ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานเขตสุขภาพที่ 10 ( MoPH ITA) สู่การพัฒนาองค์กร นายสุรพร ลอยหา ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10 29 มีนาคม 2559
2
CPI : Corruption Perception Index 2015
Transparency International On 27 January 2016 Rank in World (168) Rank in Asian Country CPI 2558 2557 8 1 Singapore 85 84 54 2 Malaysia 50 52 76 (85 : 2014) 3 Thailand 38 88 4 Indonesia 36 34 95 5 Philippines 35 112 6 Vietnam 31 139 7 Laos 26 25 147 Myanmar 22 21 150 9 Cambodia
3
Corruption Perception Index (CPI) 8 แหล่งข้อมูล
ตารางแสดง คะแนนจาก 8 แหล่งข้อมูล ที่องค์การเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (TI) ใช้ประเมินเพื่อจัดอันดับ ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่น (CPI) ของประเทศไทย Corruption Perception Index (CPI) 8 แหล่งข้อมูล 2555 2556 2557 2558 Change 1 Bertelsmann Foundation Transformation Index 2012; BF (BTI) เน้นเรื่อง การลงโทษทางกฎหมายต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ใช้อำนาจหรือตำแหน่งในทางที่ผิด ความสำเร็จของภาครัฐในการควบคุมการทุจริตคอร์รัปชั่นและการมีกลไกเรื่องความซื่อสัตย์สุจริตอยู่ในระบบ 45 40 = 2 IMD World Competitiveness Year Book 2012 ; (IMD) การติดสินบนและการทุจริตมีอยู่หรือไม่ และมากน้อยเพียงใด 38 36 33 3 Political Risk Services International Country Risk Guide ; (ICRG) ผู้มีอำนาจหรือตำแหน่งทางการเมืองมีการทุจริตโดยใช้ระบบอุปถัมภ์และระบบเครือญาติ และภาคการเมืองกับภาคธุรกิจมีความสัมพันธ์กันมากน้อยเพียงใด 31 4 World Economic Forum Executive Opinion Survey (EOS) 2012 ; (WEF) ภาคธุรกิจต้องจ่ายเงินสินบนในกระบวนการต่างๆ มากน้อยเพียงใด 35 39 43 5 World Justice Project Rule of Law Index 2012 ; (WJP) เจ้าหน้าที่รัฐมีพฤติกรรมการใช้ตำแหน่งหน้าที่ในทางมิชอบมากน้อยเพียงใด 44 26 6 Economist Intelligence Unit Country Risk Assessment ; (EIU) ความโปร่งใสและตรวจสอบได้ในการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐ 7 Global Insight Country Risk Ratings ; (GI) การดำเนินการทางธุรกิจต้องเกี่ยวข้องกับการทุจริตมากน้อยเพียงใด (วิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อม 6 ประการที่เป็นปัจจัยเสี่ยงของเศรษฐกิจมหภาคและเศรษฐกิจแต่ละสาขา ได้แก่ เสี่ยงด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ ด้านกฎหมาย ด้านภาษี ด้านความมั่นคง และความผิดพลาดในกำรบริหารจัดการ ) 42 32 8 Political and Economic Risk Consultancy Asian Intelligence 2012 ; (PERC) ระดับการรับรู้ว่าการทุจริตเป็นปัญหาทีส่งผลกระทบต่อสถาบันต่างๆ ทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองมากน้อยเพียงใด
4
ตัวชี้วัดที่ประเทศไทยได้คะแนนลดลง
World Justice Project (WJP) : Rule of Law Index ปี 57 44 คะแนน ปี 58 26 คะแนน ประเมินโดยใช้หลักนิติรัฐ รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย และถูกตรวจสอบได้ กฎหมายต้องเปิดเผย ชัดเจน มั่นคง ปกป้องเสรีภาพของประชาชน กระบวนการทางกฎหมายมีความเป็นธรรม มีประสิทธิภาพ การตัดสินคดีต้องมีความเป็นธรรม มีจริยธรรม มีความเป็นกลาง ปัจจัยสำคัญ คือ สภาพความขัดแย้งทางการเมืองที่ผ่านมามีอิทธิพล ต่อตัวชี้วัดนี้ ซึ่ง WJP จะเก็บข้อมูล ทุกปีระหว่างเดือนกันยายน-ตุลาคม
5
คะแนนที่เพิ่มขึ้นของ 3 ตัวชี้วัด
เป็นผลจากมุมมองของผู้บริหารระดับสูงและนักธุรกิจทั้งในและต่างประเทศ ที่กลับมามีความเชื่อมั่นประเทศไทยมากขึ้น เกิดจาก รัฐบาลชุดปัจจุบันเข้ามาแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง เกิดเสถียรภาพ ความเสี่ยงทางการเมืองลดลง มีนโยบายชัดเจนในการให้ความสำคัญกับนโยบายคอร์รัปชั่น ส่งผลต่อการรับรู้ในระดับนานาชาติในทางที่ดีขึ้น การเผยแพร่ พ.ร.บ. การอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสทุกหน่วยงานภาครัฐ ให้ข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนกับประชาชน นักลงทุน หน่วยงาน/องค์กร สื่อมวลชนทั้งในและต่างประเทศ เร่งสร้างภาพลักษณ์ ในประเด็นที่เกี่ยวข้อง
6
กรอบแนวคิดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน
EIT และ EBIT การดำเนินงานขององค์กร ความโปร่งใส (Transparency) EIT และ EBIT ระบบการร้องเรียนขององค์กร ความรับผิดชอบตามการปฏิบัติ หน้าที่ ความพร้อมรับผิด (Accountability) EIT การรับรู้ข้อมูลการทุจริต (Corruption Perceived) EIT Integrity & Transparency Assessment คุณธรรมการให้บริการของหน่วยงาน (Integrity in Service Delivery) ประสบการณ์ตรง (Experience) EIT วัฒนธรรมองค์กร (Organization Culture) IIT วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture) หมายเหตุ : EIT คือ External Integrity & Transparency Assessment (การประเมินจากมุมมองภายนอกองค์กร) IIT คือ Internal Integrity & Transparency Assessment (การประเมินจากมุมมองภายในองค์กร) EBIT คือ Evidence-Based Integrity & Transparency Assessment (การประเมินจากหลักฐานเชิงประจักษ์) การต่อต้านการทุจริตขององค์กร (Anti-Corruption Practices) IIT และ EBIT การบริหารงานบุคคล (Personnel Management) IIT คุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน (Work Integrity) การบริหารงบประมาณ (Budget Execution) IIT ความเป็นธรรมในการมอบหมายงาน (Fairness in Work Assignment) IIT
7
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
(Integrity & Transparency Assessment : ITA) ดัชนี 5 ด้าน ความโปร่งใส (Transparency) ความพร้อมรับผิด (Accountability) คุณธรรมการให้บริการของหน่วยงาน (Integrity in Service Delivery) วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture) คุณธรรม การทำงานในหน่วยงาน (Work Integrity) ใช้แบบสำรวจ ดังนี้ IIT : Internal Integrity & Transparency Assessment การประเมินมุมมอง การรับรู้ภายในองค์กร EIT : External Integrity & การรับรู้ภายนอกองค์กร EBIT : Evidence-Based Integrity & การประเมินจากหลักฐาน เชิงประจักษ์ ทราบถึงสถานะระดับ คุณธรรมและความโปร่งใส ของหน่วยงานภาครัฐ เจ้าหน้าที่ในองค์กร ในภาพรวมปฏิบัติตาม ประมวลจริยธรรมหรือไม่ ระดับใด มีข้อควรพัฒนาปรับปรุง ใดบ้างเพื่อให้หน่วยงาน ภาครัฐปฏิบัติงานด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต เพิ่มค่า CPI ของประเทศ ตามเป้าหมายที่กำหนดใน ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2
8
การดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
KPI 21 การดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment : ITA) เฉพาะ EBIT
9
แนวทางการดำเนินงาน ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน เขตสุขภาพที่ 10 ปี 2558 กลุ่ม EBIT เนื้อหา ผู้รับผิดชอบ 1 EB1-EB 3 การจัดซื้อจัดจ้าง กลุ่มงานบริหาร กลุ่มงานยุทธศาสตร์ 2 EB4 -EB 7 เกี่ยวกับภารกิจหลัก การเข้าถึงข้อมูล -กลุ่มงาน คบส. และ ศูนย์ IT 3 EB 8 -EB 10 ระบบการร้องเรียน ผลประโยชน์ทับซ้อน ป้องกัน/ปราบปรามการทุจริต กลุ่มงานประกัน -กลุ่มงานนิติการ 4 EB 11 - การรวมกลุ่มของ จนท. ในหน่วยงานเพื่อการบริหารงานที่โปร่งใส ชมรมจริยธรรม หน่วยงานคุณธรรม
10
ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
KPI 21 ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment : ITA)
11
ประเมินรอบ 9 เดือน และ 12 เดือน
ตัวชี้วัดที่ 21 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่าน เกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดำเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ประเมินเฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based Integrity and Transparency Assessment) จำนวน 11 ข้อ (42 ข้อย่อย) ประเมินรอบ 9 เดือน และ 12 เดือน เกณฑ์เป้าหมาย ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 10 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 30 40 50 60 70
12
ตัวชี้วัดที่ 21 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment : ITA) รอบ 12 เดือน ตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน N = 85 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ ไม่ส่งรายงาน ระดับคะแนน ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงาน (Integrity and Transparency Assessment : ITA) 85 84 98.82 1 1.18 - 5.0000 หมายเหตุ ในปีงบประมาณ พ.ศ กำหนดให้ผ่านเกณฑ์ระดับ 3 ร้อยละ 50 (ช่วงปรับค่าคะแนน +/- 10)
13
ค่าคะแนนระดับจังหวัด/เขตสุขภาพ
ลำดับ เขตสุขภาพที่ หน่วยงาน ค่าคะแนน ( เฉพาะ EBIT ) รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 10 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี 68 88 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 66 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 82 85 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร 94 97
14
SAR การดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 KPI 7
การดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของหน่วยงาน IIT : Internal Integrity & Transparency Assessment การประเมินมุมมอง การรับรู้ภายในองค์กร EIT : External Integrity & การรับรู้ภายนอกองค์กร EBIT : Evidence-Based Integrity & การประเมินจากหลักฐานเชิงประจักษ์ SAR เป็นตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับกรม และจังหวัด ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2558 การประเมินมิติภายใน “การพัฒนาองค์กร” รายงาน SAR รอบ 6/9/12
15
แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เขตสุขภาพที่ 10 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ กลุ่ม ดัชนีในการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใส แหล่งข้อมูล ค่าน้ำหนัก (ร้อยละ) ผู้รับผิดชอบให้ข้อมูลหลักฐาน 1 ความโปร่งใส EIT และ EBIT 26 1.1 การดำเนินงานขององค์กร 14.3 (55%) ผู้บริหาร,พัสดุ,ยุทธ 1.2 ระบบการร้องเรียนขององค์กร 11.7 (45%) ผู้บริหาร,นิติการ 2 ความพร้อมรับผิด 18 2.1ความพร้อมในการปฏิบัติตามภาระหน้าที่ 8.82 (49%) ผู้บริหาร,คบส 2.2 ความสุภาพ ความกระตือรือร้น เต็มใจ 9.18 (51%) 3 ความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน EIT 22 3.1 การรับรู้ข้อมูลการทุจริต 11.66(53%) ผู้บริหาร,คบส,พัสดุ,บริการ 3.2 ประสบการณ์ตรง 10.34(47%) 4 วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร IIT + EBIT 16 4.1 วัฒนธรรมองค์กร IIT 6.88(43%) ผู้บริหาร,ทุกกล่มงาน 4.2 การต่อต้านการทุจริตขององค์กร IIT +EBIT 9.12(57%) 5 คุณธรรมในการทำงานในหน่วยงาน 5.1 การบริหารงานบุคคล 7.54(42%) ผู้บริหาร,บุคคลากรทุกคน 5.2 การบริหารงบประมาณ 5.58(31%) 5.3 ความเป็นธรรมในการมอบหมายงาน 4.86(27%)
16
SAR ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 KPI 7
ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของหน่วยงาน IIT : Internal Integrity & Transparency Assessment การประเมินมุมมอง การรับรู้ภายในองค์กร EIT : External Integrity & การรับรู้ภายนอกองค์กร EBIT : Evidence-Based Integrity & การประเมินจากหลักฐานเชิงประจักษ์ SAR เป็นตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับกรม และจังหวัด ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2558 การประเมินมิติภายใน “การพัฒนาองค์กร” รายงาน SAR รอบ 6/9/12
17
ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน
ลำดับ เขตสุขภาพ หน่วยงาน คะแนน ( EIT ,ITT ,EBIT ) ระดับคุณธรรม 10 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี 77.90 สูง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 78.49 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร 80.89 สูงมาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ 75.01 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร 72.75
18
ดัชนีในการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใส
ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ระดับจังหวัด เขตสุขภาพที่10 ตัวชี้วัดที่ 7 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ลำ ดับ ดัชนี ดัชนีในการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใส ค่าน้ำหนัก (ร้อยละ) คะแนนที่ได้ อบ. ศก. ยโส อจ. มห. 1 ความโปร่งใส 26 78.01 79.85 75.82 68.18 70.37 2 ความพร้อมรับผิด 18 86.93 93.72 88.88 75.77 73.69 3 ความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน 22 83.61 97.16 94.48 91.99 72.83 4 วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร 16 71.01 67.45 74.00 69.12 76.44 5 คุณธรรมในการทำงานในหน่วยงาน 67.87 48.31 69.76 68.57 71.88 คะแนนคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดำเนินงานโดยรวม 100 77.90 78.49 80.89 75.01 72.75 จัดลำดับในเขต
19
คะแนนเฉลี่ย จังหวัด คะแนน ระดับผลการประ เมิน อบ. 77.9 สูง ศก. 78.5 ยส. 80.9 สูงมาก อจ. 75.04 มห. 72.75 โปร่งใส พร้อมรับผิด ปลอดทุจริต วัฒนธรรม ในองค์กร คุณธรรม ในการทำงาน แสดงผลการประเมิน ITA ตัวชี้วัดที่ 7 ปี ( 5 ด้าน 5 จังหวัด ) เฉพาะหน่วย สธ.
20
67.45 48.31 Integrity & Transparency Assessment
ค่าเฉลี่ยการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของส่วนราชการระดับจังหวัด (ดัชนีที่ 4 และ 5) ความโปร่งใส (Transparency) ความพร้อมรับผิด (Accountability) คุณธรรมการให้บริการของหน่วยงาน (Integrity in Service Delivery) วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture) คุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน (Work Integrity) การดำเนินงานขององค์กร ระบบการร้องเรียนขององค์กร ความรับผิดชอบตามการปฏิบัติ หน้าที่ การรับรู้ข้อมูลการทุจริต (Corruption Perceived) วัฒนธรรมองค์กร (Organization Culture) การต่อต้านการทุจริตขององค์กร (Anti-Corruption Practices) การบริหารงานบุคคล (Personnel Management) การบริหารงบประมาณ (Budget Execution) ความเป็นธรรมในการมอบหมายงาน (Fairness in Work Assignment) EIT และ EBIT EIT IIT IIT และ EBIT ประสบการณ์ตรง (Experience) Integrity & Transparency Assessment 67.45 48.31
21
2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 3. สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและ
ผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ปีงบประมาณ พ.ศ ในเบื้องต้น ประกอบด้วย 3 หน่วยงาน 1. สำนักงานจังหวัด 2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 3. สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมจังหวัด
22
คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด
ค่าคะแนนตัวชี้วัด “ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของหน่วยงาน” ของจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เขต 12 เขต ภาค อีสาน 20 จ. ประ เทศ 76 จ. หน่วยงาน ( 3 หน่วยงาน ) สำนักงานจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด คะแนน คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด คะแนนตัวชี้วัดITA 8 37 จังหวัดอุบลราชธานี 77.37 4 12 58 จังหวัดศรีสะเกษ 74.18 2 6 จังหวัดยโสธร 80.12 5 15 63 จังหวัดอำนาจเจริญ 72.77 19 74 จังหวัดมุกดาหาร 69.77
23
KPI 21 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Integrity and Transparency Assessment : EBIT)
24
ตัวชี้วัดที่ 21 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน เฉพาะหลักฐาน เชิงประจักษ์ (Evidence-Based Integrity and Transparency Assessment : EBIT) ประเมินเฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based Integrity and Transparency Assessment) จำนวน 11 ข้อ (42 ข้อย่อย) ประเมินรอบ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน และ 12 เดือน เกณฑ์เป้าหมาย ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 5 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 65 70 75 80 85 IPA
25
KPI 21 & IPA 3 เดือน 9 เดือน 6 เดือน 12 เดือน
พฤษภาคม 59 จัดส่ง Evidence-Based พร้อมหลักฐานประกอบ จำนวน 1 ชุดต่อ 1 หน่วยงาน (นับจากวันประทับตราไปรษณีย์) 3 เดือน ศปท. รายงาน IPA ปลัดกระทรวงฯ ตาม KPI 21 (ม.ค. 59) EB 1 9 เดือน 1. ศปท. รายงาน IPA ปลัดกระทรวงฯ ตาม KPI 21 (ก.ค. 59) EB 1 - EB11 2. ส่วนราชการระดับกรม และจังหวัดรายงานผล ตาม KPI 21 ( 5 ก.ค. 59) EB 1 - EB11 6 เดือน 1. ศปท. รายงาน IPA ปลัดกระทรวงฯ ตาม KPI 21 (เม.ย. 59) EB 1 - EB11 2. ส่วนราชการระดับกรม และจังหวัดรายงานผล ตาม KPI 21 (5 เม.ย. 59) EB 1 - EB11 12 เดือน 1. ศปท. รายงาน IPA ปลัดกระทรวงฯ ตาม KPI 21 (ก.ย. 59)EB 1 - EB11 2. ส่วนราชการระดับกรม และจังหวัดรายงานผล ตาม KPI 21 ( 25 ก.ย. 59) EB 1 - EB11
26
KPI 8 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ IIT : Internal Integrity & Transparency Assessment การประเมินมุมมอง การรับรู้ภายในองค์กร EIT : External Integrity & การรับรู้ภายนอกองค์กร EBIT : Evidence-Based Integrity & การประเมินจากหลักฐานเชิงประจักษ์ SAR เป็นตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับกรม และจังหวัด ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2559 การประเมินมิติภายใน “การพัฒนาองค์กร” รายงาน SAR รอบ 6/9/12
27
ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน
KPI 8 เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์ ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน 80-100 สูงมาก สูง ปานกลาง ต่ำ 0-19.9 ต่ำมาก
28
Population for Internal
KPI 8 Population for Internal ข้อมูลบุคลากร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ พนักงานราชการ ลูกจ้าง ฯลฯ สังกัดหน่วยงานที่เข้ารับการประเมิน เป็นผู้ที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานนั้นๆ ไม่น้อยกว่า 1 ปี นับจนถึงวันที่ 31 มกราคม ให้หน่วยงานจัดส่งข้อมูลบุคลากร จำนวน 500 ราย (หากมีน้อยกว่า 500 ราย ให้ส่งข้อมูลทั้งหมด) โดยนักวิจัยจะสำรวจโดยสุ่มตัวอย่าง (Sample Survey Research) ด้วยขนาดตัวอย่างที่สอดคล้อง เหมาะสม และมีลักษณะของความเป็นตัวแทนที่ดี
29
Population for Internal
KPI 8 Population for Internal สสจ. รพศ. รพท. 500
30
Population for External
KPI 8 Population for External ข้อมูลผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้รับบริการ หมายถึง ผู้ที่ติดต่อราชการกับหน่วยงาน เช่นผู้ใช้บริการ ผู้มาติดต่อขออนุมัติ/อนุญาต ตามภารกิจของหน่วยงาน ฯลฯ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมายถึง ผู้เป็นคู่สัญญา ผู้ซื้อซอง ผู้ยื่นประมูล ฯลฯ ตลอดจนผู้ได้รับผลกระทบจากภารกิจของหน่วยงาน ในระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2558 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2559 (วงรอบต่อจากการประเมิน ITA ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558) ให้หน่วยงานจัดส่งข้อมูลผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน 500 ราย (หากมีน้อยกว่า 500 ราย ให้ส่งข้อมูลทั้งหมด) โดยนักวิจัยจะสำรวจโดยสุ่มตัวอย่าง (Sample Survey Research) ด้วยขนาดตัวอย่างที่สอดคล้อง เหมาะสม และมีลักษณะของความเป็นตัวแทนที่ดี
31
Population for External
KPI 8 Population for External สสจ. รพศ. รพท. 500/ 500 งาน คบ. และ พัสดุ พัสดุ วันที่ 1 เมษายน 58 ถึงวันที่ 31 มกราคม 59
32
ปฏิทินของ ศปท.สธ. รอบ 6 เดือน วันที่ กิจกรรม รายละเอียด 31 มีนาคม 2559
สสจ. ส่งคำตอบตามแบบสำรวจเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) พร้อมหลักฐานประกอบ ให้ผู้ตรวจประเมินระดับเขต จำนวน 1 ชุดต่อ 1 หน่วยงาน (ประเมินตาม KPI ที่ 21 รอบ 6 เดือน) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกแห่ง ส่งคำตอบ EBIT 3 เมษายน 2559 ผู้ตรวจประเมินระดับเขต และกรมวิชาการ ส่งค่าคะแนนตาม KPI ที่ 21 ส่ง ศปท. สธ.รายงานผลตามตัวชี้วัดที่ 21 รอบ 6 เดือน ส่ง ศปท. สธ. 5 เมษายน 2559 ศปท. รายงานผลตามตัวชี้วัดที่ 21 รอบ 6 เดือน - PA ปลัดกระทรวงฯ - ระบบข้อมูลตัวชี้วัดสำคัญ (Key Performance Indicators) สนย.
33
ปฏิทินของ Third Party วันที่ กิจกรรม รายละเอียด 31 พฤษภาคม 2559
สิ้นสุดการส่งคำตอบตามแบบสำรวจเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) พร้อมหลักฐานประกอบ จำนวน 1 ชุดต่อ 1 หน่วยงาน (นับจากวันประทับตราไปรษณีย์) สถานที่จัดส่ง สำนักงานโครงการ ITA เลขที่ 457/33 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 35 แขวงบางขุนศรี เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 (ไม่ต้องสำเนาส่งสำนักงาน ป.ป.ท.) 30 มิถุนายน 2559 แจ้งผลคะแนนเบื้องต้นตามแบบสำรวจเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ให้แก่หน่วยงาน หมายเหตุ กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม - ติดตามรายละเอียดการดำเนินงานและ Download เอกสารทางเว็บไซต์ กรณีกระทรวงสาธารณสุข Download เอกสารทางเว็บไซต์ .th เมนู ITA ปี 2559 15 กรกฎาคม 2559 สิ้นสุดการส่งคำร้องอุทธรณ์ผลคะแนน 30 กันยายน 2559 ที่ปรึกษาจัดส่งรายงานสรุปผลการประเมิน ITA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ให้แก่สำนักงาน ป.ป.ท.
34
ปฏิทินของ ศปท.สธ. รอบ 9 เดือน วันที่ กิจกรรม รายละเอียด
30 มิถุนายน 2559 สสจ. ส่งคำตอบตามแบบสำรวจเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) พร้อมหลักฐานประกอบ ให้ผู้ตรวจประเมินระดับเขต จำนวน 1 ชุดต่อ 1 หน่วยงาน (ประเมินตาม KPI ที่ 21 รอบ 9 เดือน) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกแห่ง ส่งคำตอบ EBIT 4 กรกฎาคม 2559 ผู้ตรวจประเมินระดับเขต และกรมวิชาการ ส่งค่าคะแนนตาม KPI ที่ 21 ส่ง ศปท. สธ.รายงานผลตามตัวชี้วัดที่ 21 รอบ 9 เดือน ส่ง ศปท. สธ. 5 กรกฎาคม2559 ศปท. รายงานผลตามตัวชี้วัดที่ 21 รอบ 9 เดือน - PA ปลัดกระทรวงฯ - ระบบข้อมูลตัวชี้วัดสำคัญ (Key Performance Indicators) สนย.
35
ปฏิทินของ ศปท.สธ. รอบ 12 เดือน วันที่ กิจกรรม รายละเอียด
23 กันยายน 2559 สสจ. ส่งคำตอบตามแบบสำรวจเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) พร้อมหลักฐานประกอบ ให้ผู้ตรวจประเมินระดับเขต จำนวน 1 ชุดต่อ 1 หน่วยงาน (ประเมินตาม KPI ที่ 21 รอบ 12 เดือน) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกแห่ง ส่งคำตอบ EBIT 28 กันยายน 2559 ผู้ตรวจประเมินระดับเขต และกรมวิชาการ ส่งค่าคะแนนตาม KPI ที่ 21 ส่ง ศปท. สธ.รายงานผลตามตัวชี้วัดที่ 21 รอบ 12 เดือน ส่ง ศปท. สธ. 30 กันยายน 2559 ศปท. รายงานผลตามตัวชี้วัดที่ 21 รอบ 12 เดือน - PA ปลัดกระทรวงฯ - ระบบข้อมูลตัวชี้วัดสำคัญ (Key Performance Indicators) สนย.
36
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงาน “เป็นการประเมินเชิงบวก เพื่อการยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงาน” “ไม่ใช่การจับผิด แต่เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะนำไปสู่ การสร้างความร่วมมือและเพื่อปรับปรุงการทำงาน ของหน่วยงานภาครัฐให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น”
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.