personal applications of m-commerce. Understand the technologies and potential application of location-based m-commerce. Describe the major inhibitors and barriers of m-commerce. Discuss the key characteristics and current uses of pervasive computing.
4
Mobile Computing: Content, Infrastructure, and Services
New Computing Environment: Mobile Computing Mobile devices personal digital assistant (PDA) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา ซึ่งสามารถเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ต ถูกออกแบบมาเพื่อใช้เก็บและจัดการสารสนเทศส่วนบุคล smartphone เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่สามารถเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ต สามารถใช้งานในเรื่องของ mobile applications ได้ blackberry เป็นอุปกรณ์แบบพกพาที่ทำหน้าที่หลักในการรับส่ง
5
Mobile Computing: Content, Infrastructure, and Services
6
Mobile Computing: Content, Infrastructure, and Services
Conversion of devices อุปกรณ์ที่เป็น handheld devices ผสมผสาน blogging, Instant Messages, SMS, andcและรูปแบบอื่นของ social networking ที่ใช้ผ่านเว็บเบราเซอร์ได้ง่าย,โดยเฉพาะการใช้งานผ่านแป้นพิมพ์ wireless mobile computing (mobile computing) การประมวลผลโดยการเชื่อมต่อผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่( mobile device)ไปยังระบบเครือข่ายหรือการประมวลผล โดยผ่านอุปกรณ์อื่นๆหรืออุปกรณ์ประมวลผลอื่นได้ตลอด, เวลาใดๆ(anytime), และที่ใดๆก็ได้ (anywhere)
7
Mobile Computing: Content, Infrastructure, and Services
Enabling Technologies for Mobile Computing โครงสร้างพื้นฐานด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ซึ่งสนับสนุนการเชื่อมต่อแบบไร้สายประกอบด้วย Network access points Mobile communications server switches Cellular transmitters and receivers
8
Mobile Computing: Content, Infrastructure, and Services
Mobile Computing Software Mobile operating system Microsoft,Symbian,Linux Palm OS, Windows CE(PockectPC), EPOC Mobile application user interface Microbrowser เป็นโปรแกรมเว็บบราวเซอร์แบบไร้สายขนาดเล็กที่ออกแบบมาใช้สำหรับแสดงผลบนจอภาพขนาดเล็กและมีข้อจำกัดด้าน bandwidth และ memory requirements Wireless Application Protocol (WAP) คือโปรโตคอลสำหรับอุปกรณ์พกพา เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือ PDA (Personal Digital Assistant) ซึ่งทำให้อุปกรณ์ไร้สายแบบต่างๆ สามารถรับ-ส่งข้อมูลและข้อความต่างๆ จาก WAP Site ที่ให้บริการบนเครือข่าย Internet ได้ ดังนั้น WAP จึงเป็นส่วนประกอบสำคัญของการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ M-Commerce
9
Mobile Computing: Content, Infrastructure, and Services
10
Mobile Computing: Content, Infrastructure, and Services
Markup languages Wireless Markup Language (WML) เป็นภาษาสคริปต์ ที่ใช้สำหรับสร้างเนื้อหาในสภาพแวดล้อมของ WAP ใช้ภาษา XML เป็นพื้นฐาน โดยขจัดเนื่อหาที่ไม่จำเป็นออกเพื่อเพิ่มความเร็วในการประมวลผล Compact Hypertext Markup Language (cHTML) เป็นภาษาสคริปต์ ที่ใช้สำหรับสร้างเนื้อหาในระบบ i-mode
11
Mobile Computing: Content, Infrastructure, and Services
Extensible Hypertext Markup Language (xHTML) เป็นภาษาสคริปต์แบบทั่วไปที่ compatible กับภาษา HTML ถูกกำหนดโดยองค์กร W3 Consortium voice XML (VXML) เป็นภาษาที่ขยายเพิ่มเติมจากภาษา XML ถูกออกแบบมาสำหรับดำเนินการเรื่องเสียง( voice)
12
Mobile Computing: Content, Infrastructure, and Services
Supporting devices synchronization การปรับปรุงการเปลี่ยนแปลงสารสนเทศโดยใช้ computing devices Docking stations Attachable keyboards Batteries Media players
13
Mobile Computing: Content, Infrastructure, and Services
Mobile Computing Services Short Message Service (SMS) เป็นบริการที่สนับสนุนการรับ-ส่งข้อความสั้นๆทีเป็นตัวอักษร(short text messages) บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ Enhanced Messaging Service (EMS) เป็นบริการส่วนขยายของ SMS ที่สนับสนุนการรับ-ส่งภาพขนาดเล็ก ภาพเคลื่อนไหว เสียงและข้อความที่มีรูปแบบเฉพาะ(formatted text)
14
Mobile Computing: Content, Infrastructure, and Services
Multimedia Messaging Service (MMS) เป็น next generationของ wireless messaging; MMS สามาถส่งข้อความได้หลายรูปแบบมากที่สุด โดยสามารถรับส่งภาพสีและเสียง (rich media) ได้พร้อมกัน Micropayments เป็นการจ่ายเงินอิเลกทรอนิกส์สำหรับการชื้อของมีมีจำนวนเงินไม่มากนัก(โดยทั่วไปน้อยกว่า $10)
15
Mobile Computing: Content, Infrastructure, and Services
Location-based services global positioning system (GPS) เครื่องรับสัญญาณบอกตำแหน่งจากดาวเทียม โดย GPS สามารถบอกตำแหน่งได้ทุกแห่งบนโลกไม่ว่าเราจะอยู่ส่วนไหนก็ตาม (ยกเว้นขั้วโลกเหนือและใต้) Voice-support services interactive voice response (IVR) คือระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ตอบรับด้วยเสียง โดยผู้ใช้สามารถรับส่งและส่งสารสนเทศ สามารถนำเข้า เปลี่ยนแปลง แก้ไขข้อมูลผ่านโทรศัพท์เพื่อประมวลผลบนระบบคอมพิวเตอร์ voice portal เป็นเว็บไซต์ที่มีการติดต่อที่ใช้ audio interface และสามรถเข้าถึงโดยผ่านโทรศัพท์
16
Wireless Telecommunications Networks
Personal Area Network (PAN) คือเครือข่ายไร้สายสำหรับdevice-to-device ในการเชื่อมต่อในช่วงระยะทางสั้นๆ(small range) Bluetooth คือ ระบบสื่อสารของอุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์แบบสองทาง ด้วยคลื่นวิทยุระยะสั้น (Short-Range Radio Links) โดยปราศจากการใช้สายเคเบิ้ล หรือ สายสัญญาณเชื่อมต่อ และไม่จำเป็นจะต้องใช้การเดินทางแบบเส้นตรงเหมือนกับอินฟราเรด ซึ่งถือว่าเพิ่มความสะดวกมากกว่าการเชื่อมต่อแบบอินฟราเรด ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างโทรศัพท์มือถือ กับอุปกรณ์ มาตรฐาน IEEE
17
Wireless Telecommunications Networks
Wireless Local Area Networks and Wi-fi wireless local area network (WLAN) ระบบเครือข่ายไร้สาย (WLAN) คือ ระบบการสื่อสารข้อมูลที่มีความคล่องตัวมาก ซึ่งอาจจะนำมาใช้ทดแทนหรือเพิ่มต่อกับระบบเครือข่ายแลนใช้สายแบบดั้งเดิม โดยใช้การส่งคลื่นความถี่วิทยุในย่านวิทยุ RF และ คลื่นอินฟราเรด ในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ผ่านอากาศ ทะลุกำแพง เพดานหรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ โดยปราศจากความต้องการของการเดินสาย เพื่อเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตหรือเครือข่ายอื่น Wi-Fi (wireless fidelity) เป็นชื่อเรียกโดยทั่วไปที่อธิบายมาตรฐาน IEEE ที่ใช้บน WLANs
18
Wireless Telecommunications Networks
802.11b เป็นมาตรฐานของ Wi-Fi ที่นิยมมากที่สุด สามารถรับส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงสุดที่ 11 Mbps ผ่านคลื่นวิทยุความถี่ 2.4 GHz 802.11a เป็นมาตรฐานของ Wi-Fi ที่เร็วกว่า b สามารถรับส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงสุดที่ 54 Mbps ผ่านคลื่นวิทยุความถี่ 5 GHz แต่มีช่วงความถี่สั้น 802.11g เป็นมาตรฐานของ Wi-Fi ที่มีราคาแพงและนิยมใช้มากที่สุดในธุรกิจ สามารถรับส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงสุดที่ 54 Mbps ผ่านคลื่นวิทยุความถี่ 2.4 GHz 802.11n อยู่ระหว่างการพัฒนา สามารถรับส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงสุดที่ 200 ถึง540 Mbps
19
Wireless Telecommunications Networks
wireless access point เป็นอุปกรณ์แบบ antenna ที่ใช้เชื่อมต่ออุปกรณ์ไร้สาย(mobile device) ทีเชื่อมต่อกับเครือข่าย LAN ปกติ hotspot เป็นพื้นที่หรือจุดบริการที่สามารถนำเอา laptop หรือ PDA มาเชื่อมต่อเพื่อใช้เครือข่ายไร้สาย(wireless local area network :ปกติใช้ Wi-Fi)
20
Wireless Telecommunications Networks
21
Wireless Telecommunications Networks
Municipal Wi-fi Networks WiMax WiMAX เป็นชื่อย่อของ Worldwide Interoperability for Microwave Access ซึ่งเป็นเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสูงรุ่นใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาบนมาตรฐาน IEEE ซึ่งต่อมาก็ได้พัฒนามาตรฐาน IEEE a ขึ้น มีรัศมีทำการที่ 30 ไมล์ หรือเป็นระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตร อัตราความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลสูงสุดถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ซึ่งเร็วกว่า 3G ถึง 30 เท่า ใช้เชื่อมต่อบนพื้นที่ขนาดกลางเช่นในเมือง wireless metropolitan area network (WMAN) เป็นระบบเครือข่ายโทรคมนาคมที่ทำให้ผู้ใช้งานสามาถใช้เครือข่ายไร้สายขนาดกลาง( medium-range wireless) เชื่อมต่อไปยังอินเทอร์เน็ตหรือเครือข่ายอื่นๆ
22
Wireless Telecommunications Networks
23
Wireless Telecommunications Networks
WIRELESS WIDE AREA NETWORKS wireless wide area network (WWAN) เป็นระบบเครือข่ายโทรคมนาคมที่ทำให้ผู้ใช้งานสามารถใช้เครือข่ายไร้ ครอบคลุมพื้นที่ขนาดไกล(large geographical area) โดยเฉพาะเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่( cellular phone network) Physical topology of a WWAN subscriber identification module (SIM) card เป็นหน่วยความจำที่สามารถดึงข้อมูล(extractable storage card)ใช้สำหรับแสดงตัวตน( identification), บอกสารสนเทศตำแหน่งลูกค้า การประมวลผลการทำธุรกรรม และความมั่นคงในการสื่อสาร ๆ
24
Wireless Telecommunications Networks
WWAN communication bandwidths 1G เป็นยุคที่ 1 ของเทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย ใช้เทคโนโลยีอนาล็อก( analog based) อยู่ในช่วง 2G เป็นยุคที่ 2 ของเทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย ใช้เทคโนโลยี digital radioสามารถส่งข้อมูลเป็นข้อความ(SMS) และสนับสนุนข้อมูลเสียง 2.5G เป็น interim wireless technology สามารถทำงานสนับสนุนโปรโตคอลบนโทรศัพท์เคลื่อนที่เช่น GPRS(General Packet Radio Service) และ CDMA2000 (Code Division Multiple Access) สนับสนุนข้อมูลที่เป็นข้อความ เสียง และกราฟิก (limited graphics)
25
Wireless Telecommunications Networks
3G เป็นยุคที่ 2 ของเทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายแบบดิจิตอล สนับสนุน rich media เช่น video 3G เริ่มต้นในญี่ปุ่น ในปี2001 และแพร่หลายในยุโรปปี 2002 และอเมริกาปี 2003 3.5G This generation was inserted into the ranks of cell phone generations; it refers to the packet-switched technologies used to achieve higher transmission speeds down load speed 14Mbps,Upload speed 1.8Mbps Improvement mobile voice telephony, video telephony, mobile TV and other media 4G เป็นยุคที่จะมาถึงของเครือข่ายไร้สายซึ่งสมารถแสดงผล multimedia ได้อย่างรวดเร็ว คาดว่าประมาณ 2008และ 2010
26
Wireless Telecommunications Networks
WWAN communication protocols Frequency Division Multiple Access (FDMA) Time Division Multiple Access (TDMA) เป็นระบบที่ใช้ความถี่ร่วมกันในการส่งข้อมูลและถูกออกแบบให้สามารถส่งได้ทั้งสัญญาณเสียงและข้อมูลพร้อมๆกันได้ โดยอาศัยเทคนิคในการแบ่งเวลาออกเป็นหน่วยย่อยๆ (Frame) และแต่ละหน่วยย่อยของเวลาจะแบ่งออกเป็น Slot ในการส่งข้อมูล Code Division Multiple Access (CDMA) เป็นระบบที่ใช้การส่งสัญญาณออกไปพร้อมๆ กันโดย ใช้เทคนิคการถอดรหัสคือ เครื่องของผู้รับสัญญาณจะต้องมีตัวถอดรหัสเฉพาะของแต่ละเครื่อง จุดเด่นคือ ตัวอุปกรณ์ไม่จำเป็นต้องใช้พลังงานมากในการรับส่งข้อมูล อีกทั้งสามารถเปลี่ยนความถี่ได้ WWAN network systems Global System for Mobile Communications (GSM) ระบบ TDMA ที่ความถี่ 900 Mhz ที่กำลังได้รับความนิยม ใช้สำหรับ mobile voice และ data communications
27
เทคโนโลยีในยุค 3 G EDGE (Enhanced Data Rates for GSM E volution) เป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยีในการเพิ่มความเร็วการส่งข้อมูลให้สูงถึง 384 Kbps ในอดีตเรียกเทคโนโลยีนี้ว่า GSM384 และได้รับการพัฒนาจาก Ericsson เป็นรายแรก EDGE จะเป็นเทคโนโลยีที่ใช้กับระบบ GSM เท่านั้น โดยระบบ GSM ปัจจุบัน จะมีอัตราความถี่ในการส่งข้อมูล (Data Rate) อยู่ที่ 200 KHz เทคโนโลยี EDGE จะเข้ามาปรับแต่งการส่งสัญญาณ (Modulation) โดยใช้เทคนิค Eight Phase Shift Keying (8 PSK)เพื่อให้ได้ความเร็วในการส่งที่สูงขึ้น ด้วยความถี่เดิมที่ 200 KHz การปรับแต่งนี้จะเป็นการผสมระหว่างเทคนิคการปรับแต่งความถี่ (Frequency Modulation) กับเทคนิคการปรับแต่งมุมของคลื่น (Phase Modulation)
28
เทคโนโลยีในยุค 3 G WCDMA (Wideband Code Division Multiple Access) เป็นเทคโนโลยีที่จะช่วยเพิ่มอัตราการส่งข้อมูลได้ถึง 2 Mbps ในพื้นที่ใกล้เคียง แต่ยังคงเป็น 384 Kbps ในพื้นที่ต่างกัน ที่ทำได้เช่นนี้เนื่องจากมีการเปลี่ยนช่วงความถี่จาก 200 KHz ไปที่ 5 MHz ซึ่งการที่จะทำได้นั้น ก็จะต้องได้รับการยอมรับจากระบบโทรคมนาคมในประเทศนั้นด้วย
29
Mobile Commerce: Attributes, Benefits, and Drivers
mobile commerce (m-commerce, m-business) เป็นกิจกรรมธุรกิจที่ดำเนินการบนระบบเครือข่ายโทรคมนาคมแบบไร้สาย(wireless telecommunications network) หรือจากอุปกรณ์เคลื่อนที่(mobile devices) Attributes of M-Commerce Ubiquity Convenience Interactivity Personalization Localization
30
Mobile Commerce: Attributes, Benefits, and Drivers
31
Mobile Commerce: Attributes, Benefits, and Drivers
Drivers of M-Commerce Widespread availability of more powerful devices The handset culture The service economy Vendor’s push The mobile workforce Increased mobility Improved price/performance Improvement of bandwidth
32
Mobile Financial Applications
Mobile Banking and Financial Services ลูกค้าสามารถใช้อุปกรณ์ mobile handsets ในการดูยอดเงินในบัญชี (account balances) ชำระใบเสร็จ(pay bills) และการโอนเงินโดยใช้SMS Wireless Electronic Payment Systems Wireless payment systems transform mobile phones into secure, self-contained purchasing support tools capable of instantly authorizing payments over the cellular network m-wallet (mobile wallet) เทคโนโลยีที่ทำให้ผู้ถือบัตร(cardholders)สามารถซื้อสินค้าด้วยการคลิกครั้งเดียวจาก wireless device
33
Mobile Financial Applications
34
Mobile Financial Applications
Wireless Bill Payments บริษัทจำนวนมากให้บริการลูกค้าโดยลูกค้าสามารถชำระใบเสร็จ(bills)โดยตรงผ่านโทรศัพท์มือถือได้(cell phone) Closing the digital divide สามารถใช้ WWANs, mobile devices, และแม้กระทั่งโทรศัพท์เคลื่อนที่ปกติ ถูกนำมาขจัดช่องว่างในการใช้เทคโนโลยี(digital divide)ในประเทศที่กำลังพัฒนาเช่นจีน อินเดียและฟิลิปปินส์
35
Mobile Shopping, Advertising, and Content
Wireless Shopping An increasing number of online vendors allow customers to shop from wireless devices, especially cell phones and PDAs Mobile and Targeted Advertising Knowing the real-time location of mobile users and their preferences or surfing habits, marketers can send user-specific advertising messages to wireless devices
36
Mobile Shopping, Advertising, and Content
mobile portal เป็นแหล่งรวมสินค้า(content) และบริการที่ทำให้ลูกค้า(users)สามารถเข้าถึงได้แบบโดยใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ได้
37
Mobile Enterprise and Supply Chain
Support of Mobile Employees Mobile office sales force mobilization The process of equipping sales force employees with wireless Internet-enabled computing devices Worker support in retailing Support in hospitals Support in operations
38
Mobile Enterprise and Supply Chain
Tracking employees Job dispatch Maintenance and repair at remote sites wearable devices เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการคำนวณแบบไร้สายเคลื่อนที่(Mobile wireless computing devices),ใช้สำหรับติดตามส่วนต่างๆตามร่างกายของพนักงาน สำหรับพนักงานที่ทำงานตามอาคารสูงหรือสถานที่ที่ต้องปีนป่าย
39
Mobile Enterprise and Supply Chain
Supporting Other Types of Work Customer and Partner Support Non–Internet Enterprise Applications B2B M-Commerce and Supply Chain Management
40
Mobile Personal and Consumer Service Applications
Mobile Entertainment Mobile games and gambling Hands-free driving Wireless Telemedicine Other Mobile Computing Services for Consumers Non–Internet Mobile Applications for Consumers
41
Location-Based Mobile Commerce
location-based m-commerce (l-commerce) Delivery of m-commerce transactions to individuals in a specific location, at a specific time The services provided through location-based m-commerce focus on five key factors: Location Navigation Tracking Mapping Timing
42
Location-Based Mobile Commerce
The Technology For L-Commerce Global positioning system ระบบรับสัญญาณบอกตำแหน่งจากดาวเทียม โดย GPS สามารถบอกตำแหน่งได้ทุกแห่งบนโลกไม่ว่าเราจะอยู่ส่วนไหนก็ตาม geographical information system (GIS) ระบบคอมพิวเตอร์ทีสามารถบูรณาการเรื่องการจัดเก็บ การแก้ไจ การวิเคราะห์ การใช้งานร่วมกัน(integrating, storing, editing, analyzing, sharing)และการแสดงสารสนเทศทางภูมิศาตร์ GPS/GIS applications
43
Location-Based Mobile Commerce
Location-Based Advertising Emergency Response Cell Phone Calls wireless 911 (e-911) In the United States, emergency response system that processes calls from cellular phones automatic crash notification (ACN) Device that automatically sends the police the location of a vehicle that has been involved in a crash
44
Location-Based Mobile Commerce
telematics The integration of computers and wireless communications to improve information flow using the principles of telemetry Other Applications of Location-Based Systems
45
Location-Based Mobile Commerce
Barriers to Location-Based M-Commerce Accuracy of devices : ความแน่นอนของอุปกรณ์ The cost-benefit justification Limited network bandwidth : ข้อจำกัดของแบลนวิดส์ของเครือข่าย Invasion of privacy : การลุกล้ำสิทธิส่วนบุคคล
46
Security and Other Implementation Issues in M-Commerce
M-Commerce Security Issues Malicious codes Transaction security Wireless communication Physical security of mobile devices Ease of use and poor security Security measures
47
Security and Other Implementation Issues in M-Commerce
Technological Barriers to M-Commerce Many Web sites are not designed for viewing by mobile devices Current devices have limited usability, particularly with respect to pocketsize screens or data input devices Quick and easy navigation of sites is necessary but not always available in the mobile environment
48
Security and Other Implementation Issues in M-Commerce
Ethical, Legal, and Health Issues in M-Commerce Barriers for Enterprise Mobile Computing Project Failures in M-Commerce
49
Pervasive Computing pervasive computing
Invisible, everywhere computing that is embedded in the objects around us Invisible computing Principles of pervasive computing Decentralization Diversification Connectivity Simplicity
50
Pervasive Computing contextual computing
The enhancement of a user’s interactions by understanding the user, the context, and the applications and information required radio frequency identification (RFID) Technology that uses radio waves to identify items
51
Pervasive Computing
52
Pervasive Computing RFID Applications Electronic Product Code (EPC)
Track moving vehicles Track people Track individual items Protect secure areas Record transactions Electronic Product Code (EPC) An RFID code that identifies the manufacturer, producer, version, and serial number of individual consumer products
53
Pervasive Computing Smart Applications: Homes, Cars, and More
Smart homes Lighting Energy management Water control Home security and communications Home entertainment
54
Pervasive Computing Barriers to Pervasive Computing Smart cars
sensor network A series of interconnected sensors that monitor the environment in which they are placed Barriers to Pervasive Computing A number of technological, legal, and ethical issues still need to be fully explored and resolved if the promises of pervasive computing are to be realized
55
Managerial Issues What’s our timetable? Which applications first?
Is it real or just a buzzword? Which system to use? Is an all-in-one device a winner? Which will win the wireless race: WiMax, Wi-Fi, or 3G?
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.