ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก Biology (40244) Miss Lampoei Puangmalai
2
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 12.1 โครงสร้างและหน้าที่ของราก 12.2 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น 12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ 12.4 การคายน้ำของพืช 12.5 การลำเลียงน้ำของพืช 12.6 การลำเลียงธาตุอาหารของพืช 12.7 การลำเลียงสารอาหารของพืช
3
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สืบค้นข้อมูล และอธิบายลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ 2. สำรวจตรวจสอบ และอภิปรายลักษณะโครงสร้างของราก ลำต้น ใบ ที่สัมพันธ์กับหน้าที่ 3. สำรวจตรวจสอบโครงสร้างภายในตัดตามขวางของราก ลำต้น ใบ 4. สำรวจตรวจสอบตำแหน่งและจำนวนปากใบของพืชในท้องถิ่น 5. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปการคายน้ำของพืช 6. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปการลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และสารอาหารของพืช 7. สำรวจตรวจสอบอัตราการคายน้ำของพืช 8. เขียนผังมโนทัศน์เรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
4
ใบ (Leaf)
6
12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ โครงสร้างภายนอกของใบ โครงสร้างภายในของใบ หน้าที่ของใบ
7
12.3.1 โครงสร้างภายนอกของใบ
โครงสร้างภายนอกของใบ ประกอบด้วย แผ่นใบ (blade) ก้านใบ (petiole) หูใบ (stipule)
8
Outer structure of leaf
9
ลักษณะเส้นใบของพืช (Leaf Venation)
10
ลักษณะใบของพืช ใบสามารถแบ่งเป็น 2 ชนิดต่าง ๆ ได้แก่
ใบสามารถแบ่งเป็น 2 ชนิดต่าง ๆ ได้แก่ 1. ใบเดี่ยว (simple leaf) หนึ่งก้านใบมีใบเดียว เช่น มะละกอ ตำลึง เป็นต้น 2. ใบประกอบ (compound leaf) หนึ่งก้านใบมีหลายใบ เช่น กุหลาบ กระถิน เป็นต้น
11
1. Simple Leaf tip- the terminal point of the leaf.
blade-the flattened, green, expanded portion of a leaf. margin- edge of a leaf. midrib-the most prominent central vein in a leaf. lateral veins-secondary veins in a leaf. petiole-the leaf stalk (connects blade to stem). stipules-leaf-like appendages (at the base of petiole of some leaves).
12
1. Simple Leaf: One Blade
13
2. Compound Leaf leaflet- secondary leaf of a compound leaf.
rachis- an extension of the petiole bearing leaflets. petiolule-the leaflet stalk. petiole-the leaf stalk lateral veins-secondary veins in a leaf. stipules-leaf-like appendages (at the base of petiole of some leaves).
14
2. Compound Leaf: Blade Divided Into Leaflets
A. Palmately Compound (Digitate): No Rachis
15
B. Pinnately Compound (Pinnate): With A Rachis
16
C. Pinnately and Palmately Trifoliate
17
D. Twice Pinnately Compound (Bipinnate)
18
E. Pinnatid: Pinnately Dissected Nearly To The Midrib
19
Leaf Arrangement (Phyllotaxy)
20
Leaf Arrangement whorled
21
12.3.2 โครงสร้างภายในของใบ โครงสร้างภายในของใบประกอบด้วย 1. epidermis
โครงสร้างภายในของใบ โครงสร้างภายในของใบประกอบด้วย 1. epidermis 2. mesophyll 2.1 palisade mesophyll 2.2 sponge mesophyll 3. vascular bundle
22
Inner structure of leaf
24
dicot leaf
25
http://www. botany. hawaii. edu/nlc_biology/1411/lab/LeafLab/slide8
26
Monocot leaf and dicot leaf
27
ตอบคำถาม
28
1. Epidermis Epidermis เป็นเนื้อเยื่อผิว ได้แก่ เซลล์ผิว (epidermis cell) เซลล์ขน (hair cell) หรือเปลี่ยนไปเป็นเซลล์คุม (guard cell) epidermis cell มักไม่มีคลอโรพลาสต์ หรือมีน้อยกว่า guard cell epidermis cell มี cutin เคลือบเพื่อป้องกันการระเหยของน้ำ
29
Guard cell guard cell มีรูปร่างคล้ายไต หรือเมล็ดถั่ว 2 เซลล์ประกบกัน
พืชที่มีปากใบ (stoma) เฉพาะด้านบนของใบ คือ พืชที่ลอยปริ่มน้ำ เช่น บัว พืชที่ไม่มีปากใบ (stoma) และ cutin เคลือบ คือ พืชที่จมอยู่ใต้น้ำ เช่น สาหร่ายหางกระรอก พืชที่มีปากใบ (stoma) ทั้งด้านบนและด้านล่างของใบ เช่น ข้าวโพด
30
Guard cell
31
2. Mesophyll เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ที่อยู่ระหว่าง epidermis ทั้งสองด้าน
ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อ parenchyma ที่มีคลอโรพลาสต์จำนวนมาก โดยทั่วไป parenchyma ใน dicot จะมีเซลล์ 2 แบบ คือ 2.1 Palisade mesophyll 2.2 Sponge mesophyll
32
2.1 Palisade mesophyll Palisade mesophyll มักพบอยู่ใต้ชั้น upper epidermis ประกอบด้วยเซลล์รูปร่างยาว เรียงตัวเป็นแถวตั้งฉากกับผิว คล้ายรั้ว ภายในมีคลอโรพลาสต์ค่อนข้างหนาแน่น
33
2.2 Sponge mesophyll Sponge mesophyll อยู่ถัดจาก palisade mesophyll จนถึงชั้น lower epidermis ประกอบด้วยเซลล์ที่มีรูปร่างไม่แน่นอน เรียงตัวในทิศทางต่าง ๆ กัน ทำให้เกิดช่องว่างระหว่างเซลล์มากมาย ภายในมีคลอโรพลาสต์น้อยกว่า palisade mesophyll
34
3. Vascular bundle vascular bundle ประกอบด้วย xylem และ phloem
พืชบางชนิด vascular bundle จะล้อมรอบด้วย bundle sheath เช่น ใบข้าวโพด พืชบางชนิด bundle sheath มี fiber ช่วยทำให้ vascular bundle แข็งแรงขึ้น พืชบางชนิดมี parenchyma ซึ่งมีคลอโรพลาสต์หรือไม่มีก็ได้ขึ้นอยู่กับ ชนิดของพืช ส่วนใหญ่ vascular bundle อยู่ในชั้น sponge mesophyll
35
Mid vein of a Ligustrum leaf. x100
36
12.3.3 หน้าที่ของใบ หน้าที่หลักของใบ คือ
หน้าที่ของใบ หน้าที่หลักของใบ คือ สร้างอาหาร ด้วยการสังเคราะห์แสง หายใจ คายน้ำ แลกเปลี่ยนแก๊ส และอื่น ๆ
37
หน้าที่อื่น ๆ ของใบ เปลี่ยนใบเป็นหนามเพื่อลดการคายน้ำ และอันตรายจากสัตว์อื่นมากัดกิน เช่น กระบองเพชร ใบมีลักษณะอวบน้ำเพื่อเก็บสะสมอาหาร เช่น ว่านหางจระเข้ พืชน้ำบางชนิดมีก้านใบพองโตเป็นทุ่นทำให้ลอยน้ำได้ เช่น ผักตบชวา ใบเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่ยึดเกาะ และพยุงลำต้น เช่น ดองดึง ถั่วลันเตา เป็นต้น ใบเปลี่ยนแปลงไปเป็นถุงดักแมลง หรือสัตว์เล็ก ๆ เช่น หม้อข้าวหม้อแกงลิง กาบหอยแครง หยาดน้ำค้าง เป็นต้น
38
ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง
39
References สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : หน้า.
40
Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology
Department of science St. Louis College Chachoengsao
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.