ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยถวิล พิศาลบุตร ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
โรงเรียนชุมชนหลักเหลี่ยมวิทยาคม อำเภอ นามน จังหวัดกาฬสินธุ์
นางราตรี เสริฐเลิศ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนชุมชนหลักเหลี่ยมวิทยาคม อำเภอ นามน จังหวัดกาฬสินธุ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต ๓
2
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สาขา หลักสูตรและการสอน
การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สาขา หลักสูตรและการสอน
3
วุฒิและประการณ์ ด้านการศึกษาพิเศษ
4
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(Individualized Education Program : IEP)
5
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลIndividualize Education Program IEP
6
เป็นแผนการศึกษาของใคร ?
เป็นแผนการศึกษาของใคร ? มีประโยชน์อย่างไร ? ทำไม ? จึงเรียกว่า IEP
7
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553
ประกาศเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2553 แบ่งเขตพื้นที่ประถมศึกษา มัธยมศึกษา เพื่อจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยกเว้น อาชีวศึกษา - กระทรวงจะจัดเสริมให้มีการฟื้นฟูสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้หรือร่างกายพิการหรือทุพพลภาพ
8
พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551
มาตรา ๓ คนพิการ ความหมายว่า บุคคลที่มีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ และมีความจำเป็นพิเศษทางการศึกษา แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หมายความว่า แผนในการกำหนดแนวทางการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษของคนพิการ ตลอดจนกำหนดเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา เฉพาะบุคคล การเรียนร่วม หมายความว่า การจัดการศึกษาให้คนพิการได้เข้าศึกษาในระบบการศึกษาทั่วไปทุกระดับ และหลายรูปแบบ รวมทั้งการจัดการเรียนการสอนให้กับคนทุกกลุ่มรวมทั้งคนพิการ มาตรา ๕ คนพิการมีสิทธิทางการศึกษา มาตรา ๗ ให้สถานศึกษาของรัฐและเอกชนที่จัดการเรียนร่วม ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐ มาตรา ๘ ให้สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล โดยให้สอดคล้องกับ ความต้องการจำเป็นพิเศษของคนพิการ และต้องมีการปรับปรุงแผนการจัดการศึกษา เฉพาะบุคคลอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
9
มาตรา ๙ ให้รัฐจัดเงินอุดหนุนเพื่อส่งเสริมการวิจัยพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง และการพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและความสามารถใน การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ มาตรา ๑๐ เพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ ให้ราชการส่วนท้องถิ่นออกข้อบัญญัติ เทศบัญญัติ ข้อกำหนด ระเบียบหรือประกาศ แล้วแต่กรณี ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๙ ให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีหน้าที่ดำเนินการจัดการศึกษาโดยเฉพาะการจัดการเรียนร่วม การนิเทศ กำกับ ติดตาม เพื่อให้คนพิการได้รับการศึกษาอย่าง ทั่วถึงและมีคุณภาพตามที่กฎหมายกำหนด
10
ด้วยเหตุนี้ การจัดการศึกษาของผู้เรียนพิการประเภทต่างๆ
ด้วยเหตุนี้ การจัดการศึกษาของผู้เรียนพิการประเภทต่างๆ ต้องได้รับการจัดการศึกษาตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ให้สอดคล้องกับความต้องการความจำเป็น และระดับความสามารถของผู้เรียนโดยจัดทำเป็น แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
11
ความหมายของแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
IEP
12
"แผนซึ่งกำหนดแนวทางการจัดการศึกษา
ที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษของคนพิการ ตลอดจนกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษาเฉพาะบุคคล"
13
ทำไมต้องทำ IEP เพื่อประกันความเหมาะสมในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กพิการ ซึ่งจะต้องจัดตามความต้องการจำเป็นพิเศษทางการเรียนรู้ของเด็กแต่ละบุคคล
14
ทำไมต้องทำ IEP เพื่อประกันว่าได้มีการจัดบริการทางการศึกษาพิเศษและบริการอื่นตามที่ระบุไว้ใน IEP จริง เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการควบคุมและติดตามผลการให้บริการ
15
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล Individualize Education Program : IEP
จัดทำให้คนพิการทุกคนเป็นรายบุคคล มุ่งพัฒนาคนพิการอย่างเต็มตามศักยภาพทุกด้าน ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน ครอบคลุม ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง มีการประเมินผลเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ มีข้อมูลให้สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของคนพิการ
16
คุณสมบัติของผู้ที่มีสิทธิขอรับการอุดหนุน
มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ลงทะเบียนและเข้าศึกษาในสถานศึกษา มีความบกพร่องอย่างใดอย่างหนึ่งใน9ประเภท มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาที่กำหนดไว้ใน IEP
17
ลักษณะที่ดีของ IEP *วัดได้ (Measurable) *ทำได้ (Achievable)
*เจาะจง (Specific) *วัดได้ (Measurable) *ทำได้ (Achievable) *ตรงกับความต้องการจำเป็น (Relevant) *มีกำหนดเวลาแน่นอน (Time bound)
18
ประโยชน์ของ IEP ต่อคนพิการ
1. ได้รับความช่วยเหลือสอดคล้องกับความต้องการจำเป็น 2. ได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลือ 3. ได้เรียนรู้และพัฒนาตามศักยภาพของแต่ละบุคคล 4. ได้มีส่วนร่วมในการประเมินผลและปรับปรุงการจัดการศึกษา
19
ประโยชน์ของ IEP ต่อครูผู้สอน
1. เป็นข้อมูลในการศึกษาและวิเคราะห์ผู้เรียน 2. รู้ขอบเขตความรับผิดชอบของตนเอง 3. ทำแผนการสอนได้สอดคล้องกับผู้เรียนมากขึ้น 4. มีสื่อ สิ่งอำนวยความสะดวก ฯลฯ ตามความเหมาะสม 5. ประเมิน และรายงานความก้าวหน้าสอดคล้องกับเป้าหมาย 6. มีส่วนร่วมในการประเมินผลและปรับปรุงการจัดการศึกษา
20
องค์ประกอบของแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
21
5. การวางแผนการจัดการศึกษา
1.ข้อมูลทั่วไป 2. ข้อมูลด้านการศึกษา 3. ข้อมูลด้านการแพทย์ 4. อื่นๆ 5. การวางแผนการจัดการศึกษา 6. ความต้องการสิ่งอำนวยความสะดวก 7. คณะกรรมการ 8. ความเห็นของผู้ปกครอง หรือผู้เรียน
22
การรวบรวมข้อมูล
23
ข้อมูลเบื้องต้น ได้แก่
24
ข้อมูลส่วนตัวเกี่ยวกับคนพิการ ข้อมูลสุขภาพหรือความบกพร่อง
ข้อมูลการศึกษา ข้อมูลครอบครัว ข้อมูลด้านสวัสดิการและสังคมสงเคราะห์
25
ข้อมูลประเภทความพิการของคนพิการ
26
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา บุคคลที่มีความบกพร่องทางด้านร่างกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ
27
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา บุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ บุคคลออทิสติก บุคคลพิการซ้อน
28
ประชุมเพื่อจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
29
รูปแบบการประชุมจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
นักจิตวิทยา ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ครูประจำชั้น นักเรียน ครูประจำวิชา
30
3.การวางแผนการจัดการศึกษา
31
ระดับความสามารถในปัจจุบัน
เป้าหมายระยะยาว 1 ปี จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (เป้าหมายระยะสั้น) การประเมินผล ผู้รับผิดชอบ
32
1 โรงเรียนชุมชนหลักเหลี่ยมวิทยาคม ป.๖ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๐ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑
สส สสพป.กาฬสินธุ์ เขต ๓ โรงเรียนชุมชนหลักเหลี่ยมวิทยาคม ป.๖ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๐ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เด็กชายอภิเดช หงส์ประสิทธิ์ ๑ ๔ ๖ ๑ ๓ ๐ ๐ ๑ ๘ ๕ ๙ ๓ ๑ ๑๗ มี.ค. ๒๕๔๘ ๑๒ ๓ พุทธ บกพร่องทางการเรียนรู้ อ่านคำที่มีตัวสะกดไม่ได้(มาจากจุดด้อย) นายพิเชษ หงส์ประสิทธิ์ อายุ ๓๒ ปี นางรื่นฤดี หงส์ประสิทธิ์ อายุ ๒๙ ปี นางรื่นฤดี หงส์ประสิทธิ์ มารดา ๒๑ ๑ หลักเหลี่ยม - - หลักเหลี่ยม นามน กาฬสินธุ์ ๓๖๓๒๐ - -
33
2 ๒. ข้อมูลด้านการแพทย์ หรือ ด้านสุขภาพ
โรคประจำตัว (ระบุ) ประวัติการแพ้ยา (ระบุ) โรคภูมิแพ้ (ระบุ) ข้อจำกัดอื่นๆ (ระบุ) ผลการตรวจทางการแพทย์ (ระบุ) 2
34
3 ๓.ข้อมูลด้านการศึกษา ร.ร.ชุมชนหลักเหลี่ยมวิทยาคม ป.๔ ๒๕๕๙
35
4 ๔. ข้อมูลอื่นๆ ที่จำเป็น
36
5. การกำหนดแนวทางและการวางแผนการจัดการศึกษา
5.1 5.2 5.3 5.4 5.5
37
ระดับความสามารถในปัจจุบัน
5.1 ระดับความสามารถในปัจจุบัน เป็นความสามารถที่ผู้เรียนคนนั้น สามารถทำได้ดี ในแต่ละทักษะ หรือในแต่ละวิชา
38
นักเรียนระดับอนุบาล หรือระดับฟื้นฟูสมรรถภาพ เป็นความสามารถที่นักเรียนทำได้ในแต่ละทักษะ เช่น ทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก ทักษะการช่วยเหลือตนเองและทักษะสังคม ทักษะด้านภาษาและการสื่อสาร ทักษะการคิดและวิชาการ
39
ป.1-ม.6 เป็นความสามารถของนักเรียนที่สามารถทำได้ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และ 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
40
ตัวอย่างการกรอกระดับความสามารถในปัจจุบัน ของนักเรียนระดับอนุบาล
41
ทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่
จุดเด่น 1. ลุกขึ้นยืนจากพื้นได้เอง 2. เดินได้เองโดยยังยกแขนสูง 3.ก้มลงเก็บของที่พื้นได้ 4.หยุดเดินและหมุนตัวได้ทันที
42
ทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่
จุดด้อย 1. ลุกขึ้นยืนจากพื้นได้เองแต่ใช้เวลา๑-๒ นาที 2. วิ่งด้วยความรวดเร็วไม่ได้ 3.ก้มลงเก็บของที่พื้นได้แต่เชื่องช้า 4.เดินข้ามสิ่งกีดขวางยังไม่คล่องตัว
43
ตัวอย่างการกรอกระดับความสามารถในปัจจุบัน ของนักเรียนระดับ ป.1 – ม.6
ตัวอย่างการกรอกระดับความสามารถในปัจจุบัน ของนักเรียนระดับ ป.1 – ม.6
44
๑. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
จุดเด่น ๑.อ่านคำง่ายๆที่สะกดตรงมาตราได้ ๒.อ่านคำที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวันได้ ๓.เขียนสะกดคำที่ไม่มีตัวสะกด ได้ ๔.เขียนแต่งประโยคบอกเล่าง่ายๆ ได้
45
๑. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
จุดด้อย ๑. อ่านคำที่สะกดไม่ตรงมาตราไม่ถูกต้อง ๒. อ่านคำที่มีหลายพยางค์ได้ไม่ถูกต้อง ๓.เขียนสะกดคำในระดับชั้น ป.๖ไม่ถูกต้อง ๔.เขียนแต่งประโยคในการสื่อสารไม่ได้
46
5.2 เป้าหมายระยะยาว คือ เป้าหมายที่ต้องการให้ผู้เรียนสามารถทำได้ ภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี
47
อาจจะกำหนดเป้าหมายระยะยาวของทุก สาระการเรียนรู้ ทั้ง 8 สาระ หรือเฉพาะสาระการเรียนรู้ที่มีปัญหามากที่สุด ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะกรรมการ จัดทำ IEP
48
จะต้องสอดคล้องกับระดับความสามารถในปัจจุบันของเด็ก ไม่ควร กำหนดไว้สูงเกินไปหรือต่ำเกินไป
49
ตัวอย่างการเขียนเป้าหมายระยะยาว
50
เป้าหมายระยะยาว ๑ ปี ภายในปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๑.ด.ช.อภิเดช จะสามารถ อ่านคำที่สะกดไม่ตรงมาตรา ได้ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ๖๐ ๒.ด.ช.อภิเดช สามารถ อ่านคำที่มีหลายพยางค์ได้ถูกต้องร้อยละ ๖๐ ๓.ด.ช.อภิเดช จะสามารถเขียนสะกดคำในระดับชั้น ป.๖ ได้ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ ๖๐ ๔.ด.ช.อภิเดช จะสามารถเขียนประโยคในการสื่อสารได้ถูกต้อง
51
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
5.3 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม มีองค์ประกอบ 3 ส่วน 1. สถานการณ์หรือเงื่อนไข 2. พฤติกรรมที่สามารถวัดได้ 3. เกณฑ์การประเมิน
52
ตัวอย่างการเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อกำหนดให้ ด.ช.ปิยะพงษ์ อ่านคำที่สะกดไม่ตรงมาตรา จำนวน ๑๐๐ คำจะสามารถอ่านได้ถูกต้อง ๖๐ คำ - สถานการณ์ คือเมื่อกำหนดให้ ด.ช.ปิยะพงษ์ อ่านคำที่ สะกดไม่ตรงมาตราจำนวน ๑๐๐ คำ - พฤติกรรม คือ สามารถอ่าน - เกณฑ์การประเมิน คือ ได้ถูกต้อง ๖๐ คำ
53
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
๑.เมื่อกำหนดให้ ด.ช. อภิเดช อ่านคำที่สะกดไม่ตรงมาตราจำนวน ๑๐๐ คำ จะสามารถอ่านได้ถูกต้อง ๖๐ คำ ๑.เมื่อกำหนดให้ ด.ช.อภิเดช อ่านคำที่หลายพยางค์จำนวน ๑๐๐ คำ ๓.เมื่อกำหนดคำในระดับชั้น ป.๖ให้ เขียน ด.ช.อภิเดช เขียนตามคำบอก จำนวน ๑๐๐ คำ จะเขียนได้ถูกต้อง จำนวน ๖๐ คำ ๔.เมื่อให้อภิเดช เขียนประโยคบอกเล่า ประโยคคำถาม ประโยคปฏิเสธ ประโยคขอร้องจะต้องถูกต้องในแต่ละชนิดของประโยค คิดเป็นร้อยละ ๖๐
54
เกณฑ์และวิธีการประเมินผล
5.4 เกณฑ์และวิธีการประเมินผล ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ 1. สิ่งที่ต้องการวัด 2. วิธีการวัด 3. เครื่องมือที่ใช้วัด 4. เกณฑ์การประเมิน
55
๑.สิ่งที่ต้องการวัด -จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ๒.วิธีการวัด -บันทึกการอ่าน -แบบทดสอบ -การสังเกต
56
๓. เครื่องมือที่ใช้วัด -เกณฑ์การอ่าน -แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน ๔. เกณฑ์การประเมิน -เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ ๖๐
57
การประเมินผล ๑.ครูประเมินจากการอ่านแล้วจดบันทึกโดยใช้เกณฑ์อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง ๖ คำ จากจำนวน ๑๐ คำ ๒.ครูประเมินจากการอ่านแล้วจดบันทึกโดยใช้เกณฑ์อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง ๖ คำ จากจำนวน ๑๐ คำ ๓.ครูประเมินโดยตรวจผลการเขียนได้ถูกต้อง ๖ คำ จากจำนวน ๑๐ คำ ๔.ครูประเมินโดยตรวจการเขียนแต่งประโยคบอกเล่า, ประโยคคำถาม ประโยคปฏิเสธ, ประโยคขอร้อง, ได้ถูกต้องในแต่ละชนิดของประโยค ๖ ประโยค จากจำนวน ๑๐ประโยค
58
ความต้องการสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
6 ความต้องการสิ่งอำนวยความสะดวกฯ หมายถึง การระบุรายการ สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามความต้องการจำเป็นพิเศษของผู้เรียน (บัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค)
59
ความต้องการสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
ต้องบอกเหตุผลและความจำเป็นในการขอรับรายการต่างๆ ว่าทำไม? ต้องขอสิ่งนั้นให้นักเรียน หรือเมื่อได้มาแล้วจะส่งผลอย่างไร? ต่อแผนการจัดการศึกษาที่วางไว้ (เป็นเหตุผลเชิงวิชาการจะดีที่สุด)
60
6.ความต้องการสื่อ สิ่งอำนวยความสะดวก บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
ให้เหตุผลและความจำเป็นกำกับไว้แต่ละรายการ ผู้รับผิดชอบลงลายมือชื่อแต่ละรายการ 1 เว้นไว้หากเด็กนักเรียนคนนั้นไม่เคยขอเลย หากเคยก็เช็คตามจริง 1,000 สอนเสริมภาษาไทย CS0101 2 100 ผลิตสื่อเอกสาร CS0401 800 3 สอนเสริมคณิตศาสตร์ CS0101 4 100 ผลิตสื่อเอกสาร CS0401 5 5 คอมพิวเตอร์ AC0501 5 สองพันบาทถ้วน 7
61
รหัสในบัญชี ข-ค ที่เป็นความต้องการจำเป็น ของผู้เรียนที่พบมากที่สุด
บริการสอนเสริม รหัส CS0101 (50 บาท) ผลิตสื่อเอกสารสิ่งพิมพ์ รหัส CS0401 (10บาท) อ่านเอกสารหรือข้อสอบ รหัส CS0201 (50 บาท)
62
รหัสในบัญชี ข ที่น่าสนใจ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รหัส BE0401 ( 20 บาท/แผ่น) โปรแกรมอ่านเขียนเรียนดี รหัส BE0403 – 8 (400 บาท/ชุด) กระดาษ A4 รหัส BM (120 บาท/รีม) กระดาษเทาขาว รหัส BM (8 บาท/แผ่น) พลาสติกที่ใช้เคลือบหนังสือ รหัส BM010 (8 บาท/แผ่น) แผ่นสติ๊กเกอร์สี รหัส BM (25 บาท/แผ่น)
63
รหัสในบัญชี ค ที่น่าสนใจ
บริการสอนเสริม รหัส CS0101 (50 บาท) ผลิตสื่อเอกสารสิ่งพิมพ์ รหัส CS0401 (10บาท) อ่านเอกสารหรือข้อสอบ รหัส CS0201 (50 บาท)
64
รหัสในบัญชี ค ที่ผู้สอนต้องมีความรู้เฉพาะทาง หรือต้องผ่านการอบรม
บริการกายภาพบำบัด รหัส CS0701 (100 บาท) บริการฝึกพูด รหัส CS (50บาท) บริการกิจกรรมบำบัด รหัส CS0901 (100 บาท) บริการล่ามภาษามือ รหัส CS1001 (300 บาท) ฯลฯ
65
บัญชี ก. = ยืมของมาใช้ บัญชี ข. = เอาคูปองไปแลกซื้อที่ร้านค้า บัญชี ค
บัญชี ก = ยืมของมาใช้ บัญชี ข = เอาคูปองไปแลกซื้อที่ร้านค้า บัญชี ค = เอาคูปองไปจ้างครูสอนเสริม ผลิตสื่อ อ่านข้อสอบ ฝึกพูด กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด ศิลปะบำบัด อบรมทักษะการดำเนินชีวิต ฯลฯ
66
8 ผู้ร่วมทำแผนลงลายมือชื่อ ชื่อผู้ร่วมทำแผน
7.คณะกรรมการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ผู้ร่วมทำแผนลงลายมือชื่อ ชื่อผู้ร่วมทำแผน หลังเปิดเทอมภาคเรียนที่ 1 อย่างช้าไม่เกิน 3 เดือน 8.ความเห็นของบิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือผู้เรียน ผู้ปกครองลงนามหรือลายพิมพ์นิ้วมือ วันเดียวกันกับวันประชุม
67
สวัสดีค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.