ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยณี ตั้งตระกูล ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
“ศึกษาการประยุกต์ใช้ พลังงานรังสีอาทิตย์ร่วมกับ พลังงานไฟฟ้าช่วยในการ กลั่นเอทานอล”
พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (ปีที่1), รายงาน การวิจัยฉบับสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ, 1-54. นำเสนอโดย... นางสาวเบญจวรรณ มุ่งแฝงกลาง รหัส วิชา Solar Energy (ETT 616) ปีการศึกษา 1/2559
2
หัวข้อการนำเสนอ บทนำ 3. ผลการทดลอง 2. การออกแบบการทดลอง 4. สรุปผล
1.1 ที่มาและความสำคัญของงานวิจัย 1.2 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 1.3 ขอบเขตงานวิจัย 3. ผลการทดลอง 3.1 ผลการทดสอบการกลั่นเอทานอลที่ ระยะเวลา 2 ชั่วโมง 3.2 ผลการทดสอบการกลั่นเอทานอลที่ ระยะเวลา 5 ชั่วโมง 2. การออกแบบการทดลอง 2.1 การเตรียมอุปกรณ์ 2.2 วิธีการทดลอง 4. สรุปผล
3
1. บทนำ Global energy consumption 2014 Biofuels 1% Oil 32 %
Source :
4
1. บทนำ Share of global ethanol production(2015) อ้อย ข้าวโพด
ข้าวโพด มันสำปะหลัง ข้าวฟ่างหวาน
5
1. บทนำ “พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานขนาดใหญ่ ที่ไม่มีค่าใช้จ่ายปัญหาส่วนใหญ่ของการใช้พลังงานความร้อนแสงอาทิตย์จะเกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพของตัวเก็บรังสีแสงอาทิตย์ (Solar collector) ที่เป็นผลจากส่วนของโครงสร้างของตัวเก็บรังสีอาทิตย์รวมทั้งพัฒนาสารตัวกลาง (working medium) โดยนำเทคโนโลยีนาโนเข้ามาร่วม”
6
1. บทนำ 1.2 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย พารามิเตอร์ที่สนใจศึกษา
เพื่อหาสมรรถนะในการกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในรูปความร้อน เพื่อศึกษาเปรียบเทียบสมรรถนะการกลั่นเอทานอลเมื่อใช้และไม่ใช้พลังงานไฟฟ้าร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์ พารามิเตอร์ที่สนใจศึกษา - ปริมาณเอทานอลที่กลั่นได้ (มิลลิลิตร) - ความเข้มข้นของเอทานอลที่กลั่นได้ (%v/v) 1.2 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ที่มา : พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (ปีที่1), รายงาน การวิจัยฉบับสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ, 1-54.
7
2. การออกแบบการทดลอง แผนภาพการกลั่นเอทานอลโดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังงานไฟฟ้า 1. Feed tank 2. Level control 4. ชุดระบายความร้อน 5. condenser 7. ภาชนะรองรับของเหลว 9. หม้อต้มซ้ำ 10. ชุดให้ความร้อน 13. Flat plate ขนาด 4x4 ตร.ม. ที่มา : พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดย ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (ปีที่1)
8
2. การออกแบบการทดลอง 2 และ 5 ชั่วโมง
แผนภาพการทดสอบกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังงานไฟฟ้า บรรจุ [EtOH] 10 vt.% ลงในถังป้อน + รับความร้อนในตัวเก็บรังสีอาทิตย์ ของเหลวในหม้อจะต้มซ้ำเพื่อแยก เอทานอลที่เหลืออกจากน้ำ ไอไหลเข้าสู่คอนเดนเซอร์เริ่มกลั่นแยกตัวของไอ ได้เอทานอลความเข้มข้นสูง สารละลายเอทานอลเอทานอลเดือดและมีความดันสูงไหลตามท่อแนวดิ่งเข้าสู่หม้อต้มซ้ำ 2 และ 5 ชั่วโมง
9
3.ผลการทดลอง รูป 3.1 ปริมาณเอทานอลที่กลั่นได้จากการทดลองกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงาน ไฟฟ้าอย่างเดียว (ให้กำลังไฟฟ้า 4000 W) ใช้ระยะเวลาทดสอบ 2 ชั่วโมง ปริมาณที่กลั่นได้เฉลี่ย 6.67 – 7.52 L 15 นาที ที่มา : พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (ปีที่1)
10
3.ผลการทดลอง รูป 3.2 ความเข้มข้นของเอทานอลที่กลั่นได้จากการทดลองกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงาน ไฟฟ้าอย่างเดียว (ให้กำลังไฟฟ้า 4000 W) ใช้ระยะเวลาทดสอบ 2 ชั่วโมง ที่มา : พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (ปีที่1)
11
3.ผลการทดลอง รูป 3.3 ปริมาณของเอทานอลที่กลั่นได้ในช่วงเวลาต่างๆ จากการทดลองกลั่น เอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังไฟฟ้า (ให้กำลังไฟฟ้า W) ใช้ระยะเวลาทดสอบ 2 ชั่วโมง ปริมาณที่กลั่นสูงสุด L ที่มา : พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (ปีที่1)
12
3.ผลการทดลอง รูป 3.4 ความเข้มข้นของเอทานอลที่กลั่นได้ในช่วงเวลาต่างๆ จากการทดลองกลั่น เอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังไฟฟ้า (ให้กำลังไฟฟ้า 4000 W) ใช้ระยะเวลาทดสอบ 2 ชั่วโมง [EtOH] เฉลี่ย %v/v ที่มา : พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (ปีที่1)
13
3.ผลการทดลอง รูป 3.5 ปริมาณของเอทานอลที่กลั่นได้ในช่วงเวลาต่างๆ จากการทดลองกลั่น เอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังไฟฟ้า (ให้กำลังไฟฟ้า W) ใช้ระยะเวลาทดสอบ 5 ชั่วโมง ปริมาณที่กลั่นได้เฉลี่ย24.70 – L ที่มา : พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (ปีที่1)
14
3.ผลการทดลอง รูป 3.5 ความเข้มข้นของเอทานอลที่กลั่นได้ในช่วงเวลาต่างๆ จากการทดลองกลั่น เอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังไฟฟ้า (ให้กำลังไฟฟ้า W) ใช้ระยะเวลาทดสอบ 5 ชั่วโมง [EtOH] เฉลี่ย %v/v ที่มา : พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (ปีที่1)
15
4. สรุปผลการทดลอง เปรียบเทียบปริมาณ ความเข้มข้น และอัตราการกลั่นเอทานอลที่ได้จากวิธีการต่างๆ แหล่งพลังงานความร้อนที่ให้แก่ระบบ ปริมาณที่กลั่นได้ (ลิตร) ความเข้มข้นที่กลั่นได้ (%V/V) อัตราการกลั่นเฉลี่ย (ลิตร/ชั่วโมง) พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังงานไฟฟ้า (ระยะเวลา 5 ชั่วโมง) 27.49 48 5.50 พลังงานไฟฟ้า 4000 W (ระยะเวลา 5 ชั่วโมง) 17.72 47 3.54 พลังงานแสงอาทิตย์ ที่มีพื้นที่รับแสง 4 ตารางเมตร 4.41 44 0.90 ที่มา : พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (ปีที่1)
16
4. สรุปผลการทดลอง “พบว่าการกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังงานไฟฟ้าให้ปริมาณการกลั่นเฉลี่ย 5.50 ลิตรต่อชั่วโมง หรือ 16,060 ลิตรต่อปี มากกว่าการกลั่นโดยใช้พลังงานไฟฟ้ารวมกับการกลั่นโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ % ที่สามารถกลั่นรวมกัน 12,964 ลิตรต่อปี” ที่มา : พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (ปีที่1)
17
เอกสารอ้างอิง 1. Euan Mearns ,2015, Global Energy Trends – BP Statistical Review 2015, [Online], Available , [30 กรกฏาคม 2559] 2. กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน, 2558, แผนพัฒนาพลังงาน ทดแทน 15 ปี. กระทรวงพลังงาน. [Online], Available: ownload/REDP_15_yrs.pdf , [22 กันยายน 2558]. 3. สิริวุทธิ์ เสียมภักดี, “นวัตกรรมพลังงานทดแทนไทย เอทานอลจากอ้อยและมันสำปะหลัง”, [สืบค้น ออนไลน์], สืบค้นจาก : [20 พฤศจิกายน 2559] 4. พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ (ปีที่1), รายงาน การวิจัยฉบับสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ, 1-54. 5. He, Q., Zeng, S., & Wang, S. (2015). Experimental investigation on the efficiency of flat-plate solar collectors with nanofluids. Applied Thermal Engineering, 88, 6. มานะ คงดีจันทร์, 2534, การกลั่นเอทานอลจากวัตถุดิบทางการเกษตร โดยพลังงานแสงอาทิตย์, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีพลังงาน คณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี,
18
Thank You Source :
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.