ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยFenna Bosman ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
บทที่ 6 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
This template can be used as a starter file for presenting training materials in a group setting. Sections Right-click on a slide to add sections. Sections can help to organize your slides or facilitate collaboration between multiple authors. Notes Use the Notes section for delivery notes or to provide additional details for the audience. View these notes in Presentation View during your presentation. Keep in mind the font size (important for accessibility, visibility, videotaping, and online production) Coordinated colors Pay particular attention to the graphs, charts, and text boxes. Consider that attendees will print in black and white or grayscale. Run a test print to make sure your colors work when printed in pure black and white and grayscale. Graphics, tables, and graphs Keep it simple: If possible, use consistent, non-distracting styles and colors. Label all graphs and tables.
2
การสร้างงานกราฟิกส์ This is another option for an Overview slides using transitions.
3
การสร้างงานกราฟิกส์ การสร้างภาพกราฟิกส์ด้วยคอมพิวเตอร์ มีวิธีการสร้าง 2 แบบคือ แบบ Bitmap (Raster) แบบ Vector (Stroked)
4
กราฟิกส์แบบ Bitmap เกิดจากจุดสีที่เรียกว่า pixels
ประกอบกันเปนรูปรางบนพื้นที่ที่มีลักษณะเปนเสน ตาราง มีคาของตําแหนง และคาสีของตัวเอง เหมาะสมตอการแสดงภาพที่มีเฉด และสีสันจํานวน มาก เชนภาพถาย หรือ ภาพวาด
5
กราฟิกส์แบบ Bitmap ภาพแบบ Bitmap เปนภาพที่ขึ้นอยูกับความละเอียด หรือความคมชัด (Resolution)
6
กราฟิกส์แบบ Bitmap 1.1 พิกเซล (Pixel)
เทียบไดกับ "จุดภาพ" 1 จุด ที่บรรจุคาสี และถูกกําหนดตําแหนงไวบนเสนกริดของแนวแกน x และแกนy ภาพบิตแมปจะประกอบดวยพิกเซลหลายๆ พิกเซล พิกเซลของภาพเฉดสีขาว/ดํา พิกเซลของภาพสี
7
กราฟิกส์แบบ Bitmap จํานวนพิกเซลของภาพแตละภาพ จะเรียกวา ความละเอียด หรือResolution โดยจะเทียบจํานวนพิกเซลกับความยาวตอนิ้ว ดังนั้นจะมีหนวย เปนพิกเซลตอนิ้ว (ppi: pixels per inch) หรือจุดตอนิ้ว (dpi; dot per inch)
8
กราฟิกส์แบบ Bitmap 1.2 เอสเปกเรโซของภาพ (Image Aspect Ratio)
แอสเปกเรโชของภาพ คือ อัตราสวนระหวางจํานวนพิกเซลทางแนวขวางและจํานวนพิกเซลทางแนวดิ่งที่ใชในการสรางภาพ ขนาดของภาพและมักจะเขียนในรูปของ 800 x 600
9
กราฟิกส์แบบ Bitmap 1.3 รีโซลูชัน (Resolution)
หมายถึง รายละเอียดที่อุปกรณแสดงกราฟกชนิดหนึ่งมีอยู่ มักระบุเปนจํานวนพิกเซลในแนวนอนคือแนวแกน X และจํานวนพิกเซลในแนวตั้งคือแนวแกน Y ผูผลิตอุปกรณแสดงกราฟกส์บางรายจะระบุคารีโซลูชัน เป็น ระดับสูง (High Resolution) ปานกลาง (Medium Resolution) และระดับต่ำ (Low Resolution)
10
กราฟิกส์แบบ Bitmap 1.4 ไฟล์ภาพแบบ Bitmap คือ
ไฟล์ที่มีนามสกุล .BMP (Bitmap sequence) ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เพื่อแสดงผลภาพกราฟฟิคสำหรับระบบปฏิบัติการวินโดวส์ เป็นไฟล์ที่ไม่ค่อยมีประโยชน์ในด้านการใช้งานมากนัก จะใช้สำหรับเก็บกราฟฟิคไฟล์ที่เป็นต้นแบบเสียส่วนใหญ่ ไฟล์นามสกุล .TIF (Tagged Image File Format) เป็นกราฟฟิคไฟล์ที่สร้างมาเพื่อ โปรแกรมประเภทจัดหน้าหนังสือ (Desktop Publishing) สามารถเก็บข้อมูล รายละเอียดของภาพได้ค่อนข้างมาก ใช้ได้ทั้งใน Mac และ PC
11
กราฟิกส์แบบ Bitmap 1.4 ไฟล์ภาพแบบ Bitmap คือ
ไฟล์ที่มีนามสกุล . GIF (compu surve Graphic Interchange File) ถูกสร้างขึ้นมาโดยบริษัท Compu surve ซึ่งเป็นบริษัทที่ให้บริการด้านเครือข่ายของสหรัฐ เหมาะกับการเก็บไฟล์รูปภาพขนาดเล็ก และมีจำนวนของสีน้อย มีขนาดไฟล์เล็กเพราะสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในระบบเครือข่าย ไฟล์ที่มีนามสกุล .JPG (Joint Photographic Experts Group) เป็นไฟล์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อบีบอัดข้อมูลภาพ เพื่อให้มีขนาดกระทัดรัด เพื่อนำใช้งานในระบบอินเตอร์เนต นิยมมาใช้ในการแสดงผลรูปภาพบนเครือข่ายอินเตอร์เนตเช่นเดียวกับ GIF แต่มีวัตถุประสงค์ในการใช้งานแตกต่างกัน
12
กราฟิกส์แบบ Bitmap 1.4 ไฟล์ภาพแบบ Bitmap คือ ไฟล์ที่มีนามสกุล . PSD
คือ กราฟฟิคไฟล์ ของโปรแกรมตกแต่งรูปภาพ (Retouching) Adobe Photoshop ไฟล์ PSD นี้จะใช้กับโปรแกรม Adobe Photoshop เพื่อการแก้ไขตกแต่งรูปภาพ ไฟล์ที่มีนามสกุล .PNG เป็นกราฟฟิคไฟล์ชนิดล่าสุด ที่นำมาใช้แสดงผลภาพบนเวบเพจ
13
กราฟิกส์แบบ Bitmap 1.4 ไฟล์ภาพแบบ Bitmap คือ ไฟล์ที่มีนามสกุล . PDF
ไฟล์ PDF เป็นไฟล์เอกสารของ Adobe Acrobat ที่ใช้ในการแสดงเอกสารในรูปแบบของกราฟฟิค ซึ่งจะต้องใช้ โปรแกรม Adobe Acrobat Reader ในการอ่าน สำหรับโปรแกรมที่ใช้สร้างกราฟิกแบบ Bitmap คือ โปรแกรม Paint ต่างๆ เช่น Paintbrush, PhotoShop, Photostyler เป็นต้น
14
กราฟกส์แบบ Vector สรางดวยสวนประกอบของเสนลักษณะตางๆ และคุณสมบัติเกี่ยวกับสีของเสนนั้นๆ ซึ่งสรางจากการคํานวณทางคณิตศาสตร์ เมื่อมีการแกไขภาพ ก็จะเปนการแกไขคุณสมบัติของเสน ทําใหภาพไมสูญเสียความละเอียด เช่น ภาพ .wmf ซึ่งเปน clipart ของ Microsoft Office ,Adobe Illustrator หรือ Macromedia Freehand
15
กราฟกส์แบบ Vector
16
กราฟกส์แบบ Vector 2.1 ไฟล์ภาพแบบ Vector คือ
ไฟล์ที่มีนามสกุล . EPS (Encapsulated PostScript) เป็นไฟล์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในงานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Desktop Publishing) เป็นไฟล์ Vector มาตรฐาน ใช้งานได้กับโปรแกรมหลายโปรแกรม สามารถทำการแยกสีเพื่องานพิมพ์ได้ นอกจากนี้ยังใช้ในการบันทึก Vector ไฟล์ จากโปรแกรมหนึ่งเพื่อนำไปโหลดใช้งาน ในอีกโปรแกรมหนึ่งอีกด้วย ไฟล์ชนิดนี้จะมีขนาดใหญ่กว่าไฟล์ vector ชนิดอื่นๆ
17
กราฟกส์แบบ Vector 2.1 ไฟล์ภาพแบบ Vector คือ
ไฟล์ที่มีนามสกุล . AI (Adobe Illustrator sequence) AI เป็นไฟล์ของ Adobe Illustrator จึงควรรแก้ไขไฟล์ AI บนโปรแกรม Illustrator เท่านั้น ไฟล์ที่มีนามสกุล . FH (FreeHand) คือ ไฟล์ของโปรแกรม vector ที่ชื่อว่าโปรแกรม FreeHand ไฟล์ที่มีนามสกุล . DWG (DraWinG file) คือ drawing file ของโปรแกรม AutoCAD
18
กราฟกส์แบบ Vector 2.1 ไฟล์ภาพแบบ Vector คือ
ไฟล์ที่มีนามสกุล . FLA (FLASH) เป็นไฟล์ Vector ของโปรแกรม Adobe Flash ใช้ในการสร้างอนิเมชั่นบนเวบเพจ ไฟล์ที่มีนามสกุล . SWF (Shock Wave Flash) เป็นไฟล์ Vector ของโปรแกรม Adobe Flash ใช้ในการแสดงผล Flash อนิเมชั่นบนเวบเพจ
19
กราฟกส์แบบ Vector 2.2 ออบเจ็กต (Object)
ออบเจ็กตงายๆ (เชน วงกลม เสนตรง ทรงกลม ลูกบาศก และอื่นๆ เรียกวารูปทรงพื้นฐาน) สามารถใชในการสรางออบเจ็กตที่ซับซอนขึ้น กราฟกแบบเวกเตอรใชคําสั่งงายๆ เพื่อสรางออบเจ็กตพื้นฐาน เช่น "ลากเสนตรงจากจุด A ไปยังจุด B" หรือ "ลากวงกลม รัศมี R โดยมีจุดศูนยกลางอยูที่จุด P"
20
เปรียบเทียบคุณสมบัติของกราฟกส์ แบบบิตแมปและภาพแบบเวกเตอร
ในดานความเร็วของการแสดงภาพที่จอภาพ กราฟกแบบบิตแมปสามารถแสดงใหเห็นที่จอภาพไดเร็วกวาภาพแบบเวกเตอร์ ความสามารถในการเปลี่ยนขนาดภาพ ภาพแบบบิตแมปจะทําไดไมมาก นอกจากนั้นยังอาจจะทําใหลักษณะของภาพผิดเพี้ยนไปจากเดิมดวย เนื้อที่ในการจัดเก็บ ภาพแบบเวคเตอร์ ใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บน้อยกว่าภาพแบบบิตแมป
21
ประโยชนของคอมพิวเตอรกราฟก
ใช้แสดงผลงานดวยภาพแทนการแสดงดวยขอความ ใชแสดงแผนที่ แผนผัง และภาพของสิ่งตางๆ ใช้ในการออกแบบทางดานตางๆ ไดมีการนําคอมพิวเตอรกราฟกมาชวยทางการดานเรียนการสอน คอมพิวเตอรกราฟกถูกนํามาใชในการจําลองสถานการณ์ คอมพิวเตอรกราฟกสามารถนํามาสรางภาพนิ่ง ภาพสไลด ภาพยนตร และรายการวิดีโอ คอมพิวเตอรกราฟกที่มีผูรูจัก และนิยมใชกันมากคงจะไดแก เกมส์
22
รายละเอียดเพิ่มเติมของไฟล์ภาพแบบต่างๆ ที่ใช้ในการออกแบบเว็บไซต์
This is another option for an Overview slides using transitions.
23
ไฟล์สกุล GIF(Graphics Interlace File)
ข้อดี สามารถใช้งานข้ามระบบ (Cross Platform) ได้ มีขนาดไฟล์ต่ำ จากเทคโนโลยีการบีบอัดภาพ สามารถส่งไฟล์ภาพได้รวดเร็ว ทำพื้นของภาพให้โปร่งใสได้ (Transparent) มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจำนวนมาก เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว มีความสามารถด้านการนำเสนอภาพเคลื่อนไหว (GIF Animation) ข้อเสีย สามารถแสดงสีได้เพียง 256 สี ไม่เหมาะกับการนำเสนอภาพที่ต้องการความคมชัด หรือภาพสดใส
24
ไฟล์สกุล JPG (Joint Photographer’s Expert Group)
เป็นอีกไฟล์หนึ่งที่นิยมใช้บนระบบอินเตอร์เน็ต มักใช้ในกรณีภาพที่ต้องการนำเสนอมีความละเอียดสูง (24 bit color) ต้องการบีบไฟล์ตามความต้องการของผู้ใช้ ไฟล์ชนิดนี้มักจะใช้กับภาพถ่ายที่นำมาสแกน และต้องการนำไปใช้บนระบบอินเตอร์เน็ต ข้อดี สนับสนุนสีได้ถึง 24 bits สามารถกำหนดค่าการบีบอัดไฟล์ได้ตามต้องการ มีโปรแกรมระบบสนับสนุนจำนวนมาก เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว ข้อเสีย ทำให้พื้นของรูปโปร่งใสไม่ได้
25
ไฟล์สกุล PNG (Portable Network Graphics)
ไฟล์สกุลล่าสุดที่นำจุดเด่นของไฟล์ GIF และ JPG มาพัฒนาร่วมกัน จึงเป็นที่นิยมอีกสกุลหนึ่งในปัจจุบัน สามารถใช้งานข้ามระบบ ขนาดไฟล์เล็ก มีคุณสมบัติในการทำภาพโปร่งใส แสดงภาพแบบสอดประสานเช่นเดียวกับ GIF โดยมีความคมชัดที่ดีกว่า มีคุณสมบัติ Gamma ทำให้สามารถปรับตัวเองได้ตามจอภาพ และปรับระดับความสว่างที่แท้จริงตามที่ควรจะเป็น ข้อดี สนับสนุนสีได้ถึงตามค่า True Color (16 bits,32bits หรือ 64 bits) สามารถกำหนดค่าการบีบอัดไฟล์ได้ตามต้องการ สามารถทำภาพโปร่งใสได้
26
ไฟล์สกุล PNG (Portable Network Graphics)
ข้อเสีย หากกำหนดค่าการบีบไฟล์ไว้สูง จะใช้เวลาในการคลายไฟล์สูงตามไปด้วย แต่ขนาดไฟล์จะมีขนาดต่ำ ไม่สนับสนุน Graphics Browser รุ่นเก่า ความละเอียดของภาพ และจำนวนสี ขึ้นอยู่กับ Video Card โปรแกรมสนับสนุนในการสร้างมีน้อย
27
หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
สีที่ใช้ในงานด้านกราฟิกทั่วไปมี 4 ระบบ คือ 1. RGB 2. CMYK 3. HSB 4. LAB
28
หลักการใช้สีและแสง ในคอมพิวเตอร์
RGB เป็นระบบสีที่ประกอบด้วยแม่สี 3 สีคือ แดง (Red), เขียว (Green) และสีน้ำเงิน (Blue) เมื่อนำมาผสมกันทำให้เกิดสีต่างๆ บนจอคอมพิวเตอร์มากถึง 16.7 ล้านสี ซึ่งใกล้เคียงกับสีที่ตาเรามองเห็นปกติ สีที่ได้จากการผสมสีขึ้นอยู่กับความเข้มของสี โดยถ้าสีมีความเข้มข้นมาก เมื่อนำมาผสมกันจะทำให้เกิดเป็นสีขาว จึงเรียกระบบสีนี้ว่า แบบ Additive หรือการผสมสีแบบบวก
29
RGB รหัสสีมาตรฐานในภาษาอังกฤษ และรหัสสีในเลขฐานสิบหก
30
RGB หลังจากการพัฒนาเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง ทำให้คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ในปัจจุบัน สามารถแสดงผลสีอย่างน้อย 256 สี จึงเป็นผลให้ตัวสีที่ปลอดภัยสาหรับเว็บไซต์(Web Safe RGB)ถูกสร้างขึ้น ซึ่งคือจานสี 216 สีที่ยังอยู่ในช่วงของสีที่เป็นไปได้สาหรับคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุน 256 สี สี Web Safe RGB ทั้ง216 สีจึงประกอบแบบสีที่ปลอดภัยสาหรับเว็บไซต์ดังในรูปที่ 37 ดังนั้น หากเราจะสร้างภาพกราฟิกสาหรับแสดงผลบนเว็บก็ควรใช้โหมดสีนี้เพื่อปูองกันการเกิดความผิดเพี้ยนของสี
32
CMYK เป็นระบบสีที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ออกทางกระดาษหรือวัสดุผิวเรียกอื่นๆ ซึ่งประกอบด้วยสีหลัก 4 สีคือ สีฟ้า (Cyan), สีม่วงแดง (Magenta) สีเหลือง (Yellow) สีดำ (Black) เมื่อนำมาผสมกันจะเกิดสีเป็นสีดำแต่จะไม่ดำสนิทเนื่องจากหมึกพิมพ์มีความไม่บริสุทธิ์ จึงเป็นการผสมสีแบบลบ (Subtractive)
33
CMYK หลักการเกิดสีของระบบนี้คือ หมึกสีหนึ่งจะดูดกลืนแสงจากสีหนึ่งแล้วสะท้อนกลับออกมาเป็นสีต่างๆ เช่น สีฟ้าดูดกลืนแสงของสีม่วงแล้วสะท้อนออกมาเป็นสีน้ำเงิน ซึ่งจะสังเกตได้ว่าสีที่สะท้อนออกมาจะเป็นสีหลักของระบบ RGB การเกิดสีนี้ในระบบนี้จึงตรงข้ามกับการเกิดสีในระบบ RGB
34
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า PANTONE SPOT COLOR
CMYK สี PANTONE คือค่าสีพิเศษที่เครื่องพิมพ์ CMYK ทั่วไปจะสามารถพิมพ์ได้ ซึ่งจะต้องสั่งเฉพาะสีใดสีนั้นมาใช้พิมพ์เลย PANTONE เป็นบริษัทที่ได้รับความนิยมและยอมรับมากที่สุดในปัจจุบัน บริษัทนี้มีผลิตภัณฑ์อยู่หลายประเภทด้วยกัน อย่างไรก็ตาม PANTONE ที่นิยมใช้กันทั่วไป ซึ่งก็คือ PANTONE SOLID COLOR หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า PANTONE SPOT COLOR
35
PANTONE SPOT COLOR
36
HSB เป็นระบบสีแบบการมองเห็นของสายตามนุษย์
37
HSB มีการแบ่งสีเป็น 3 แบบ Hue Saturation Brightness
38
HSB
39
Hue คือสีต่างๆ ที่สะท้อนออกมาจากวัตถุแล้วเข้าสู่สายตาของเรา ซึ่งมักเรียกสีตามชื่อสี เช่น สีเขียว สีแดง สีเหลือง เป็นต้น
40
Saturation คือความสดของสี โดยค่าความสดของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 ถ้ากำหนด Saturation ที่ 0 สีจะมีความสดน้อย แต่ถ้ากำหนดที่ 100 สีจะมีความสดมาก
41
Brightness คือระดับความสว่างของสี โดยค่าความสว่างของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 ถ้ากำหนดที่ 0 ความสว่างจะน้อยซึ่งจะเป็นสีดำ แต่ถ้ากำหนดที่ 100 สีจะมีความสว่างมากที่สุด
42
LAB เป็นระบบสีที่ไม่ขึ้นกับอุปกรณ์ใด ๆ (Device Independent) โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ “L” หรือ Luminance เป็นการกำหนดความสว่างซึ่งมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 100 ถ้ากำหนดที่ 0 จะกลายเป็นสีดำ แต่ถ้ากำหนดที่ 100 จะกลายเป็นสีขาว “A” เป็นค่าของสีที่ไล่จากสีเขียวไปสีแดง “B” เป็นค่าของสีที่ไล่จากสีน้ำเงินไปสีเหลือง
43
เทคนิคการนำสีไปใช้ในงานกราฟิก
นอกจากรู้จักการผสมสีแล้ว เราควรรู้จักกับจิตวิทยาของสีที่จะมีผลต่ออารมณ์ของผู้พบเห็น และสีต่าง ๆ ให้ความรู้สึกอย่างไร
44
เทคนิคการนำสีไปใช้ในงานกราฟิก
45
สีออกเป็น 2 วรรณะ เพื่อสร้างอารมณ์ที่ แตกต่างกันออกไปเมื่อใช้งานร่วมกันได้ วรรณะร้อน (Warm Tone Color) ได้แก่ สีเหลืองส้ม สีส้ม สีแดง และสีม่วงแดง สีกลุ่มนี้เมื่อใช้ในงานจะรู้สึกอบอุ่น ร้อนแรง สนุกสนาน วรรณะเย็น (Cool Tone Color) ได้แก่ สีเขียว สีฟ้า สีม่วงคราม สีกลุ่มนี้เมื่อใช้งานจะได้ความรู้สึกสดชื่น เย็นสบาย
46
สีออกเป็น 2 วรรณะ
47
วงล้อสี วงล้อสีเป็นกฎธรรมชาติของสี ที่มีความประสานกลมกลืนและมี
ความสมดุล ค่าน้ำหนักอ่อน-แก่ของสี ความเป็นสีที่แตกต่างกันของน้าหนักอ่อนไปจนเข้ม วงล้อสีมีบทบาทสำคัญมากในการสร้างสรรค์งานทางด้านศิลปะ เพราะมีส่วนในการแสดงออกเรื่องน้าหนักอ่อน-แก่ของสีที่มีความจัด ความเป็นสี มีลักษณะผิวที่เป็นบริเวณของวงสี และเมื่อลงลึกถึงแต่ละสีในวงจร
48
วงล้อสี สีขั้นต้น (Primary Colors) หรือแม่สี อันประกอบด้วยสีแดง สีเหลือง และสีน้าเงิน สีขั้นที่สอง (Secondary Colors) คือ สีที่เกิดจากการผสมกันของแม่สี เช่น สีแดงสผสมกับสีเหลือง เป็นสีส้ม สีเหลืองผสมกับสีน้าเงินเป็นสีเขียว และสีน้าเงินผสมกับสีแดงเป็นสีม่วง สีขั้นที่สาม (Tertiary Colors) คือสีที่เกิดจากการผสมแม่สีกับสีขั้นที่สอง จะได้สีใหม่ที่อยู่ระหว่างแม่สี กับสีขั้นที่สองนั่นเอง
49
วงล้อสี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.