ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2
การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
การนำนโยบายปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ สู่การปฏิบัติ
3
กลุ่มวิจัยและพัฒนา ระบบการเรียนการสอน ปีงบประมาณ 2557
4
วิจัยและพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนสองภาษา
พัฒนาหลักสูตรและการสอนสองภาษาให้เข้มข้น ต่อยอดสู่ IP ปรับปรุงหลักเกณฑ์ แนวทาง การสอน EPและการสองภาษา ถอดบทเรียนและจัดทำแนวทางบริหารจัดการโครงการ EP/MEP พัฒนาคุณภาพโรงเรียน EP/MEP (ผู้บริหาร หัวหน้าโครงการ ศูนย์ภาค) วิจัยระดับความสามารถภาษาอังกฤษของครูสอนภาษาอังกฤษและนักเรียน พัฒนารายวิชาฟัง-พูด(Conversation courses)
5
1. รูปแบบ EBE (English Bilingual Education)
เพิ่มแรงจูงใจและ เพิ่มโอกาสให้นักเรียน และครูใช้ภาษาอังกฤษ สำหรับ ป. ๑ - ป. ๖ จัดในโรงเรียนสภาพทั่วๆ ไปขนาดกลาง และขนาดเล็ก จัดสอนสองภาษาในวิชาวิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา (ยกเว้นประวัติศาสตร์และศาสนา) ศิลปะ ครูที่ไม่ใช่ครูสอนภาษาอังกฤษเข้าอบรมการออกเสียง (phonics) การใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียน(classroom languages) กระบวนการสอนและการประเมินผล ผู้ปกครองไม่ต้องจ่ายค่าใช้จ่ายเพิ่ม
6
1.EBE (ต่อ) ผลที่เกิดขึ้นนักเรียนใช้ภาษาอังกฤษอย่างคล่องแคล่ว ครูกล้าใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ทำให้ครูและนักเรียนใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารในชั้นเรียน คำศัพท์และประโยคพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน ครูใช้คำสั่งในการจัดกลุ่ม ขั้นตอนการทำงานมากขึ้นได้เรียนรู้ การเปิดหนังสือคำชม และข้อมูลป้อนกลับ ฯลฯ เป็นภาษาอังกฤษ
7
2.รูปแบบ MEP (Mini-English program)
ระดับปฐมวัย- มัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อกระตุ้นนักเรียนให้ใช้ภาษาอังกฤษอย่างเข้มข้น มีทักษะภาษาอังกฤษเทียบเคียงระดับกับมาตรฐานของต่างประเทศ ผลสัมฤทธิ์สูงกว่าค่าเฉลี่ยที่กำหนด หลักสูตรสถานศึกษาจัดเข้มกว่าปกติ จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านภาษาอังกฤษ และด้านวิชาการ นร. เรียนวิชาต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย ๑๕ ชั่วโมง
8
2.รูปแบบ MEP (ต่อ) ระดับปฐมวัย- มัธยมศึกษาตอนปลาย
เพื่อกระตุ้นนักเรียนให้ใช้ภาษาอังกฤษอย่างเข้มข้น มีทักษะภาษาอังกฤษเทียบเคียงระดับกับมาตรฐานของต่างประเทศ ผลสัมฤทธิ์สูงกว่าค่าเฉลี่ยที่กำหนด หลักสูตรสถานศึกษาจัดเข้มกว่าปกติ จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านภาษาอังกฤษ และด้านวิชาการ นร. เรียนวิชาต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 15 ชั่วโมง
9
2.รูปแบบ MEP (ต่อ) นร. เรียนวิชาต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย ๑๕ ชั่วโมง มีครูชาวต่างขาติเจ้าของภาษา/หรือคุณสมบัติเทียบเท่าเป็นผู้สอน นักเรียนหนังสือ สื่อ และสื่อ ICT เป็นภาษาอังกฤษ ผู้ปกครองสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมตามประกาศ ศธ. ผลที่เกิดขึ้น นักเรียนเก่งภาษา และด้านวิชาการ เป็นตัวแทนแข่งขัน ร่วมกิจกรรมทางภาษา กิจกรรมร่วมกับนานาชาติ ฯลฯ
10
3. EP (English Program) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาต่อยอดเข้มข้นกว่า MEP
จัดระดับปฐมวัย- มัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนมีทักษะภาษาอังกฤษเทียบเคียงกับมาตรฐานของต่างประเทศ ผลสัมฤทธิ์สูงตามที่กำหนด เรียนเป็นภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละไม่น้อยกว่า ๑๘ ชั่วโมง พัฒนาโลกทัศน์ความเป็นสากล ผ่านการเรียนการสอน ปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียน และกับครูชาวต่างชาติ รวมทั้งบรรยากาศการใช้ภาษาอังกฤษ
11
3. EP (ต่อ) ใช้ สื่อ ICT การพัฒนาทักษะ ICT ของนักเรียนและการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรต่าง ๆ โรงเรียนสามารถระดมทรัพยากรจากผู้ปกครองเป็นค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมในการจัดการเรียนการสอนตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
12
4. IP (International Program)
มุ่งจัดการเรียนการสอนให้ได้คุณภาพของโรงเรียนนานาชาติ ต่อยอดจากโปรแกรม EP โดยที่นอกจากจัดการเรียนการสอนรายวิชาต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษ การจัดกิจกรรมเสริมด้านภาษาแล้วเน้นการเรียนวิชาต่าง ๆ รวมทั้งวิชาภาษาอังกฤษที่กำหนดไว้สำหรับผู้ที่จะได้รับประกาศนียบัตรตามหลักสูตรของต่างประเทศ เช่น General Certificate of Secondary Education (IGCSE) ทำความร่วมมือกับโรงเรียน/โปรแกรมของต่างประเทศ นักเรียนจะได้รับประกาศนียบัตร 2หลักสูตร คือทั้งของไทยและของต่างประเทศ ผู้ปกครองสนับสนุนค่าใช้จ่ายมาก
13
5. รูปแบบ EIS (English Integrated Studies)
กลุ่มผู้สนใจ ผู้บริหาร/ ครูร่วมกันพัฒนาขึ้น เพื่อเพิ่มทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียน เรียน มีการจัดการเรียนการสอนทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ครูไทยสอนวิชาต่าง ๆ โดยใช้ภาษาอังกฤษเบื้องต้นในการสื่อสารกับนักเรียน และใช้ภาษาไทยอธิบายเนื้อหาที่ซับซ้อน ครูใช้สื่อการสอนภาษาอังกฤษ และสื่อ ICT ต่าง ๆ จาก internet สพฐ. สนับสนุนครูด้านการพัฒนาทักษะการออกเสียง การสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษในชั้นเรียน อบรมผู้บริหาร ผู้ปกครองสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมบางส่วน
14
พัฒนาคุณภาพโรงเรียน EP/MEP
สภษ. -ตั้งกรรมการพิจารณาเอกสาร และประเมิน -ออกประเมิน และสรุปผล -สพฐ. อนุมัติ MEP ศธ. อนุมัติ EP -กำกับคุณภาพโรงเรียนโดยใช้ มฐ. การจัด EP สพฐ. ร่วมกับ สพท. และประธานศูนย์ และ รร.พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง สพท. -เป็นพี่เลี้ยง ช่วยแนะนำ -แต่งตั้ง กรรมการประเมินตามเกณฑ์การประเมิน -เสนอขอรับการประเมินจากส่วนกลาง -รับนัดหมายออกประเมินร่วมกับกรรมการส่วนกลาง โรงเรียนที่สนใจเปิดสอน ศึกษาแนวทางและ เตรียมความพร้อมด้านต่าง ๆ
15
ปีงบประมาณ 2557 พัฒนาหลักสูตรและการสอนสองภาษาให้เข้มข้น ต่อยอดสู่ IP
-หลักสูตรปกติ จัดให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานการจัดการเรียนการสอน EP/MEP ปรับปรุงหลักเกณฑ์ แนวทาง การสอน EPและการสองภาษา ถอดบทเรียนและจัดทำแนวทางบริหารจัดการโครงการ EP/MEP ประชุมโรงเรียน EP/MEP (ผู้บริหาร หัวหน้าโครงการ )
16
พัฒนาหลักสูตรและการสอนสองภาษา
ปีงบประมาณ 2557 พัฒนาหลักสูตรและการสอนสองภาษา - สพฐ.วิจัยและประเมินโครงการ EP -รร. ใช้เครื่องมือประเมินตนเองและจัดการสอนให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานการจัดการเรียนการสอน EP -จัดEP/MEP เข้มข้นโปรแกรม - วิทย์คณิต -พัฒนา EP สู่ IP -สพฐ. ประชุมและปรับปรุงหลักเกณฑ์ แนวทาง การสอน Ep เสนอ ศธ
17
พัฒนาหลักสูตรและการสอนสองภาษา
ปีงบประมาณ 2557 พัฒนาหลักสูตรและการสอนสองภาษา - -ประชุม ผู้บริหาร / หัวหน้าโครงการ EP -ศูยน์ภาคจัดประชุม จัด open house ประจำปี -สพฐ. จัดเตรียมความพร้อมโรงเรียนที่สนใจเปิดการสอน EP/MEP -พัฒนาหลักสูตรโปรแกรม Gifted ด้านภาษา
18
ปีงบประมาณ 2557 วิจัยระดับความสามารถภาษาอังกฤษของครูสอนภาษาอังกฤษและนักเรียน ทดสอบ เก็บข้อมูลภาคสนาม รายงานผลวิจัย วิจัยและพัฒนารายวิชาฟัง-พูด(Conversation courses) วิเคราะห์ รวบรวมรายวิชาที่โรงเรียนเปิดสอนสำเร็จ วิเคราะห์เทียบกับ CEFR ทำ ให้ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ จะเน้นการวัดประเมินผลในชั้นเรียน เผยแพร่ จัดอบรมโรงเรียนที่สนใจ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.