ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยนัยนา วอชิงตัน ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
4.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน
น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้รับผิดชอบ : กรง. สกก.
2
ผลการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มขึ้น
คำอธิบาย ปี 2560 ตรวจสุขภาพประจำปี ปี 2560 ข้อมูลสุขภาพของบุคลากร ปี 2561 หน่วยงานจัดกิจกรรม/โครงการ เพื่อเสริมสร้างสุขภาพของหน่วยงานให้แก่บุคลากร บุคลากร สุขภาพ แข็งแรง ผลการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มขึ้น
3
กิจกรรม/โครงการสร้างเสริมสุขภาพ
ลักษณะของกิจกรรม/โครงการ สอดคล้องกับเพศ อายุ ลักษณะงาน ข้อมูลสุขภาพ และวิถีชีวิตของแต่ละคน เน้นสร้างความตระหนักในการใส่ใจดูแลสุขภาพสุขภาพอย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็นลักษณะ นิสัย
4
ตัวอย่าง กิจกรรม/โครงการสร้างเสริมสุขภาพ
จัดสถานที่ /กิจกรรมออกกำลังกาย การส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ ให้รางวัลจูงใจในการดูแลสุขภาพ สร้างสภาพแวดล้อมที่ดีในการทำงาน ฯลฯ
5
บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
โครงการ "Happy body สุขภาพดีกับ MK" มีการอบรมเกี่ยวกับ การดูแลสุขภาพเพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานของ MK ได้รับความรู้ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและ การออกกำลังกายมีสุขภาพแข็งแรง ป้องกัน/แก้ไข ปัญหาน้ำหนักเกิน, อ้วน/อ้วนลงพุง การใช้ชีวิตตามวิถีไทย วิถีธรรมเพื่อพิชิตอ้วน และนำความรู้ไปถ่ายทอด ให้กับเพื่อนร่วมงาน สมาชิกในครอบครัวต่อไป
6
บริษัท ไทยเอ็นโอเค จำกัด
การส่งเสริมการออกกำลังกาย เช่น สร้างสนามกีฬาอเนกประสงค์ขนาด ใหญ่ชื่อ Sport Arena จัดกิจกรรมกีฬาภายใน และส่งเสริมให้พนักงาน ร่วมแข่งขันกับหน่วยงานภายนอก การส่งเสริมการดูแลสุขภาพ เช่น การตรวจร่างกายประจำปี รณรงค์ต้านยาเสพติด การส่งเสริม คุณค่าทางโภชนาการ
7
บริษัทไมโครชิพ เทคโนโลยี (ไทยแลนด์) จำกัด
การตรวจสุขภาพพนักงานประจำปี กิจกรรมการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร การจ้างนักโภชนาการมาสอน และให้ความรู้ กับร้านค้าในเรื่องสุขอนามัย และโภชนาการอาหารที่ถูกต้อง จัดลานสุขภาพสำหรับออกกำลังกาย เช่น โครงการยืดเหยียด เพื่อสุขภาพ กิจกรรมคนไทยไร้พุง การเล่นโยคะ ตีปิงปอง เป็นต้น การให้ข้อมูลการดูแลสุขภาพ ระบบเสียงตามสาย ติดโปสเตอร์ บอร์ดประชาสัมพันธ์ เว็บไซต์ของทางบริษัทฯ
9
บริษัท สยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จํากัด
การจัดสัมมนา Health Care Sharing การตรวจวัดสุขภาพ ของพนักงาน ได้แก่ การตรวจวัดองค์ประกอบร่างกายด้วยเครื่อง InBody การตรวจสุขภาพประจำปี การทดสอบสมรรถภาพทางกาย การตรวจวัดสารต้านอนุมูลอิสระในร่างกาย การตรวจวัดมวลกระดูก เป็นต้น การเสริมสร้างให้พนักงานปรับ พฤติกรรมด้านอาหาร การสร้างสถานที่ออกกำลังกายภายในองค์กร กิจกรรม “เปลี่ยนสนามอมควันเป็นสนามอมสุข” การแข่งขันกีฬาภายในองค์กรตลอดทั้งปี การออกกำลังกายกลุ่มหลังเลิกงาน เช่น เต้นแอโรบิค และโยคะ การจัดกิจกรรมออกกำลังกายสะสมคะแนนที่พนักงาน สามารถออกกำลังกายได้ทุกที่ ทุกเวลา เพื่อสร้างเสริมให้พนักงานมี พฤติกรรม “เสพติดการออกกำลังกาย”
10
โรงไฟฟ้าบางปะกง จัดให้มีสถานที่ออกกำลังกาย
การจัดกิจกรรมรณรงค์ในวันสำคัญ เช่น วันงดสูบบุหรี่โลก การจัดตั้งชมรมกีฬา การจัดให้มีคลินิกให้คำปรึกษา โดยมีการจ้างนักจิตวิทยา มาให้คำปรึกษากับพนักงาน ให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ ผ่านช่องทาง เสียงตามสาย จัดทำแผ่นป้ายประกาศประชาสัมพันธ์ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง หัวข้อเรื่อง เพื่อให้มีความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน รวมทั้งมี การเผยแพร่ความรู้ผ่านทาง ให้กับผู้ที่มีรายชื่อในระบบทุกคน
11
ผลลัพธ์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม/โครงการ
บุคลากรในหน่วยงานมีสุขภาพร่างกาย และจิตใจแข็งแรงมากกว่าเดิม อัตราการลาป่วยลดลง ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลลดลง ผลผลิตขององค์การเพิ่มสูงขึ้น คุณภาพของงานดีขึ้น เพิ่มขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน 7. สร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร บุคลากรมีปฏิสัมพันธ์กันมาขึ้น รักและสามัคคี กันมากขึ้น 9. บุคลากรมีความสุขในการทำงานมากขึ้น
12
การวัดความสำเร็จของการดำเนินการเสริมสร้างสุขภาพ ของบุคลากรในหน่วยงาน
การวัดความสำเร็จของการดำเนินการเสริมสร้างสุขภาพ ของบุคลากรในหน่วยงาน ค่าดัชนีมวลกาย (Body Mass Index; BMI) น้ำหนักตัว (Kg.) ส่วนสูง2 (m) บ่งชี้ว่าอ้วนหรือผอม เพื่อดูอัตราการเสี่ยงต่อการเกิดโรค * บุคลากร หมายถึง ขรก. กทม. สามัญ ขรก. ครู และบุคลากรทาง การศึกษา กทม. ลูกจ้างประจำ และลูกจ้างชั่วคราว ยกเว้น บุคลากรที่ ตั้งครรภ์ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
13
การแปลค่า BMI *เกณฑ์มาตรฐานอาเซียน > 30 อ้วนมาก/ภาวะอ้วนระดับ 3
แปลผลน้ำหนัก ภาวะเสี่ยงต่อโรค < 18.5 น้ำหนักน้อย/ผอม มากกว่าคนปกติ 18.5 – 22.9 น้ำหนักปกติ/สุขภาพดี เท่าคนปกติ 23 – 24.9 ท้วม/ภาวะอ้วนระดับ 1 อันตรายระดับ 1 25 – 29.9 อ้วน/ภาวะอ้วนระดับ 2 อันตรายระดับ 2 > 30 อ้วนมาก/ภาวะอ้วนระดับ 3 อันตรายระดับ 3 *เกณฑ์มาตรฐานอาเซียน
14
วิธีการคำนวณ ค่าเฉลี่ย BMI ของบุคลากรในหน่วยงาน ที่มีแนวโน้ม การพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์ปกติเพิ่มมากขึ้น ภายหลังมีการจัดกิจกรรม ค่าเฉลี่ย BMI ของบุคลากร ค่าเฉลี่ย BMI ของ บุคลากร ในหน่วยงานก่อนจัดกิจกรรมฯ - ในหน่วยงานหลัง จัดกิจกรรมฯ X 100 ค่าเฉลี่ย BMI ของบุคลากรในหน่วยงานก่อนดำเนิน กิจกรรมฯ
15
แนวโน้มเข้าสู่เกณฑ์ปกติ
โดยที่ หลังมีกิจกรรม แนวโน้มเข้าสู่เกณฑ์ปกติ ค่าเฉลี่ย ผลการคำนวณ ≥ 18.5 ค่า + เพิ่มขึ้น < 18.5 ลดลง > ก่อน ติด - = ก่อน คงที่ - รักษาเกณฑ์ปกติได้ (5 คะแนน)
16
เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 2.5 ต่อ 1 คะแนน ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน (ร้อยละค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายของบุคลากรในหน่วยงานที่มีแนวโน้มการพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์ปกติ) ลดลง ขึ้นไป 2.5 คงที่ เพิ่มขึ้น * ยกเว้น ค่าเฉลี่ย BMI ทั้งก่อนและหลังกิจกรรม มีค่าระหว่าง 18.5 – 22.9 เท่ากับ 5 คะแนน
17
ตัวอย่างการคำนวณ ค่า + (25 – 23.9) x 100 = 4.4 25
ตัวอย่างที่ 1 หน่วยงาน ก ค่าเฉลี่ย BMI ของบุคลากรในสังกัดก่อนจัดกิจกรรมเท่ากับ 25 หลังจัดกิจกรรมค่าเฉลี่ย BMI ของบุคลากรในสังกัด เท่ากับ 23.9 (25 – 23.9) x 100 = 4.4 25 หมายถึง บุคลากรของหน่วยงาน ก มีค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์ปกติ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.4 และจะได้คะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนน เท่ากับ 4.760 ≥ 18.5 ค่า + 4.4 – 2.5 = 1.9 (1.9 x 1) ÷ 2.5 = 0.760 = 4.760
18
ตัวอย่างการคำนวณ ค่า + (18.9 – 17.8) x 100 = 5.8 18.9
ตัวอย่างที่ 2 หน่วยงาน ข ค่าเฉลี่ย BMI ของบุคลากรในสังกัดก่อนจัดกิจกรรมเท่ากับ 18.9 หลังจัดกิจกรรมค่าเฉลี่ย BMI ของบุคลากรในสังกัด เท่ากับ 17.8 (18.9 – 17.8) x 100 = 5.8 18.9 หมายถึง บุคลากรของหน่วยงาน ข มีค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์ปกติ ลดลง ร้อยละ 5.8 และจะได้คะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนน เท่ากับ 1 < 18.5 ค่า + ลดลงมากกว่าร้อยละ 5
19
ตัวอย่างการคำนวณ > ก่อน ค่า - (23 – 23.5) x 100 = -2.2 23
ตัวอย่างที่ 3 หน่วยงาน ค ค่าเฉลี่ย BMI ของบุคลากรในสังกัดก่อนจัดกิจกรรมเท่ากับ 23 หลังจัดกิจกรรมค่าเฉลี่ย BMI ของบุคลากรในสังกัด เท่ากับ 23.5 (23 – 23.5) x 100 = -2.2 23 หมายถึง บุคลากรของหน่วยงาน ค มีค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์ปกติ ลดลง ร้อยละ 2.2 และจะได้คะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนน เท่ากับ 2.120 > ก่อน ค่า - 2.2 – 2.5 = -0.3 (-0.3 x 1) ÷ 2.5 = 0.120 = 2.120
20
ค่าทั้ง ก่อน & หลัง อยู่ระหว่าง
ตัวอย่างการคำนวณ ตัวอย่างที่ 4 หน่วยงาน ง ค่าเฉลี่ย BMI ของบุคลากรในสังกัดก่อนจัดกิจกรรมเท่ากับ 20 หลังจัดกิจกรรมค่าเฉลี่ย BMI ของบุคลากรในสังกัด เท่ากับ 21.8 หมายถึง บุคลากรของหน่วยงาน ค มีค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายรักษาเกณฑ์ปกติไว้ได้ จะได้คะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนน เท่ากับ 5 18.5 – 22.9 ค่าทั้ง ก่อน & หลัง อยู่ระหว่าง 18.5 – 22.9
21
การดำเนินการ พิจารณากำหนดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ จากข้อมูลสุขภาพ
พิจารณากำหนดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ จากข้อมูลสุขภาพ วัดค่า BMI บุคลากรในหน่วยงาน รายงานค่าเฉลี่ย BMIลงในแบบฟอร์ม A ส่งสำเนาแบบฟอร์ม A ให้ สกก. ภายใน 30 พ.ย. 2560 ไม่มีหลักฐานแสดงกิจกรรม หัก 1 คะแนน จากระดับคะแนน (1 – 5) ส่งสำเนาแบบฟอร์ม A &หลักฐานการดำเนินกิจกรรม ให้ สกก. ภายใน 17 ก.ย. 2561 รายงานค่าเฉลี่ย BMIลงในแบบฟอร์ม A วัดค่า BMI บุคลากรในหน่วยงาน ดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพต่าง ๆ * การวัดค่าดัชนีมวลกายของบุคลากรนั้น ขอให้หน่วยงานประสานขอความอนุเคราะห์จากศูนย์บริการสาธารณสุข หรือโรงพยาบาลให้ส่งเจ้าหน้าที่เข้ามาตรวจวัดน้ำหนัก และส่วนสูงให้ทั้ง 2 ครั้ง
22
เอกสาร/หลักฐานประกอบการพิจารณา
แบบฟอร์ม A (เป็น file excel สามารถ download ได้ที่เว็บไซต์ สำนักงาน ก.ก. สำเนาการเบิกจ่ายเงินเดือน / ค่าจ้าง ณ 1 ก.ย. 2561 3. เอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการดำเนิน กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพต่าง ๆ ที่หน่วยงานจัด
23
ตัวอย่างแบบฟอร์ม A
24
ตัวอย่างแบบฟอร์ม A
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.