ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
2
ประเภทของปริมาณทางฟิสิกส์
1. ปริมาณพื้นฐาน (basic quantity) 2. ปริมาณอนุพันธ์ (derived quantity) ปริมาณพื้นฐาน : เป็นปริมาณที่ได้จากการวัดโดยตรง เช่น มวลและความยาว ปริมาณอนุพันธ์ : เป็นปริมาณที่ได้จากการนำปริมาณพื้นฐานมาผสมผสานกัน เช่น แรงและงาน
3
ปริมาณพื้นฐาน 7 ชนิด
4
ปริมาณอนุพันธ์
5
คำอุปสรรค (prefixes) ใช้นำหน้าหน่วยเพื่อความสะดวกในการบอกขนาดของหน่วยที่มีขนาดใหญ่หรือเล็กมากๆ
6
ชนิดของปริมาณทางฟิสิกส์
1. ปริมาณสเกลาร์ (scalar quantity) 2. ปริมาณเวกเตอร์ (vecter quantity) ปริมาณสเกลาร์ : บอกขนาดอย่างเดียว ก็มีความหมายสมบูรณ์ เช่น ระยะทางและอัตราเร็ว ปริมาณเวกเตอร์ : ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะมีความหมายสมบูรณ์ เช่น การกระจัดและความเร็ว *** การรวมปริมาณสเกลาร์สามารถรวมกันทางพีชคณิต เพื่อหาขนาดอย่าง เดียวแต่การรวมปริมาณเวกเตอร์ต้องพิจารณาทิศทางด้วย
7
2.1 สเกลลาร์และเวกเตอร์ (ต่อ)
เวกเตอร์คือปริมาณที่มีขนาดและพร้อมทั้งการบ่งบอกทิศทาง สัญญาลักษณ์ของปริมาณเวกเตอร์ a ขนาดของเวกเตอร์ a = | a | เวกเตอร์ขนาดหนึ่งหน่วยในทิศของ a คือ ea = a / a ปริมาณทางฟิสิกส์ที่เป็นเวกเตอร์ได้แก่ การขจัด ความเร็ว ความเร่ง แรงชนิดต่างๆ
8
2.1 สเกลลาร์และเวกเตอร์ (ต่อ)
การกลับทิศเวกตอร์ คูณเวกเตอร์ด้วย a a การย่อขนาดเวกเตอร์ คูณเวกเตอร์ด้วยจำนวนที่น้อยกว่า 1 เช่น a การขยายขนาดเวกเตอร์ คูณเวกเตอร์ด้วยจำนวนที่มากกว่า 1 เช่น a
9
2.2 เวกเตอร์ในระบบแกนอ้างอิง 2 และ 3 มิติ
เวกเตอร์ในระบบแกนอ้างอิงตั้งฉาก 2 มิติ โดยที่ i และ j คือเวกเตอร์ขนาดหนึ่งหน่วยในแนวแกน x และ y ตามลำดับ | i | = | j | =1 y x i j
10
2.2 เวกเตอร์ในระบบแกนอ้างอิง 2 และ 3 มิติ (ต่อ)
เวกเตอร์ a ใดๆใน 2 มิติเขียนได้ดังนี้ a = ax i + ay j โดยที่ ขนาดของเวกเตอร์ a ที่ฉายลงบนแกน x ≡ ax = a cos Ө ขนาดของเวกเตอร์ a ที่ฉายลงบนแกน y ≡ ay = a sin Ө y x ax ay ө a
11
2.2 เวกเตอร์ในระบบแกนอ้างอิง 2 และ 3 มิติ (ต่อ)
สังเกตว่า ax2 + ay2 = a2 tan Ө = ay / ax
12
2.2 เวกเตอร์ในระบบแกนอ้างอิง 2 และ 3 มิติ (ต่อ)
เวกเตอร์ในระบบแกนอ้างอิงตั้งฉาก 3 มิติ โดยที่ i, j และ k คือเวกเตอร์ขนาดหนึ่งหน่วยในแนวแกน x,y และ z ตามลำดับ | i | = | j | = | k | =1 z y j k i x
13
2.2 เวกเตอร์ในระบบแกนอ้างอิง 2 และ 3 มิติ (ต่อ)
เวกเตอร์ a ใดๆใน 3 มิติเขียนได้ดังนี้ a = ax i + ay j + az k โดยที่ ax = a sin Ө cos φ ay = a sin Ө sin φ az = a cos Ө z y ay az ax x ө φ a
14
2.3 การรวมเวกเตอร์ การรวมเวกเตอร์ ทำได้ 2 วิธีคือ
1. โดยวิธีเขียนรูปภาพ 2. โดยวิธีการรวมตามส่วนประกอบ
15
2.3 การรวมเวกเตอร์ (ต่อ) 1.โดยวิธีเขียนรูปภาพ
นำหางเวกเตอร์ตัวหนึ่งไปต่อกับหัวเวกเตอร์อีกตัวหนึ่ง เวกเตอร์ลัพธ์ คือ เส้นตรงที่ลากจากหางของเวกเตอร์ตัวแรก ไปยังหัวของ เวกเตอร์ตัวสุดท้าย
16
2.3 การรวมเวกเตอร์ (ต่อ) สมมุติว่า a และ b เป็นเวกเตอร์ใดๆ การรวมกันทำได้ดังรูปข้างล่างนี้ จากรูปจะเห็นว่า a + b = b + a หมายความว่า เราสามารถสลับลำดับของการรวมเวกเตอร์ได้ a b a + b
17
2.3 การรวมเวกเตอร์ (ต่อ) สมมุติว่า d, e และ f เป็นเวกเตอร์ใดๆ การรวมกันทำได้ดังรูปข้างล่างนี้ จากรูปจะเห็นว่า d + (e + f) = (d + e) + f หมายความว่า เราสามารถสลับกลุ่มของการรวมเวกเตอร์ได้ d e f d + e e + f d + e + f
18
2.3 การรวมเวกเตอร์ (ต่อ) ประโยชน์ของการรวมเวกเตอร์โดยรูป
1.ในกลศาสตร์ การรวมแรงโดยรูปทำให้เห็นภาพของแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ 2.ถ้านำเวกเตอร์แรงทั้งหลายต่อกันแล้วไม่ได้เป็นรูปหลายเหลี่ยมปิด แสดงว่าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะไม่อยู่ในสมดุลของแรงและมีการเคลื่อนที่ด้วยความเร่งตามทิศของแรงลัพธ์ 3.แต่ถ้านำเวกเตอร์แรงทั้งหลายต่อกันแล้วได้เป็นรูปหลายเหลี่ยมปิด แสดงว่าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุเป็นศูนย์ วัตถุจะอยู่ในสมดุลของแรงและจะอยู่กับที่หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
19
2.3 การรวมเวกเตอร์ (ต่อ) 2. โดยวิธีการรวมตามส่วนประกอบ
เช่น a = ax i + ay j + az k b = bx i + by j + bz k จะได้ว่า a + b = (ax + bx) i + (ay + by) j + (az + bz) k
20
2.4 การคูณเวกเตอร์ การคูณเวกเตอร์ตัวหนึ่งเข้ากับเวกเตอร์อีกตัวหนึ่งมี 2 แบบคือ 1. ผลคูณสเกลาร์ (Scalar product) 2. ผลคูณเวกเตอร์ (Vector product)
21
2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) 1. ผลคูณสเกลาร์ (Scalar product)
ผลคูณสเกลาร์คือการคูณเวกเตอร์สองตัวแล้วได้ผลลัพธ์เป็นปริมาณ สเกลาร์ ซึ่งมีนิยามในการคูณดังนี้ a b = ab cos Ө โดยที่เวกเตอร์ a และ b มีขนาดเท่ากับ a และ b ตามลำดับ และ Ө เป็นมุมระหว่างเวกเตอร์ทั้งสอง สังเกตว่า a b = b a
22
2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) จากนิยามผลคูณสเกลาร์ a b = ab cos Ө จะเห็นว่า ถ้า i, j และ k เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยในแนวแกน x, y และ z แล้ว i i = 12 cos 0° = 1 ในทำนองเดียวกัน j j = k k = 1 แต่ว่า i j = i k = j k = 0 เนื่องจากว่า cos 90° = 0
23
2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) ในกรณีที่เวกเตอร์ a และ b เขียนในเทอมของส่วนประกอบดังนี้ a = ax i + ay j + az k b = bx i + by j + bz k จะได้ว่า a b = ax bx + ay by + az bz ดังนั้นขนาดของเวกเตอร์ a ใดๆ a a = a2 = ax2 + ay2 + az2 a = (ax2 + ay2 + az2)1/2 เวกเตอร์ขนาดหนึ่งหน่วยในทิศของ a คือ ea = a / a
24
2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) ความหมายของผลคูณสเกลาร์เป็นไปได้ 2 ทาง
a b = a (b cos Ө) = b (a cos Ө) a b Ө b cos Ө a b Ө a cos Ө
25
2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) ผลคูณเวกเตอร์ (Vector product)
ผลคูณเวกเตอร์คือการคูณเวกเตอร์สองตัวแล้วได้ผลลัพธ์เป็นปริมาณเวกเตอร์ตัวใหม่ซึ่งตั้งฉากกับระนาบของเวกเตอร์ทั้งสองดังรูปข้างล่างนี้ a b c = a b Ө c′ = b a
26
2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) ผลคูณเวกเตอร์มีสัญญลักษณ์ในการคูณเป็นดังนี้
c = a b โดยที่ขนาดของเวกเตอร์ c คำนวณได้ตามนิยามนี้ c = |a b| = ab sin Ө สังเกตว่า b a = - a b
27
2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) i k j
ตามรูปและนิยามของขนาดข้างต้น ถ้า i, j และ k เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยในแนวแกน x, y และ z แล้วจะได้ว่า i j = k = - j i j k = i = - k j k i = j = - i k เนื่องจากว่า sin 90° = 1 สังเกตว่า i i = j j = k k = 0 เนื่องจากว่า sin 0° = 0 i k j
28
2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) ในกรณีที่เวกเตอร์ a และ b เขียนในเทอมของส่วนประกอบดังนี้ a = ax i + ay j + az k b = bx i + by j + bz k จะได้ว่า a b = (ay bz - az by ) i + (az bx - ax bz ) j + (ax by - ay bx ) k =
29
ผลคูณสเกลาร์ของเวกเตอร์หนึ่งหน่วย
a b i j k 1
30
ผลคูณเวกเตอร์ของเวกเตอร์หนึ่งหน่วย
a b i j k -j -k -i
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.