ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดย천식 저 ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
การคุ้มครองพยานในคดีอาญา ตาม พรบ.คุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546
ตาม พรบ.คุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
2
การนำเสนอ ความเป็นมา/หลักการสำคัญของกฎหมาย
การบังคับใช้กฎหมาย/แนวปฏิบัติ ปัญหาอุปสรรค ภาพของการคุ้มครองพยานในอนาคต นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
3
จากการที่ประเทศไทยเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ และเข้าเป็นภาคีสมาชิกในสนธิสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ทำให้มีพันธะผูกพันที่จะต้องปฏิบัติตามในหลายๆ เรื่องและในหลายๆ เรื่องดังกล่าว หนึ่งในเรื่องเหล่านั้นได้มีข้อกำหนดเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้เสียหายหรือ เหยื่ออาชญากรรมไว้ด้วย นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
4
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ประเทศไทยจึงได้มีการนำหลักการพื้นฐานจากกฎบัตรสหประชาชาติ ปฏิญญาสากลและสนธิสัญญาต่างๆ ที่เป็นสาระสำคัญเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหาย และ พยานในคดีอาญา ซึ่งกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
5
ที่มาพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 244 กำหนดสิทธิพยานไว้ 3 ประการ 1. สิทธิได้รับการคุ้มครองความปลอดภัย 2. สิทธิได้รับการปฏิบัติที่เหมาะสม 3. สิทธิได้รับค่าตอบแทนที่จำเป็นและเหมาะสมจากรัฐ นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
6
พยานตามกฎหมายคุ้มครองพยาน พ.ศ. 2546
พยานตามกฎหมายคุ้มครองพยาน พ.ศ. 2546 “พยาน” หมายความว่า พยานบุคคลซึ่งจะมาให้ หรือได้ให้ข้อเท็จจริงต่อพนักงานผู้มีอำนาจสืบสวนคดีอาญา พนักงานผู้มีอำนาจสอบสวนคดีอาญา พนักงานผู้มีอำนาจฟ้องคดีอาญา หรือศาลในการดำเนินคดีอาญา รวมทั้งผู้ชำนาญการพิเศษ แต่มิให้หมายความรวมถึงจำเลยที่อ้างตนเป็นพยาน นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
7
การบูรณาการทำงานร่วมกัน
ผู้รักษาการตามกฎหมาย ตามมาตรา 5 1. นายกรัฐมนตรี 2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม 3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม 4. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
8
หน่วยงานที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับการคุ้มครองพยาน
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงกลาโหม กรมการปกครอง กรมคุ้มครองสิทธิฯ กรมสอบสวนคดีพิเศษ สำนักงาน ปปส. กรมราชทัณฑ์ ป.ป.ช./กกต. สำนักงาน ป.ป.ท. กรณีพยานอยู่ในสถานที่กักขังหรือควบคุม กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 8
9
มาตรการคุ้มครองพยานความปลอดภัย
มาตรการทั่วไป มาตรการพิเศษ นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
10
การใช้มาตรการทั่วไป นายไพฑูรย์ สว่างกมล
นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
11
มาตรการทั่วไปในการคุ้มครองพยาน
ดำเนินการเองหรือ แจ้งเจ้าพนักงานตำรวจหรือ เจ้าหน้าที่อื่นดำเนินการ ร้องขอ พนักงานสืบสวน พนักงานสอบสวน พนักงานผู้มีอำนาจฟ้อง ศาล สำนักงานคุ้มครองพยาน พยานหรือ ผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้อง คุ้มครองให้ได้รับความปลอดภัย ได้แก่ อารักขาให้ได้รับ ความ ปลอดภัย จัดให้อยู่ในสถานที่ที่ ปลอดภัย ปกปิดข้อมูลที่สามารถ ระบุตัวพยานได้ 1 อาจจัดให้พยานอยู่ในความคุ้มครองในกรณีพยานอาจไม่ได้รับความปลอดภัย พนักงานสืบสวน พนักงานสอบสวน พนักงานผู้มีอำนาจฟ้อง ศาล สำนักงานคุ้มครองพยาน 2 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
12
มาตรการพิเศษ มูลฐานความผิดตามมาตรา 8
อำนาจเป็นของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม วิธีการคุ้มครองพยานมีรูปแบบมากขึ้น นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
13
มาตรการพิเศษในการ คุ้มครองพยาน
นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
14
มาตรการพิเศษในการคุ้มครองพยาน
ไม่รับคำร้อง อุทธรณ์ต่อ ศาลยุติธรรมชั้นต้น / ศาลทหารชั้นต้น พยาน ผู้มีประโยชน์ เกี่ยวข้อง พนักงานสืบสวน พนักงานสอบสวน พนักงานผู้มีอำนาจ ฟ้อง ยื่นคำร้อง เสนอคำร้องพร้อมความเห็นประกอบให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม หรือผู้ได้รับมอบหมาย สำนักงานคุ้มครองพยาน พิจารณาสั่งการ ไม่เกิน 30 วัน สำนักงานคุ้มครองพยาน - ดำเนินการ - ประสานหน่วยงาน ตรวจสอบความถูกต้อง แจ้งสิทธิและผลกระทบ ออกใบรับคำร้อง รับคำร้อง (พยานลงลายมือชื่อ) ให้สำนักงานคุ้มครองพยานดำเนินการคุ้มครองพยานตามมาตรการพิเศษอย่างหนึ่งอย่างใดดังนี้ 1.) ย้ายที่อยู่/จัดหาที่พักให้ 2.) จ่ายค่าเลี้ยงชีพ 3.) เปลี่ยนชื่อตัวชื่อสกุลและหลักฐานทางทะเบียนที่ระบุตัวพยานและดำเนินการกลับคืนฐานะ เดิมตามคำร้องขอของพยาน 4.) จัดหาอาชีพ/การศึกษา/ดำเนินการใดเพื่อให้พยานดำรงชีพอยู่ได้ตามความเหมาะสม 5.) ช่วยเหลือในการเรียกร้องสิทธิที่พยานพึงได้รับ 6.) จัดเจ้าหน้าที่คุ้มครองความปลอดภัย 7.) ดำเนินการอื่นใดตามที่เห็นสมควร มูลฐานความผิด ตามมาตรา 8 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
15
พยานร้องขอให้ใช้มาตรการทั่วไปกับบุคคลอื่น
พยานสามารถร้องขอคุ้มครองความปลอดภัยให้กับบุคคลอื่นได้ ตามมาตรา 7 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
16
การยื่นอุทธรณ์คำสั่ง
กรณีไม่พอใจคำสั่งสามารถใช้สิทธิอุทธรณ์คำสั่งได้ภายใน 30 วัน ตามมาตรา 20 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
17
สิทธิของพยานในการได้รับ ค่าตอบแทนและค่าใช้จ่าย
1.ค่าใช้จ่ายพยานกรณีเข้าโครงการคุ้มครองพยาน 2. ค่าตอบแทนพยานกรณีมาให้ข้อเท็จจริง 3. ค่าตอบแทนกรณีเสียชีวิต/บาดเจ็บ นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
18
อัตราค่าใช้จ่าย เจ้าหน้าที่ที่คุ้มครองความปลอดภัย มีสิทธิได้รับตามระเบียบกระทรวงยุติธรรม นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
19
บทกำหนดโทษ การเปิดเผยความลับเกี่ยวกับข้อมูลของพยานมีบทกำหนดโทษ ตามมาตรา 21 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
20
การสิ้นสุดการคุ้มครองพยาน
พฤติการณ์เกี่ยวกับความปลอดภัยของพยานเปลี่ยนแปลงไป นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
21
สถิติพยานที่ยื่นคำร้องขอรับการคุ้มครอง ผ่าน 4 หน่วยงาน ปีงบประมาณ 2547 – กรกฎาคม 2559 รวม ทั่วประเทศ 3,445 ราย DSI 150 ราย ปกครอง 11 ราย พยานเข้าโครงการ 2,066 ราย สถานะข้อมูล : กรกฎาคม 2559 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
22
สถิติกลุ่มความผิดอาญาที่พยานร้องขอคุ้มครองความปลอดภัย
ปีงบประมาณ กรกฎาคม 2559 49% 12% 10% 3% เจ้าพนักงานประพฤติมิชอบ 10% 2% 3% 1% 8% 2% สถานะข้อมูล : กรกฎาคม 2559 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
23
“กฎหมายคุ้มครองพยานเป็นเครื่องมือ ที่มีประสิทธิภาพในกระบวนการ
ยุติธรรมทางอาญา” นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
24
ภาพการคุ้มครองพยานในอนาคต
Budget WPO Witness Protection Office Strategy - Witness Protection - Witness Assistance Commando Witness Protection (Safe House) Court Marshal นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
25
ช่องทางการร้องขอคุ้มครองพยาน สายด่วนคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
สายด่วนคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ โทร กด 77 นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
26
The End นายไพฑูรย์ สว่างกมล ที่ปรึกษากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.