ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยพรรณี ชินวัตร ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
ขอบเขตการศึกษาวิชารัฐประศาสน ศาสตร์
2
โครงสร้างและอำนาจ หน้าที่ ขอบเขตการศึกษาวิชารัฐ ประศาสนศาสตร์ บุคลากร กระบวนการ
3
โครงสร้างและอำนาจหน้าที่ แนวคิดการบริหาร จัดการที่นำวิชา ความรู้มาใช้ใน หน่วยงาน (scientific management) Frederick Taylor แนวคิดโครงสร้างการ จัดองค์การที่เรียกว่า ระบบราชการ (Bureaucray) Max Weber
4
หลักการที่ 1 สร้างหลักการทำงานแบบวิทยาศาสตร์ : one best way, กำหนดมาตรฐานงาน, การจ่าย ค่าตอบแทนเป็นรายชิ้น หลักการที่ 2 คัดเลือกตัวบุคคล - เหมาะสมกับงาน หลักการที่ 3 การฝึกอบรมและพัฒนา - สอนงานตาม ขั้นตอน หลักการที่ 4 สร้างบรรยากาศความร่วมมือในการ ทำงาน, รางวัลพิเศษ, ตั้งหัวหน้างาน โครงสร้างและอำนาจหน้าที่ แนวคิดการบริหารจัดการที่ นำวิชาความรู้มาใช้ใน หน่วยงาน (scientific management) Frederick Taylor
5
1. หลักลำดับขั้น 2. หลักอำนาจหน้าที่ตามสายการบังคับบัญชาและความ สำนึกแห่งความรับผิดชอบ 3. ระเบียบข้อบังคับและความเป็นทางการ 4. แบ่งงานกันทำตามความชำนาญเฉพาะด้าน 5. ความเป็นวิชาชีพ โครงสร้างและอำนาจหน้าที่ แนวคิดโครงสร้างการจัด องค์การที่เรียกว่า ระบบ ราชการ (Bureaucray) Max Weber
6
แนวคิดเกี่ยวกับบุคคล Human relations and Behavior Elton Mayo Support Values and Culture Chester Barnard Ideas and Issues in Public Administration Dwight Waldo Hierarchy of Needs Theory Abraham Maslow Theory X - Y Douglas Mcgregor
7
- คนมีความต้องการอื่น ๆ โดยเฉพาะด้านจิตใจ - คนต้องการสภาพแวดล้อมในองค์การ เพื่อนร่วมงาน - สิ่งที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน ประกอบด้วย หลายปัจจัย เช่น - ทัศนคติของคนงานต่องาน / องค์กร - ทัศนคติของคนงานต่องาน / องค์กร - ความสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการของกลุ่ม - ความสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการของกลุ่ม - ความต้องการด้านสังคมของคนงาน ( ขวัญและ กำลังใจ ) - ความต้องการด้านสังคมของคนงาน ( ขวัญและ กำลังใจ ) Elton Mayo แนวคิดเกี่ยวกับบุคคล Human relations and Behavior ( การบริหารจัดการที่เน้นมนุษยสัมพันธ์ และพฤติกรรม )
8
The Functions of the Executives(1938) - องค์การเกิดจากความจำเป็นที่คนมารวมกลุ่มกัน - จะต้องมีการจัดระบบความร่วมมือการทำงานในองค์การ - การดำรงอยู่ขององค์การ ขึ้นกับความสำเร็จ - ความอยู่รอดขององค์กร ขึ้นกับความสามารถของฝ่าย บริหาร (Executives) ในฐานะผู้นําองค์การที่จะสร้างระบบ ความร่วมมือที่ดี - ฝ่ายบริหารจะต้องต้องตัดสินใจด้วยความรับผิดชอบ ภายในกรอบศีลธรรม เสนอหลักการบริหารระบบราชการโดยเน้นอำนาจในการ บังคับบัญชาเกี่ยวข้องกับ การแลกเปลี่ยนและความร่วมมือ ไม่ใช่โครงสร้างของสาย การบังคับบัญชาอย่างเดียว แนวคิดเกี่ยวกับบุคคล Support Values and Culture ( แนวคิดสนับสนุนค่านิยมและ วัฒนธรรม ) Chester Barnard
9
Dwight Waldo - มุ่งศึกษาพฤติกรรมต่างๆ ของในการกำหนดนโยบาย สาธารณะ - การศึกษาค่านิยม การสร้างแนวทางประชาธิปไตย และความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับการบริหาร แนวคิดเกี่ยวกับบุคคล Ideas and Issues in Public Administration
10
แนวคิดเกี่ยวกับบุคคล Hierarchy of Needs Theory Abraham Maslow ความต้องการการจัดการ Physiological ร่างกาย : อาหาร, น้ำ, ที่อยู่อาศัย - การจัดสวัสดิการต่างๆ - การให้ค่าตอบแทนอย่าง เพียงพอ Safety ความปลอดภัย : ความมั่นคง - ความมั่นคงในการทำงาน - ความปลอดภัยในการทำงาน Love and Belonging สังคม : ความรัก, ความรู้สึกดี, การ ยอมรับ - ทีมงาน - การทำงานร่วมกัน Esteem การยกย่อง : การยกย่อง, ความ ภูมิใจ, สถานภาพ - การยกย่องจากหน่วยงาน - ตำแหน่ง / สถานะ Self-actualization ความสำเร็จในชีวิต : การ เจริญเติบโต, ความก้าวหน้า - การเลื่อนตำแหน่ง - ความท้าทาย
11
แนวคิดเกี่ยวกับบุคคล Douglas Mc- gregor ทฤษฎี X และ Y ของ Douglas Mc-gregor ทฤษฎี Z ของ William Ouchi Theory XTheory YTheory Z การจ้างงานระยะสั้นตลอดชีวิตจ้างงานระยะยาว โครงสร้างองค์กร, การมอบหมายงาน ตามสายบังคับบัญชากำหนดกว้างๆ เน้นการ ทำงานเป็นทีม ควบคุมติดตาม, สร้าง ความเชื่อใจ กลไกควบคุมตามสายบังคับบัญชา, สื่อสารแบบรายงาน รับผิดชอบตนเอง, สื่อสารแบบซักถาม รับผิดชอบตนเอง, เน้นการ รับฟังข้อมูลเพื่อช่วยแก้ไข การตัดสินใจบนลงล่าง ( สั่งการ ) ล่างขึ้นบน ( ขอ ความเห็น ) ทุกคนเสนอความคิดเห็น, หัวหน้าพิจารณาลงมติ ความรับผิดชอบ, การแบ่งงาน เน้นความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้าน เน้นทีมงาน, รับผิดชอบ ร่วมกัน เน้นเฉพาะด้านระดับกลาง, สับเปลี่ยนงานได้, รับผิชอบ เป็นรายบุคคล การประเมิน, เลื่อน ขั้น ระบบคุณธรรม, เลื่อน เร็ว ใช้ระบบอาวุโสเลื่อนเร็วโดยถือผลงาน และอาวุโส ความสัมพันธ์ใน องค์กร เป็นทางการครอบครัวเกี่ยวพันทางสังคม, สถาบัน Theory X - Y
12
P = Planning การวางโครงการ กิจกรรม เพื่อให้ทราบ รายละเอียด เช่น ให้ทราบว่าจะทำอะไร เมื่อใด อย่างไร แบ่งงานอย่างไร ใช้ทรัพยากรอะไร ต้องการผลสำเร็จอะไร เป็นต้น O = Organizing การจัดแบ่งงาน ส่วนงาน กำหนดตำแหน่ง บทบาท สายบังคับบัญชา S = Staffing การจัดการบุคคลในองค์กร D = Directing การออกคำสั่ง มอบหมายงาน สร้างแรงจูงใจ Co = Coordinati ng การประสานกิจกรรม มุ่งสู่วัตถุประสงค์รวม R = Reporting การรายงานผลเพื่อให้ทราบการเคลื่อนไหวและ ปัญหา อุปสรรค B = Budgeting การจัดงบประมาณ รายจ่าย ตรวจสอบ แนวคิดกระบวนการ Gulick & Urwick POSDCoRB
13
P = Planning การกำหนดทางเลือก การคาดการ เหตุการณ์ในอนาคต O = Organizin g การจัดโครงสร้างงานและอำนาจหน้าที่ สายการบังคับบัญชา C = Commandi ng การออกคำสั่ง มอบหมายงาน C = Coordinati ng การกำกับการทำงานให้สอดคล้องกัน ร่วมมือกัน C = Controllin g การตรวจสอบและติดตามผล แนวคิดกระบวนการ Fayol POCCC
14
INPUTแนวคิดกระบวนการ David Easton ทฤษฎีระบบ PROCES S OUTPUT FEEDBA CK InputsProcessOutputs ทรัพยากรบริหาร คน, งบประมาณ, วัสดุ, การจัดการ กระบวนการบริหาร การวางแผน การจัดองค์กร อำนวยการ ควบคุม ประเมินผล งบประมาณ ผลผลิต สินค้าและบริการ, ความพึงพอใจ, คุณภาพ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.