ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSathapakorn meechoei ได้เปลี่ยน 7 ปีที่แล้ว
1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
2
เนื้อหาหลัก คอมพิวเตอร์คืออะไร คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ประเภทของเครื่อง คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์
3
1. คอมพิวเตอร์ คืออะไร คอมพิวเตอร์ คืออุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์ใช้เป็น เครื่องมือช่วยในการ จัดการกับข้อมูล ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์อื่นที่ใช้แทนความหมาย ในสิ่งต่าง ๆ
4
วงจรการทำงานพื้นฐานของ คอมพิวเตอร์ ได้แก่ 1. รับคำสั่ง และข้อมูล (Input) จากหน่วย รับข้อมูล เช่น แป้นพิมพ์ 2. ประมวลผล (Processing) 3. แสดงผล (Output) ออกทางหน่วย แสดงผล เช่น เครื่องพิมพ์ 4. เก็บข้อมูล (Store) ไว้ในหน่วยความจำ เพื่อใช้ใน อนาคต
5
1. ความเร็ว (Speed) สามารถทำงานได้เป็นพันล้าน คำสั่งใน 1 วินาที 2. ความเชื่อถือได้ (Reliable) ทำงานได้ทั้งกลางวัน กลางคืนอย่างไม่มีข้อผิดพลาด 3. ความถูกต้องแม่นยำ (Accurate) วงจร คอมพิวเตอร์ให้ผลการคำนวณ ที่ถูกต้องเสมอ หากผิดพลาดมักจะเกิดจากข้อมูล หรือโปรแกรม 4. เก็บข้อมูล หรือสารสนเทศมาก ๆ ได้ (Store Massive Amount of Data or Information) 5. ย้ายข้อมูลหรือ สารสนเทศจากที่หนึ่งไปอีกที่ หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (Move Data or Information) ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก 2. คุณสมบัติของ คอมพิวเตอร์
6
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เวิร์คสเตชัน (Workstation บางครั้งเรียก Supermicro) ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) 3. ประเภทของเครื่อง คอมพิวเตอร์
7
3.1 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) ขนาดใหญ่ที่สุด ทำงานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง ความเร็ววัดเป็น Nano Second ( เศษหนึ่ง ส่วนพันล้านวินาที ) และ Giga Flop ( คำนวณ หนึ่งพันล้านครั้งในหนึ่งวินาที ) ราคาแพงที่สุด ใช้หลักการ Multiprocessing ใช้หน่วย ประมวลผลหลายตัว ทำงานหลายงานพร้อม ๆ กัน
8
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer)
9
9 3.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) มีประสิทธิภาพรองจาก Supercomputer ทำงานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง ความเร็ววัดเป็น Mega Flop ( คำนวณหนึ่งล้านครั้งในหนึ่งวินาที ) ราคาแพงรองจาก Supercomputer ใช้หลักการ Multiprocessing ใช้หน่วย ประมวลผลหลายตัว ทำงาน หลายงานพร้อม ๆ กัน ทำนองเดียวกับ Supercomputer แต่จำนวนจะ น้อยกว่า
10
10 ระบบคอมพิวเตอร์ย่อยของ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ Host processor : ควบคุมหน่วยประมวลผล กับอุปกรณ์รอบข้าง Front-end processor : ควบคุมการติดต่อ ระหว่างหน้าจอของ ผู้ใช้ (remote terminal) กับระบบ คอมพิวเตอร์หลัก Back-end processor : จัดการเกี่ยวกับการ เรียกใช้ข้อมูล
11
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
13
3.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) มีประสิทธิภาพ และราคา รองจาก Mainframe Computer ใช้หลักการ Multiprocessing เช่นเดียวกับเครื่อง Mainframe แต่ทำงานช้ากว่า
14
14 3.4 เวิร์คสเตชัน (Workstation บาง กลุ่มเรียก Supermicro) ถูกออกแบบมาใช้เป็นเครื่องตั้งโต๊ะ มีความสามารถในการคำนวณด้านวิศวกรรม สถาปัตยกรรม หรือ งานที่เน้นการแสดงผลด้านกราฟิก มีหน่วยประมวลผลที่มีประสิทธิภาพสูง มีหน่วยเก็บข้อมูลสำรองจำนวนมาก
15
เวิร์คสเตชัน (Workstation บางกลุ่มเรียก Supermicro)
16
3.5 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) พัฒนาขึ้นในปี 1975 และมีคนนิยมมาก ที่ได้รับความนิยม มี 2 ยี่ห้อ คือ Apple MacIntosh และ IBM PC ปัจจุบันมีความเร็วและประสิทธิภาพ เหนือกว่า Workstation นอกจากนี้ยังมีคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบ สำหรับการพกพาได้ สะดวก คือ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค (Notebook computer) น้ำหนัก เบา เหมาะแก่การพกพา
17
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) Notebook computer Apple MacIntos h
18
4. องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากร (Peopleware) ข้อมูล และ สารสนเทศ (Data / Information) กระบวนการทำงาน (Procedure)
19
4.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของ เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น เครื่องพิมพ์ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit หรือ CPU) 3. หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit) 4. หน่วยความจำหลัก (Main Memory Unit) 5. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Unit)
20
Main memory unit Secondary storage unit ส่วนประกอบของ ฮาร์ดแวร์ CPU Input Unit Output Unit
21
4.2 ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่ง หรือ โปรแกรมซึ่งสั่งให้ ฮาร์ดแวร์ทำงานต่าง ๆ ตามต้องการ โดยเขียน ขึ้นจากภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง ซอฟต์แวร์แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ใหญ่ ๆ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ทำ หน้าที่จัดการและควบคุมทรัพยากรต่าง ๆ ของ คอมพิวเตอร์และอำนวยเครื่องมือสำหรับทำงาน พื้นฐาน 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) เน้นการช่วยทำงานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ ตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน
22
4.3 บุคลากร (People ware) หมายถึง ผู้ใช้หรือเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งออกเป็นหลายระดับ ซึ่งสามารถสรุปเป็น ลักษณะงานได้ดังนี้ 1. การดำเนินการกับเครื่องและอุปกรณ์ เช่น เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) 2. การพัฒนาและบำรุงรักษาโปรแกรม ได้แก่ นักพัฒนาโปรแกรม (Programmer) 3. วิเคราะห์และออกแบบระบบ ได้แก่ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst and Designer)
23
4. การพัฒนาและบำรุงรักษาระบบทาง ฮาร์ดแวร์ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Operator) ผู้ดูแลระบบเครือข่าย (Network Administrator) 5. พัฒนาโปรแกรมและดูแลเว็บไซต์ ได้แก่ เจ้าหน้าที่พัฒนาเว็บ (Internet Programmer/Web Programmer) ผู้ดูแลระบบเว็บ (Web Administrator) 6. การบริหารงานในหน่วยประมวลผลข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูล (EDP Manager) ประธานฝ่ายสารสนเทศ (Chief Information Officer หรือ CIO) 7. เจ้าหน้าที่อื่น ๆ เช่น เจ้าหน้าที่ลงรหัส เจ้าหน้าที่รับส่ง งาน เป็นต้น
24
4.4 ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information) ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อมูลดิบที่ได้มาจาก แหล่งต่างๆ สารสนเทศ (Information) หมายถึง สิ่งที่ได้ จากการนำข้อมูลไปผ่านการประมวลผลแบบใด แบบหนึ่ง Data Processing Information
25
4.5 กระบวนการทำงาน (Procedure) หมายถึงขั้นตอนการทำงานให้ได้ผล ลัพธ์ตามที่ต้องการ ผู้ใช้ทุกคนต้องรู้ กระบวนการทำงานพื้นฐานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ เช่นการใช้เครื่อง ATM มีกระบวนการดังนี้ 1. จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่ จะทำงาน 2. สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้ 3. เลือกรายการ ใส่จำนวนเงินที่ ต้องการ 5. รับเงิน บัตร และ ใบบันทึกรายการ 6. รับใบบันทึกรายการ และบัตรคืน
26
จบ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.