งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การอบรมการใช้งานระบบ CHE-QA Online

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การอบรมการใช้งานระบบ CHE-QA Online"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การอบรมการใช้งานระบบ CHE-QA Online
ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 22 มิถุนายน 2560

2 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จำนวนหลักสูตรทั้งหมด
จำนวนหลักสูตรที่ต้องจัดทำ มคอ. 7 เพื่อรับการประเมินในปีการศึกษา 2559 ส่วนงาน หลักสูตร ป.ตรี หลักสูตร ป.โท ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง หลักสูตร ป.เอก จำนวนหลักสูตรทั้งหมด คณะศึกษาศาสตร์ 12 6 - 2 20

3 แนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตร
การดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตร สถาบันอุดมศึกษาต้องดำเนินการเป็นประจำทุกปี และรายงานผลผ่านระบบ CHE-QA Online กรณีหลักสูตรที่สภามหาวิทยาลัยเห็นชอบ/อนุมัติให้ปิดดำเนินการต้องแจ้งให้ สกอ. รับทราบ หากหลักสูตรยังมีนักศึกษาคงค้างอยู่ อาจารย์ประจำหลักสูตรดังกล่าวยังต้องทำหน้าที่อาจารย์ประจำหลักสูตรต่อไป และจัดการเรียนการสอนจนกว่านักศึกษาคนสุดท้ายจะสำเร็จการศึกษา ดังนั้น หลักสูตรยังต้องดำเนินการประเมินตนเองระดับหลักสูตรเป็นประจำทุกปี โดยประเมินองค์ประกอบที่ 1 และองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง เฉพาะตัวบ่งชี้ที่มีการดำเนินการ และคำนวณค่าคะแนนเฉพาะตัวบ่งชี้ที่มีการประเมินเท่านั้น

4 แนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตร
3. กรณีหลักสูตรที่ผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยแล้ว และดำเนินการรับนักศึกษาแล้ว แต่ สกอ. ยังไม่พิจารณาให้การรับทราบ ต้องประเมินคุณภาพระดับหลักสูตรด้วย เนื่องจากหลักสูตรดังกล่าวสามารถดำเนินการจัดการเรียนการสอนได้ตั้งแต่ได้รับความเห็นชอบ/อนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย 4. การจัดทำ มคอ. 3-6 และการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร (มคอ.7) กรณีหลักสูตรเดียวกันแต่เปิดสอนในหลายพื้นที่ และมีอาจารย์ประจำหลักสูตรทุกพื้นที่ที่เปิดสอน ให้หลักสูตรจัดทำ มคอ. 3-7 ชุดเดียวโดยให้ครอบคลุมข้อมูลผลการดำเนินงานการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรดังกล่าว

5 Online การรายงาน มคอ. 7 ผ่านระบบ CHE-QA Online หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
หมวดที่ 2 อาจารย์ หมวดที่ 3 นักศึกษาและบัณฑิต CHE-QA Online หมวดที่ 4 ข้อมูลสรุปรายวิชา หมวดที่ 5 การบริหารหลักสูตร หมวดที่ 6 ข้อคิดเห็น หมวดที่ 7 การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร หมวดที่ 8 แผนการดำเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตร

6 การรายงาน มคอ. 7 ผ่านระบบ CHE-QA Online อาจารย์ประจำหลักสูตร*
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป Input ตัวบ่งชี้ อาจารย์ประจำหลักสูตร* ตัวบ่งชี้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดย สกอ. อาจารย์ผู้สอน* สถานที่จัดการเรียนการสอน*

7 เกณฑ์ประเมิน ป.ตรี ป.โท ป.เอก 1 จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร 2 คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร 3 คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 4 คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน 5 คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ 6 คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี) 7 คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ 8 การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา 9 ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา 10 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษามีผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ 11 การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด รวม

8 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
การพิจารณาอาจารย์ประจำหลักสูตรอยู่ปฏิบัติงานตลอดระยะเวลานั้น ให้พิจารณาเจตนารมณ์ของเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ ในการตีความคำว่า “ต้องมีอาจารย์ประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น” สกอ. ได้ให้เกณฑ์การพิจารณาว่า การลาศึกษาต่อ/ลาออกของอาจารย์ประจำหลักสูตรต้องมีการแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรคนใหม่มาทดแทน หากได้มีการสรรหาอาจารย์ใหม่มาทดแทน แต่กระบวนการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรยังไม่ถึงขั้นตอนของสภามหาวิทยาลัย โดยอยู่ในขั้นตอนกระบวนการในระดับคณะแล้ว จึงถือได้ว่า หลักสูตรได้มีการดำเนินการให้มีอาจารย์ประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา การพิจารณาว่าคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาของหลักสูตรนั้นหรือไม่ ให้พิจารณาการแบ่งสาขาวิชาตาม ISCED2013 ของ UNESC กรณีตำแหน่งทางวิชาการให้พิจารณาจากผลงานทางวิชาการและประสบการณ์การทำงานวิจัยด้วย

9 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ ระบุว่า “อาจารย์ประจำ 1 คน ให้เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาปริญญาโท และปริญญาเอกได้ไม่เกิน 5 คน หากหลักสูตรใดมีอาจารย์ประจำที่มีศักยภาพพร้อมที่จะดูแลนักศึกษาได้มากกว่า 5 คน ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถาบันอุดมศึกษานั้น แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 10 คน การขยายจำนวนนักศึกษาในกรณีนี้ใช้ได้เฉพาะกรณีวิทยานิพนธ์เท่านั้น ไม่นับรวมการค้นคว้าอิสระ กรณีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลักสูตรใดพบว่าอาจารย์ประจำมีนักศึกษาในความดูแลมากกว่า 5 คน ต้องทำเรื่องไปที่บัณฑิตวิทยาลัยเพื่อขอขยายจำนวนนักศึกษาได้ เนื่องจากมหาวิทยาลัยมอบหมายบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รับผิดชอบแทน การนับภาระงานของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ให้นับเฉพาะภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และค้นคว้าอิสระหลัก โดยมีสัดส่วนอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก 1 คนต่อนักศึกษา 5 คน สัดส่วนอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ 1 คน ต่อนักศึกษา 15 คน และนับเฉพาะนักศึกษาที่ลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระรวมทั้งรักษาสถานภาพเท่านั้น

10 การกรอกข้อมูลผ่านระบบ CHE-QA

11 Input ตัวบ่งชี้ การรายงาน มคอ. 7 ผ่านระบบ CHE-QA Online
หมวดที่ 2 อาจารย์ Input ตัวบ่งชี้ อาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก* ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ อาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ* อาจารย์ที่มีผลงานทางวิชาการ/งานสร้างสรรค์* ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์

12 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
หมวดที่ 2 อาจารย์ ตัวบ่งชี้ ผลการดำเนินงาน 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ อธิบายผลการดำเนินงาน -การรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตร -การบริหารอาจารย์ -การส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ 4.2 คุณภาพอาจารย์ ร้อยละอาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาเอก …………………………….……… ร้อยละอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ ……………………………… ผลงานวิชาการของอาจารย์ ……………………………………….…. จำนวนบทความของอาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล TCI และ SCOPUS ต่อจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร ……………………………………………………….……. 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ แสดงผลที่เกิด อัตราการคงอยู่ของอาจารย์ ………………………………..…… ความพึงพอใจของอาจารย์ ……………………………………….…….

13 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ การบริหารและการพัฒนาอาจารย์ ให้หมายถึง อาจารย์ประจำหลักสูตรเท่านั้น ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ กรณีผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ ให้ดูจากรายชื่อผู้วิจัยที่ปรากฏในสัญญาว่าจ้าง พิจารณาจากผลงานของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีรายชื่อ ณ วันสิ้นสุดปีการศึกษานั้นๆ โดยไม่ต้องนำระยะเวลาในการประจำหลักสูตรมาพิจารณา กรณีอาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาโท และปริญญาเอก ที่ใช้อาจารย์ประจำหลักสูตรชุดเดียวกัน การนับผลงานวิชาการสามารถนับได้ทั้ง 2 หลักสูตร

14 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
กรณีผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่อยู่คนละคณะ/สถาบัน ให้พิจารณาดังนี้ ในระดับหลักสูตรให้นับเป็นผลงานของอาจารย์ประจำหลักสูตรตามที่ทำหน้าที่ อาจารย์ประจำหลักสูตร ในระดับคณะ ให้นับเป็นผลงานของอาจารย์ประจำสังกัดคณะนั้น ในระดับสถาบัน ให้นับเป็นผลงานเดียว แต่ถ้าอยู่คนละสถาบันก็นับตาม สถาบันที่สังกัดของทุกคน

15 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ ในการพิจารณาประเด็น ความพึงพอใจของอาจารย์ ให้พิจารณาความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรทั้ง 5 คนที่ได้ทำหน้าที่ประจำหลักสูตร เป็นการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อกระบวนการที่ได้ดำเนินการให้กับอาจารย์ตามกิจกรรมต่างๆ ในตัวบ่งชี้ 4.1 (การรับแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตร การบริหารอาจารย์ และการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์) (ปรับตามคำอธิบายเพิ่มเติม คู่มือการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ ณ วันที่ 4 กรกฎาคม 2559) อัตราการคงอยู่ของอาจารย์ให้พิจารณาจากรายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรว่ามีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละปี ตั้งแต่หลักสูตรใหม่/ปรับปรุง ที่ได้รับการอนุมัติ/เห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยให้เปิดดำเนินการ

16 การกรอกข้อมูลผ่านระบบ CHE-QA

17 Input ตัวบ่งชี้ การรายงาน มคอ. 7 ผ่านระบบ CHE-QA Online
หมวดที่ 3 นักศึกษาและบัณฑิต Input ตัวบ่งชี้ ข้อมูลนักศึกษา* ตัวบ่งชี้ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา* ตัวบ่งชี้ 2.2 การได้งานทำหรือผลงานวิจัยของผู้สำเร็จการศึกษา คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ* ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา* ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา การวิเคราะห์ผลที่ได้ ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา

18 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ สำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษาส่งผลการประเมินให้คณะแล้ว สามารถนำผลการประเมินมารายงานได้ ข้อสังเกต - ในกรณีหลักสูตรปรับปรุงที่ยังไม่ครบรอบ ต้องประเมินตัวบ่งชี้ 2.1 ด้วย แม้ว่าหลักสูตรนั้นจะยังไม่ครบรอบการปรับปรุงหลักสูตรก็ตาม โดยนำผลการดำเนินงานของหลักสูตรในรอบที่ผ่านมามาใช้ประกอบการประเมิน สำหรับหลักสูตรใหม่ ไม่ต้องประเมินตัวบ่งชี้ 2.1 เนื่องจากไม่มีผู้สำเร็จการศึกษา

19 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ข้อสังเกต - กรณีบัณฑิตที่มีอาชีพอิสระ ไม่ต้องเอามานับในการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต - กรณีบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ ที่มีนักศึกษาต่างชาติประมาณร้อยละ 90 การประเมินบัณฑิตอาจไม่ถึงร้อยละ 20 เนื่องจากเดินทางกลับประเทศไปแล้ว สามารถอนุโลมให้ใช้บัณฑิตที่เป็นนักศึกษาชาวไทยเป็นฐานในการคิด เช่น มีนักศึกษาต่างชาติ 90 คน มีนักศึกษาไทย 10 คน ให้ประเมินโดยคิดจากนักศึกษาไทยจำนวน 10 คน เป็นฐานที่ร้อยละ 100

20 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 การได้งานทำหรือผลงานวิจัยของผู้สำเร็จการศึกษา ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี สำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้สรุปร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี ระดับหลักสูตร และส่งข้อมูลให้ทุกคณะทราบแล้ว ดังนั้น ขอให้ทุกคณะดำเนินการสำรวจข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการได้งานทำของบัณฑิต เพื่อให้ครบตามเงื่อนไข คือ 1 ปีหลังจากสำเร็จการศึกษา โดยแจ้งให้บัณฑิตเข้าไปปรับปรุงข้อมูลในระบบ เพื่อให้ได้ข้อมูลครบตามรอบระยะเวลาที่กำหนดในตัวบ่งชี้ (สิ้นสุด ณ 31 กรกฎาคม 2560) เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการรายงานข้อมูลตัวบ่งชี้ต่อไป กรณีหลักสูตรใหม่ ไม่ต้องประเมินตัวบ่งชี้นี้ เนื่องจากไม่มีผู้สำเร็จการศึกษา

21 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 การได้งานทำหรือผลงานวิจัยของผู้สำเร็จการศึกษา ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาโท/เอก นับตามปีปฏิทิน 2559 (มกราคม – ธันวาคม 2559) ส่วนจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมด นับตามรอบปีการศึกษา 2559 (สิงหาคม 2559 – กรกฎาคม 2560) ผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา หมายรวมถึงผลงานของนักศึกษาระดับปริญญาโท/เอกที่ยังไม่สำเร็จการศึกษาด้วย แต่มีการตีพิมพ์ในปีปฏิทิน 2559 และไม่จำเป็นต้องเป็นผลงานของบุคคลเดียวกับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท/เอกทั้งหมดในปีการศึกษา 2559

22 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 การได้งานทำหรือผลงานวิจัยของผู้สำเร็จการศึกษา ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ - กรณีที่นักศึกษาสำเร็จการศึกษาไปแล้วแต่มีผลงานวิจัยจากวิทยานิพนธ์ได้รับการตีพิมพ์ในปีปฏิทิน 2559 สามารถนำมารายงานได้ - กรณีการค้นคว้าอิสระ (IS) หากจะนับเป็นผลงานวิจัยที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่งได้ ต้องนำมาเขียนเป็นบทความ มี peer review และนำไปเผยแพร่ระดับมหาวิทยาลัยหรือระดับคณะ - ผลงานวิจัยที่มีชื่อนักศึกษาและอาจารย์ร่วมกันและนับในตัวบ่งชี้นี้แล้ว สามารถนำไปนับในตัวบ่งชี้ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ได้ - ในกรณีที่ไม่มีผู้สำเร็จการศึกษาไม่พิจารณาตัวบ่งชี้นี้ - สิ่งประดิษฐ์ไม่นับเป็นงานสร้างสรรค์

23 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
ตัวบ่งชี้ ผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา อธิบายผลการดำเนินงาน การรับนักศึกษา ………………………………………..……. การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ……………………….. ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาในระดับปริญญาตรี ………………………………. การควบคุมระบบการดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษา …………………………………….…. การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ……………………………………. ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา แสดงผลที่เกิด อัตราการคงอยู่ …………………………………………… การสำเร็จการศึกษา ……………………………………….. ความพึงพอใจ และผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา ……………………………………………………………….….

24 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
การรับนักศึกษา ในการพิจารณาเกี่ยวกับการรับเข้าและการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ขอให้ดูเจตนารมณ์ของหลักสูตรว่าต้องการนักศึกษาที่มีคุณสมบัติอย่างไร และจัดเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาที่จะศึกษาในหลักสูตร โดยพิจารณาจาก มคอ. 2 ที่ได้ระบุถึงปัญหาของนักศึกษาแรกเข้าและการแก้ปัญหา ผลที่เกิดกับนักศึกษา “การจัดการข้อร้องเรียน” หมายถึง การอธิบายการจัดการข้อร้องเรียนที่มีนัยสำคัญ ไม่ได้เน้นที่ปริมาณหรือจำนวนข้อร้องเรียน การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา เป็นการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อกระบวนการที่ดำเนินการให้กับนักศึกษาตามกิจกรรมในตัวบ่งชี้ที่ 3.1 และ 3.2

25 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
ผลที่เกิดกับนักศึกษา อัตราการคงอยู่ของนักศึกษา คิดจากจำนวนนักศึกษาที่เข้าในแต่ละรุ่น ลบด้วย จำนวนนักศึกษาที่ออกทุกกรณีนับถึงสิ้นปีการศึกษาที่ประเมิน ยกเว้น การเสียชีวิต การย้ายสถานที่ทำงานของนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา คิดเป็นร้อยละของจำนวนที่รับเข้าในแต่ละรุ่นที่มีบัณฑิตสำเร็จการศึกษาแล้ว

26 การกรอกข้อมูลผ่านระบบ CHE-QA

27 Input ตัวบ่งชี้ การรายงาน มคอ. 7 ผ่านระบบ CHE-QA Online
หมวดที่ 4 ข้อมูลสรุปรายวิชา Input ตัวบ่งชี้ ข้อมูลรายวิชา สถานะรายวิชา ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร สรุปผลรายวิชา ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน การวิเคราะห์รายวิชาที่มีผลการเรียนไม่ปกติ ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมินผู้เรียน การปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่* ตัวบ่งชี้ 5.4 ผลการดำเนินงานของหลักสูตรตามกรอบ TQF ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/ผู้ใช้บัณฑิต*

28 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
ตัวบ่งชี้ ผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร อธิบายผลการดำเนินงาน หลักคิดในการออกแบบหลักสูตร ข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้า ในศาสตร์สาขาวิชานั้นๆ ……………………….. ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน การพิจารณากำหนดผู้สอน ………………………………. การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำ มคอ. 3 และ มคอ. 4 …………………………………….…. การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา การควบคุมกำกับจำนวนนักศึกษาต่ออาจารย์ให้เป็นไปตามเกณฑ์ ……………………… การกำกับกระบวนการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนที่มีการฝึกปฏิบัติ ในระดับปริญญาตรี

29 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
ตัวบ่งชี้ ผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมินผู้เรียน อธิบายผลการดำเนินงาน การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ……… การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ……… การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ. 5 มคอ. 6 และ มคอ. 7) การประเมินวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา

30 ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน 1. มีการประชุมหลักสูตรเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร อย่างน้อยปีการศึกษาละสองครั้ง โดยมีอาจารย์ประจำหลักสูตรเข้าร่วมประชุม อย่างน้อยร้อยละ 80 และมีการบันทึกการประชุมทุกครั้ง 2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา 3. มีรายละเอียดของกระบวนวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 ให้ครบทุกกระบวนวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตร ภายในสองสัปดาห์หลังเปิดภาคการศึกษา 4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของกระบวนวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ให้ครบทุกกระบวนวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตร ภายใน 30 วัน หลังวันปิดภาคการศึกษา 5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา 6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของวิชาเอก/วิชาบังคับที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา 7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว 8. อาจารย์ประจำหลักสูตรที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่ ได้รับคำแนะนำด้านการบริหารจัดการหลักสูตร 9. อาจารย์ประจำหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 10. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00 11. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00

31 การกรอกข้อมูลผ่านระบบ CHE-QA

32 Input ตัวบ่งชี้ การรายงาน มคอ. 7 ผ่านระบบ CHE-QA Online
หมวดที่ 5 การบริหารหลักสูตร Input ตัวบ่งชี้ การบริหารหลักสูตร ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

33 การรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานตาม มคอ. 7
ตัวบ่งชี้ ผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ อธิบายผลการดำเนินงาน ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบันโดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ …………………………………… จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน ……………………………….. กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

34 การกรอกข้อมูลผ่านระบบ CHE-QA

35 Online การรายงาน มคอ. 7 ผ่านระบบ CHE-QA Online หมวดที่ 6 ข้อคิดเห็น
หมวดที่ 7 การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร หมวดที่ 8 แผนการดำเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตร

36 การกรอกข้อมูลผ่านระบบ CHE-QA

37


ดาวน์โหลด ppt การอบรมการใช้งานระบบ CHE-QA Online

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google