งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1 Thailand Research Fund (TRF) ยุทธศาสตร์วิจัยโลจิสติกส์แห่งชาติ มุมมองท้องถิ่นกับการใช้สิทธิประโยชน์ ว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดน โดย รศ.ดร.สมยศ เชิญอักษร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1 Thailand Research Fund (TRF) ยุทธศาสตร์วิจัยโลจิสติกส์แห่งชาติ มุมมองท้องถิ่นกับการใช้สิทธิประโยชน์ ว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดน โดย รศ.ดร.สมยศ เชิญอักษร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1 Thailand Research Fund (TRF) ยุทธศาสตร์วิจัยโลจิสติกส์แห่งชาติ มุมมองท้องถิ่นกับการใช้สิทธิประโยชน์ ว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดน โดย รศ.ดร.สมยศ เชิญอักษร (Assoc.Prof.Dr. Somyot Chirnaksorn) ผู้ประสานงานโลจิสติกส์เกษตร สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) การสัมมนา “การสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดน ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง Cross Border Transport Agreement : CBTA” ภายใต้โครงการจัดทำแผนปฏิบัติงานแบบบูรณาการของจังหวัดเชียงราย เพื่อบริหารจัดการการคมนาคมขนส่ง ภายใต้เส้นทาง R๓A ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ณ โรงแรมเชียงรายแกรนด์รูม จังหวัดเชียงราย วันพฤหัสบดีที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เวลา 10.30-11.30

2 2 Thailand Research Fund (TRF) Logistics in General System คลังสินค้า ผู้ขาย/แหล่งผลิต/แหล่งรวบรวม ขนส่ง โรงงานแปรรูป ข้อมูล สินค้าและบริการ การเงิน ขนส่ง คลังสินค้า ลูกค้า

3 3 Thailand Research Fund (TRF) การบริหารจัดการโลจิสติกส์ องค์ ความรู้ 4 หมวด 1. Transportation 2. Operation & Management 3. Marketing & Customer 4. Support  การบริหารระบบขนส่ง  การบริหารระบบคลังสินค้าและ DC  ระบบขนถ่ายวัสดุ  พื้นฐาน และสถิติ  การวางแผนและควบคุมการผลิต  การวิจัยการปฏิบัติงาน  ระบบบรรจุภัณฑ์  ระบบจัดซื้อและพัสดุคงคลัง  การจัดการตลาด  การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า  กฎหมายการค้า  พิธีการทางศุลกากร  กฎหมายขนส่ง  ระบบ ICT เช่น ERP, Barcode, RFID, GPRS, E-commerce

4 4 Thailand Research Fund (TRF) ความสำคัญของโลจิสติกส์ ต้นทุนโลจิสติกส์สูงมาก ‒ เฉลี่ย 14.5% ของ GDP ประเทศไทย (ที่มา สศช. 2554) ‒ เฉลี่ย 11.4% ของ GDP ทั่วโลก ‒ อยู่ในช่วง 4 ถึง 30% ของยอดขายของแต่ละบริษัท เฉลี่ยประมาณ 10% ‒ อาจสูงถึง 70-80% ของยอดขายถ้ารวมการจัดซื้อและการผลิตด้วย ‒ (Logistics Performance Index  )Logistics Performance Index  ลูกค้ามีข้อเรียกร้องมากขึ้นตลอดห่วงโซ่อุปทาน ‒ อยากได้การตอบสนองอย่างรวดเร็ว ‒ อยากได้สินค้าหลากหลายรูปแบบ (mass customization) เป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งในกลยุทธ์ของบริษัทในการเพิ่มมูลค่า ‒ สร้างรายได้เพิ่ม ‒ ปรับกำไรเพิ่ม ‒ อรรถประโยชน์จากการบริหารเวลาและสถานที่ เส้นทางโลจิสติกส์ยาวมากขึ้น ‒ อุปทานจากท้องถิ่น vs. จากทางไกล

5 5 Thailand Research Fund (TRF) Logistics Performance Index (LPI) 2012 CountryYearLPI RankLPI ScoreCustomsInfrastructure International shipments Logistics competence Tracking & tracing Timeliness Singapore 201214.134.14.153.994.07 4.39 Hong Kong, China 201224.123.974.124.184.084.094.28 Finland 201234.053.984.123.854.14 4.1 Germany 201244.033.874.263.674.094.054.32 Netherlands 201254.023.854.153.864.054.124.15 Denmark 201264.023.934.073.74.144.14.21 Belgium 201273.983.854.123.733.984.054.2 Japan 201283.933.724.113.613.974.034.21 United States 201293.933.674.143.563.964.114.21 United Kingdom 2012103.93.733.953.633.9344.19 United Arab Emirates 2012173.783.613.843.593.743.814.1 China 2012263.523.253.613.463.473.523.8 Malaysia 2012293.493.283.433.43.453.543.86 Thailand 2012383.182.963.083.212.983.183.63 Philippines 2012523.022.622.82.973.143.3 Vietnam 20125332.652.683.142.683.163.64 Source: World Bank (http://lpisurvey.worldbank.org/)

6 6 Thailand Research Fund (TRF) กระทรวง เกษตร และ สหกรณ์ สำนักงาน เศรษฐกิจ การเกษตร สำนักนโยบายและ แผนพัฒนา การเกษตร กรมส่งเสริม การเกษตร กองส่งเสริม วิศวกรรมเกษตร หน่วยงานด้านยุทธศาสตร์โลจิสติกส์เกษตร ของประเทศไทย

7 7 Thailand Research Fund (TRF) ยุทธศาสตร์ด้านโลจิสติกส์การเกษตรของประเทศไทย การจัดการโลจิสติกส์การเกษตรและ อุตสาหกรรมเกษตร อย่างมีประสิทธิภาพและ สามารถตรวจสอบได้ตลอดห่วงโซ่อุปทาน ส่งเสริมให้เกษตรกรและผู้ประกอบการ ทั้งในภาคเกษตร และอุตสาหกรรมเกษตร รับรู้ด้วยการประยุกต์ใช้เทคนิค การจัดการโลจิสติกส์ที่ทันสมัย สนับสนุนการพัฒนาระบบการจัดการโลจิสติกที่มีการ เชื่อมโยงถึงกันและกันตลอดห่วงโซ่อุปทานเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพสูงสุด (Supply Chain Optmization) และ สามารถตรวจสอบการเคลื่อนย้ายของสินค้าได้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

8 8 Thailand Research Fund (TRF)  สินค้าที่มีโอกาส ได้แก่ ปาล์มน้ำมัน สินค้าเกษตรอินทรีย์ และโคเนื้อ  สินค้าเน่าเสียง่าย ได้แก่ ผัก ผลไม้ ดอกไม้สด โคนม (น้ำนมดิบ) เนื้อไก่ กุ้ง อ้อย ลำไย, ทุเรียน, ลิ้นจี่, มังคุด, มะม่วง, ส้มโอ ผักชีไทย, ผักชีฝรั่ง, ใบกะเพรา, ใบโหระพา, ผักแขยง, ใบสาระแหน่, ผัก แพรว, ต้นหอม, ผักคื่นฉ่าย, ใบกุยฉ่าย, ดอกกุยฉ่าย, ชะอม, ผักบุ้ง, ผักแว่น, ผักกระเฉด, ใบบัวบก, ใบชะพลู, ผักโขมแดง, คะน้า, ผักปลัง ถั่วฝักยาว, ตะไคร้, หน่อไม้ฝรั่ง, พริกขี้หนู, กระเจี๊ยบเขียว, ข้าวโพดฝักอ่อน ข้าวโพด, ถั่ว พืช GMO  สินค้าสร้างรายได้ ได้แก่ ข้าว ยางพารา มันสำปะหลัง อ้อย สับปะรด กุ้งและผลิตภัณฑ์ ไก่เนื้อและผลิตภัณฑ์ ปลาและผลิตภัณฑ์ ยุทธศาสตร์ด้านโลจิสติกส์การเกษตรของประเทศไทย สินค้าเกษตรกลุ่มเป้าหมาย

9 9 Thailand Research Fund (TRF) กระทรวง อุตสาหกรรม กรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและเหมืองแร่ สำนักโลจิสติกส์ หน่วยงานด้านยุทธศาสตร์โลจิสติกส์เกษตร ของประเทศไทย

10 10 Thailand Research Fund (TRF) กระทรวงอุตสาหกรรม Roadmap อุตสาหกรรมอาหาร ลดต้นทุนถือครอง สินค้าคงคลังต่อยอดขาย 15% ในปี 2559 1.Internal Improvement 2.นำร่องใช้ระบบ IT 3.พัฒนาระบบ Cool Chain 4.มีระบบ Traceability 5.Cool Chain & Traceability 6.เชื่อมโยงตลอดซัพพลายเชน ยุทธศาสตร์ด้านโลจิสติกส์การเกษตรของประเทศไทย 2% (2554-2555) 6% (2556-2557) 7% (2558-2559)

11 11 Thailand Research Fund (TRF) กระทรวง พาณิชย์ กรมส่งเสริมการ ส่งออก สำนักโลจิสติกส์ การค้า กรมส่งเสริม การค้าระหว่าง ประเทศ สำนักธุรกิจบริการ และโลจิสติกส์ หน่วยงานด้านยุทธศาสตร์โลจิสติกส์เกษตร ของประเทศไทย

12 12 Thailand Research Fund (TRF) กระทรวงพาณิชย์ ยุทธศาสตร์การค้าไทย 2553-2558 ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาการค้าให้เกิดการแข่งขันอย่าง เป็นธรรม และสร้างประสิทธิภาพกลไกการตลาด เพื่อ เสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร ยุทธศาสตร์ด้านโลจิสติกส์การเกษตรของประเทศไทย อาหาร (คน/สัตว์) ปศุสัตว์ ประมง เกษตรอินทรีย์ พืชพลังงาน (อ้อย มัน ปาล์ม) ยางพารา

13 13 Thailand Research Fund (TRF) Traders Exporters Producers  ดูแลราคาสินค้าและบริการ ให้เกิดความเป็นธรรม  สร้างทางเลือก/ปกป้อง ผลประโยชน์ผู้บริโภค  รักษาเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร  ส่งเสริมตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า  จัดระเบียบและบริหารการนำเข้าส่งออก  ส่งเสริมพัฒนาระบบธุรกิจและอำนวยความ สะดวกทางการค้า  กำกับดูแล และสร้างความเป็นธรรมทางการค้า กระทรวงพาณิชย์ ยุทธศาสตร์ด้านโลจิสติกส์การเกษตรของประเทศไทย

14 14 Thailand Research Fund (TRF)  คณะกรรมการพัฒนา ระบบการบริหารจัดการ ขนส่งสินค้าและบริการ ของประเทศ (กบส.) (สำนักนายกรัฐมนตรี) - 2550 สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ (สศช.) หน่วยงานด้านยุทธศาสตร์โลจิสติกส์เกษตร ของประเทศไทย

15 15 Thailand Research Fund (TRF) ยุทธศาสตร์ด้านโลจิสติกส์การเกษตรของประเทศไทย คณะกรรมการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ขนส่งสินค้าและบริการของประเทศ (กบส.) (สำนักนายกรัฐมนตรี) คณะอนุกรรมการระบบโลจิสติกส์การเกษตร (2553) ( กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ) คณะทำงานจัดทำแผนปฏิบัติงาน ด้านโลจิสติกส์การเกษตร (2554) (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร)

16 16 Thailand Research Fund (TRF) ความล่าช้าของการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ การเกษตรของประเทศไทย  ผลเสียที่เห็นได้อย่างชัดเจนได้แก่ เกษตรกรส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจการจัดการโลจิสติกส์ระดับ ฟาร์มอย่างมีประสิทธิภาพ และ ขาดผลตอบแทนจากมูลค่าเพิ่ม อันเนื่องมาจากไม่สามารถ เชื่อมต่อกับห่วงโซ่อุปทานได้ตลอดทั้งสาย

17 17 Thailand Research Fund (TRF) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทย (2550 - 2554) ครม. ให้ความเห็นชอบเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2550 18.9% (2550) มีระบบโลจิสติกส์ที่ได้มาตรฐานสากล เพื่อสนับสนุนการเป็นศูนย์กลางธุรกิจและการค้าของภูมิภาคอินโดจีน วิสัยทัศน์ วัตถุ ประสงค์ ระดับเป้าหมาย - มุ่งยกระดับการบริหารจัดการโลจิสติกส์ไปสู่ระดับ World Class Logistics Management ระดับยุทธศาสตร์ - มีจุดเน้นไปที่การยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเป้าหมายหลักของประเทศ ระดับปฏิบัติ - การปรับเปลี่ยนในระดับปฏิบัติ (Change Management) จะต้องยึดความต้องการของผู้ใช้บริการเป็นที่ตั้ง หลักการ ขับเคลื่อน ยุทธศาส ตร์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ 5321 การปรับปรุง ประสิทธิ ภาพระบบ โลจิสติกส์ใน ภาค การผลิต การเพิ่ม ประสิทธิ ภาพระบบ ขนส่งและ โลจิสติกส์ การพัฒนา ธุรกิจ โลจิสติกส์ การปรับปรุง สิ่งอำนวย ความสะดวก ทางการค้า การพัฒนา กำลังคนและ กลไกการ ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ 1.ลดต้นทุนโลจิสติกส์ (Cost Efficiency) เพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจในการตอบสนองความต้องการ ของลูกค้า (Responsiveness)และเพิ่มความปลอดภัยและความเชื่อถือได้ในกระบวนการนำส่งสินค้า และบริการ (Reliability and Security) 2.สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจจากอุตสาหกรรมโลจิสติกส์และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง 8.7 8.5 4 16% (2554)

18 18 Thailand Research Fund (TRF) การเปลี่ยนแปลงบริบทภายในประเทศ 1.การหยุดชะงักของ Supply Chain ความขัดแย้ง และความไม่สงบทางการเมือง การเกิดอุทกภัยร้ายแรง เมื่อ 2554 2.ไทยพัฒนาการค้ากับเพื่อนบ้านมากขึ้น ปริมาณการค้าชายแดนเพิ่มขึ้น 93% (2554) สร้างสะพาน ถนน ทางรถไฟ เชื่อมโยงมากขึ้น Trade Facility บริเวณด่านพรมแดนเพิ่มขึ้น 3.ภาคธุรกิจไทยมีการตื่นตัวสูงต่อ AEC 4.ขาดแคลนแรงงานด้านโลจิสติกส์อย่างรุนแรง 5.การเติบโตของเมืองเป็นข้อจำกัดต่อระบบ Logistics ที่มา: สศช. (22 ก.พ. 2556)

19 19 Thailand Research Fund (TRF) การเปลี่ยนแปลงบริบทภายนอกประเทศ 1.ศูนย์กลางการค้าโลกย้ายจากเดิม (Europe America & Japan) ไปสู่ตลาดใหม่ (GMS China & Asia) การขยายตัวของระบบเศรษฐกิจของตลาดใหม่ การรุกตลาดของมหาอำนาจสู่ GMS 2.แนวโน้มเศรษฐกิจประเทศเพื่อนบ้านเติบโตสูง ลาว (5.7-8.4%) กัมพูชา (6.0-7.7%) มาเลเซีย (4.4-7.2%) พม่า (5.1-6.5%) สินค้าไทยได้รับความนิยมสูง 3.โครงการทวาย 4.การลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจของกลุ่ม GMS ที่มา: สศช. (22 ก.พ. 2556)

20 20 Thailand Research Fund (TRF) (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ของประเทศไทย ฉบับที่ 2 (2556-2560)

21 21 Thailand Research Fund (TRF) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (ร่าง)ยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์และระบบ ห่วงโซ่อุปทานภาคการเกษตร พ.ศ. 2556-2559 เน้นการพัฒนาโลจิสติกส์ของ บุคลากรภาคการเกษตร สินค้าเกษตร และ สิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้าภาคเกษตร ยุทธศาสตร์ด้านโลจิสติกส์การเกษตรของประเทศไทย

22 22 Thailand Research Fund (TRF) วช. ร่วมกับ สกว. ยุทธศาสตร์วิจัยด้านโลจิสติกส์และโซ่ อุปทานแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (2554-2555) สร้างคุณค่าและจัดการคุณค่าในโซ่อุปทาน สินค้าเกษตรและอาหาร ยกระดับผลผลิตด้านโลจิสติกส์และโซ่ อุปทานของสินค้าเกษตร การประกันคุณภาพและการตรวจสอบ ย้อนกลับสินค้าเกษตรและอาหารในระดับ ฟาร์ม ยกระดับความเป็นอยู่ของสมาชิกในโซ่ อุปทานสินค้าเกษตรและอาหาร ยุทธศาสตร์ด้านโลจิสติกส์การเกษตรของประเทศไทย

23 23 Thailand Research Fund (TRF) ยุทธศาสตร์วิจัยด้านโลจิสติกส์และโซ่ อุปทานแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2555-2559) Redesign เส้นทางโลจิสติกส์และโซ่ อุปทานสินค้าทุกกลุ่ม เพื่อเพิ่มความสามารถ ต่อการแข่งขันในตลาด AEC การบูรณาการองค์ความรู้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการจัดการ โลจิสติกส์ตลอด ห่วงโซ่อุปทาน (รวมถึง การจัดการความเสี่ยงในห่วงโซ่ อุปทาน และการประยุกต์ใช้ ICT ที่ เหมาะสม) การพัฒนา Value Chain โดยมุ่งเน้น นวัตกรรมที่เหมาะสมของอุตสาหกรรมใน ตลาดเป้าหมาย (รวมถึง Safety และมุ่งสู่ Green logistics) หน่วยงานด้านยุทธศาสตร์โลจิสติกส์ของประเทศไทย

24 24 Thailand Research Fund (TRF) แผนงานด้านโลจิสติกส์ที่ผ่านการพิจารณา ปี 2556

25 25 Thailand Research Fund (TRF) สรุปแผนงานโครงการของชุดโลจิสติกส์ ปี 2556 1) กลุ่มโจทย์ AEC แยก 2 กลุ่มโจทย์ตามยุทธศาสตร์วิจัยด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2554-2555) ปี 2555 ที่มา ต้องการข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบายด้านโลจิสติกส์ในบริบท AEC Infrastructure Management Supply Chain Industry Redesign Simulation Model (GMS Model ร่วมกับทาง ERIA) Scenario Input ที่ถูก เลือกมาจาก 2 กลุ่มโจทย์ รวมโครงการ 2MM ด้วย Source: Economic Research Institute for ASEAN and East Asia (ERIA) แผนภาพอาเซียนแสดง ตามดัชนี เช่น GDP, ความเร็วในการเดินทาง ข้อมูลสนับสนุนการ ตัดสินใจเชิงนโยบาย จัด Workshop 5 มิถุนายน 2556 จัด Focus group 20 มิถุนายน 2556 Scenario ที่มาจาก 7 โครงการย่อย Scenario ที่มาจาก 4 โครงการย่อย ผลการดำเนินงาน ณ ตอนนี้

26 26 Thailand Research Fund (TRF) การสังเคราะห์ผลกระทบต่อประเทศไทยจากการจัดการโครงสร้างพื้นฐานด้านโลจิสติกส์และการปรับรูปแบบโซ่อุปทานภายใต้ บริบทประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : รศ.ดร.รุธิร์ พนมยงค์ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์), 6,007,660 บาท แผนงานการสังเคราะห์เชิงนโยบายงานวิจัยด้านการบริหารจัดการ โครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งและโลจิสติกส์ภายใต้บริบทประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน : ดร. ณรงค์ ป้อมหลักทอง (TDRI), 3,577,767 บาท แผนงานการบูรณาการการปรับรูปแบบโซ่อุปทานของอุตสาหกรรม เป้าหมาย เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน : รศ.ดร.อภิชาต โสภาแดง (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่), 1,300,980 บาท 1. การวิเคราะห์ศักยภาพของโครงสร้างพื้นฐานและการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ (กรณี การขนส่งทางถนน ราง และการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ): ดร. ณรงค์ ป้อมหลักทอง (TDRI), 3,252,526 บาท 2. การศึกษาสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้าที่ท่าเรือระหว่างประเทศของไทย: ผศ.ดร.จิตติชัย รุจนกนกนาฏ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย), 1,794,780 บาท 7.การศึกษาและประเมินศักยภาพด้านโลจิสติกส์และการลงทุนเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์เชิงรุกสำหรับเครือข่ายภาคเอกชน ไทยในการเข้าสู่ AEC และจีน : ผศ.ดร.วันชัย รัตนวงษ์ (มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย), 4,192,810 บาท 4.การศึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพด้านโครงสร้างพื้นฐานโลจิสติกส์และสมรรถนะ ด้านโลจิสติกส์ : ดร. ชัยสิทธิ์ อนุชิตวรวงศ์ (TDRI), 3,673,830 บาท 5. การศึกษาต้นทุนการขนส่งที่แท้จริงและการบิดเบือนราคา (กรณีเส้นทาง NSEC): ดร.ศิริชัย ตันรัตนวงศ์ (มหาวิทยาลัยนเรศวร), 4,139,444 บาท 6.การศึกษาผลกระทบด้านการค้าและโลจิสติกส์ จากการดำเนินการท่าเรือทวาย : ดร.บุญทรัพย์ พานิชการ (มหาวิทยาลัยนเรศวร), 5,365,300 บาท 3. การวิเคราะห์ศักยภาพของโครงสร้างพื้นฐานและการบริหารจัดการด้านการขนส่ง ทางอากาศ: ดร. สุเมธ องกิตติกุล (TDRI), 3,196,380 บาท 1. การปรับรูปแบบโซ่อุปทานสำหรับอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย : รศ.ดร.อภิชาต โสภาแดง (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่), 3,869,522 บาท 2. การพัฒนาคุณภาพการให้บริการสำหรับอุตสาหกรรมผู้ให้บริการโลจิสติกส์: ผศ.ดร.ธนัญญา วสุศรี (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) 3,968,555บาท 3. การปรับรูปแบบโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม: รศ.ดร.วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์ (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง), 3,733,550 บาท 4.การปรับรูปแบบโซ่อุปทานสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย: ผศ.เจริญ สุนทราวาณิชย์ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี), 4,362,750 บาท 26 AEC ปี 2555

27 27 Thailand Research Fund (TRF) ทำ Scenario เพิ่ม เพื่อให้ครอบคลุมสถานการณ์ที่สำคัญ และ X ray โครงการ 2 ล้านล้าน ปี 2556 โครงการการปรับรูปแบบโซ่อุปทานสำหรับอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าไทยเพื่อเตรียม ความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (รศ.ดร.เตือนใจ สมบูรณ์วิวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 3,617,000 บาท) แผนงานการบูรณาการการปรับรูปแบบโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมเป้าหมาย เพื่อเตรียม ความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ระยะที่ 2 (รศ.ดร.อภิชาต โสภาแดง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 1,033,000 บาท) โครงการการปรับรูปแบบโซ่อุปทานสำหรับอุตสาหกรรมการขนส่งทางอากาศเพื่อเตรียม ความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (รศ.ดร.อภิชาต โสภาแดง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 3,214,800 บาท) โครงการการปรับรูปแบบโซ่อุปทานสำหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและพลาสติกไทยเพื่อ เตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ผศ.ดร.ธนัญญา วสุศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 2,927,300 บาท) โครงการการปรับรูปแบบโซ่อุปทานสำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอเพื่อเตรียมความพร้อมในการ เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (รศ.ดร.วลัยลักษณ์ อัตธีรวงษ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 4,395,700 บาท) โครงการการศึกษาผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนและการเปิดเสรีทางการค้ากับจีน เพื่อจัดทำมาตรการ การดำเนินธุรกิจและมาตรฐานสินค้านำเข้า (ผศ.วรินทร์ วงษ์มณี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 2,142,900 บาท) โครงการการสังเคราะห์ผลกระทบต่อประเทศไทยจากการจัดการโครงสร้างพื้นฐานด้านโลจิสติกส์และการปรับรูปแบบโซ่อุปทานภายใต้ บริบทประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (รศ.ดร.รุธิร์ พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 5,389,900 บาท) โครงการการศึกษาปัจจัยและกลยุทธ์ที่สร้างแรงจูงใจใน การเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (ดร.ปีเตอร์ รักธรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 1,489,200 บาท) Output ได้โมเดลการจำลองสถานการณ์โลจิสติกส์ในภูมิภาค เพื่อชี้ให้เห็นผลกระทบในสถานการณ์ ต่างๆที่มีต่อประเทศไทย นำไปสู่การประกอบการตัดสินใจในการวางนโยบาย ขึ้นกับการกำหนดโครงการภายใน 2 ล้านล้านให้ชัดเจนเพื่อ นักวิจัยจะได้นำผลเข้าเป็น Scenario Input

28 28 Thailand Research Fund (TRF) โครงการการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้ระบบ ขนส่งทางรางของผู้ประกอบการขนส่งในภูมิภาค (ดร.ศิรดล ศิริธร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 750,800 บาท) แผนงานการศึกษาแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพระบบขนส่งทางราง (ผศ.ดร.วเรศรา วีระวัฒน์มหาวิทยาลัยมหิดล กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 1,050,400 บาท) โครงการการศึกษาและกำหนดแนวทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี โครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับการเชื่อมโยงเครือข่ายระบบ รางระหว่างประเทศ (รศ.ดร.ภูมินทร์ กิรานิช มหาวิทยาลัยมหิดล กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 1,642,200บาท) โครงการวิจัยแนวทางการบริหารจัดการระบบคลังสินค้าสนามบินสุวรรณภูมิ เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) (ดร.ฉกาจ วิสัย สมาพันธ์โลจิสติกส์ไทย กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 2,431,900 บาท) Output ข้อเสนอแนวทางการทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี โครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งและโลจิสติกส์ทางราง Output ได้ต้นแบบแนวทางการจัดการคลังสินค้าของท่าอากาศยานนานาชาติ

29 29 Thailand Research Fund (TRF) สรุปแผนงานโครงการของชุดโลจิสติกส์ ปี 2556 (ต่อ) แผนงานทวาย ต้องเตรียมตัวด้านใดบ้าง อย่างไร ผลทวายปี 2555 จากโครงการ “การศึกษาผลกระทบด้านการค้าและโลจิสติกส์ จากการดำเนินการของท่าเรือทวาย ประเทศสหภาพพม่า” จะเกิดเขตเศรษฐกิจพิเศษและบอกผลกระทบ ปี 2556 สิ่งแวดล้อมกำลังคนท่องเที่ยว จัด Workshop เพื่อพัฒนา Roadmap สำหรับเขต เศรษฐกิจพิเศษทวาย เมื่อประเมินโดยรวม พบว่า พม่าต้องการการพัฒนาประเทศเป็นอย่างมากและแบบก้าวกระโดด แต่ยังไม่พร้อมทั้ง ด้านโครงสร้างพื้นฐาน กฎระเบียบ และการอำนวยความสะดวกการค้าการลงทุน ทวายเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่จะเป็นผลดีกับไทยในอนาคตระยะยาว แต่ยังไม่น่าเกิดในระยะสั้นนี้ สิ่งที่ดำเนินการในขณะนี้ได้ คือ การสร้างบุคคลากรและการศึกษา การตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าในระยะยาว ภายในปี 2 ปีนี้ ควรลงทุนด้านการศึกษาและพัฒนาทั้งในพื้นที่และในเมืองใหญ่ (เช่น ย่างกุ้ง เนปิดอร์ มะริด) - 4 ก.พ. 2556 @สกว. - 14 ก.พ. 2556 @มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท - 1 มี.ค. 2556 @มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา - 12 มี.ค. 2556 @สกว. - 19 มี.ค. 2556 @โรงแรมเฟลิกซ์ ริเวอร์แคว รีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี

30 30 Thailand Research Fund (TRF) แผนงานวิจัยเรื่อง การพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของกาญจนบุรีและพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อรองรับเขต เศรษฐกิจพิเศษทวาย (รศ.ดร.กัมปนาท ภักดีกุล มหาวิทยาลัยมหิดล กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 891,700บาท) โครงการการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับได้ทางด้านสิ่งแวดล้อมเชิงพื้นที่และ แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในภาคตะวันตกของประเทศไทยจากการ พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย (ดร.รัตนะ บุลประเสริฐ มหาวิทยาลัยมหิดล กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 809,300 บาท) แผนงานการศึกษาข้อมูลพื้นฐานเพื่อนำไปสู่การ จัดการระบบโลจิสติกส์สุขภาวะที่รองรับการเปิดตัว โครงการท่าเรือน้ำลึกและนิคมอุตสาหกรรมทวาย (ผศ.ดร.กนกวรรณ กิ่งผดุง มหาวิทยาลัยมหิดล กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 345,700 บาท) โครงการการศึกษาความต้องการของแรงงานเพื่อรองรับการ ขยายตัวอันเนื่องมาจากโครงการท่าเรือน้ำลึกและนิคม อุตสาหกรรมทวาย (ผศ.ดร.กนกวรรณ กิ่งผดุง มหาวิทยาลัยมหิดล กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 714,400 บาท) โครงการการศึกษาวิเคราะห์ปริมาณอุปสงค์และการพยากรณ์อุปสงค์ที่เกิดขึ้นจาก โครงการพัฒนาท่าเรือน้ำลึกและเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย (ผศ.ดร.วัชรวี จันทรประกายกุล มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 1,230,600 บาท) โครงการการศึกษาและพัฒนาต้นแบบการพยากรณ์โครงข่ายโลจิสติกส์ผังเมือง เพื่อ รองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย (ดร.บุญทรัพย์ พานิชการ มหาวิทยาลัยนเรศวร กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 1,536,000 บาท) โครงการศึกษากฎหมายและกฎระเบียบที่มีผลกระทบต่อการขยายตัวของจังหวัด กาญจนบุรีและพื้นที่เกี่ยวข้อง (ดร. สมิทธิ ดารากร ณ อยุธยา สมาพันธ์โลจิสติกส์ไทย กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 940,200 บาท) โครงการการศึกษาคุณลักษณะและรูปแบบการเคลื่อนย้ายแรงงาน เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการเปิดโครงการท่าเรือน้ำลึกและ นิคมอุตสาหกรรมทวายที่ส่งผลกระทบต่อระบบสุขภาวะ (อ.ตวงยศ สุภีกิตย์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรอบวงเงินที่พิจารณา อนุมัติ 1,220,700 บาท) โครงการแนวทางการพัฒนาระบบการแจ้งเตือนทางด้านโลจิสติกส์ สุขภาวะ เพื่อรองรับผลกระทบ หลังเปิดโครงการท่าเรือน้ำลึกและ นิคมอุตสาหกรรมทวาย (ผศ.ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 968,200 บาท) โครงการการศึกษาอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพตามชายแดนในเส้นทางมะริดสาธารณรัฐ สหภาพเมียนมาร์-ด่านสิงขร จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (ดร.วิติยา ปิตตานังโพธิ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 2,373,600 บาท) Output ข้อมูลเตรียมความพร้อมเชิงพื้นที่สำหรับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย

31 31 Thailand Research Fund (TRF) 2556 2555 2554 2557-2558 สร้างองค์ความรู้วิจัย โครงการมหาวิทยาลัยวิจัย แห่งชาติ สำนักงาน คณะกรรมการอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล การประยุกต์ใช้งานจริง กระทรวงสาธารณสุข รพ.ศิริราช, รพ.รามาธิบดี สร้างองค์ความรู้ (วิจัย) วช.+สกว. มุ่งเป้า โครงการรหัสยามาตรฐาน: รูปแบบ การแลกเปลี่ยนข้อมูลยา ที่มีประสิทธิภาพใน โซ่อุปทาน สาธารณสุขเพื่อ ความปลอดภัยและสุขภาพที่ดี (Drug Standard Code) โครงการพัฒนาฐานข้อมูลยา ระดับชาติและระบบสืบค้นทาง อินเตอร์เน็ตเพื่อการเชื่อมโยงของ ข้อมูลในโซ่อุปทานสุขภาพอย่างมี ประสิทธิภาพและยกระดับความ ปลอดภัยในการใช้ยาของประชาชน (DrugNET) โครงการศึกษาความ เป็นไปได้ของการ จัดตั้งศูนย์กระจายยา และเวชภัณฑ์สำหรับ โรงพยาบาลภาครัฐ (DC) โครงการพัฒนาการแลกเปลี่ยน ข้อมูลทางอิเลคทรอนิกส์ในโซ่อุปทานสุขภาพ (EDI) - Supply Chain & Logistics Information โครงการพัฒนาการ แลกเปลี่ยนข้อมูลทาง อิเลคทรอนิกส์ใน โซ่อุปทานสุขภาพ (EDI) - Supply Chain & Logistics Information Database - ยา - วัสดุอุปกรณ์ ทางการแพทย์ Hospital Logistics วัสดุอุปกรณ์ทาง การแพทย์ EMR TrackingMIS NDIDEDI MMIS SDC แผนงานดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการคลังยา และเวชภัณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขปีงบประมาณ 2556-2557 Cold Chain ยาและวัคซีน แผนงานต้นแบบ โลจิสติกส์สำหรับระบบ สาธารณสุขไทย Traceabilit y - ยา - วัสดุอุปกรณ์ ทางการแพทย์ แผนงานพัฒนาระบบ โลจิสติกส์และการจัดการ โช่อุปทานอุตสาหกรรมวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ 2) กลุ่มโจทย์โลจิสติกส์อุตสาหกรรม  แผนงาน Healthcare สรุปแผนงานโครงการของชุดโลจิสติกส์ ปี 2556 (ต่อ)

32 32 Thailand Research Fund (TRF) แผนงานการจัดการภัยพิบัติสำหรับวิกฤตของโลจิสติกส์และ โซ่อุปทานของโครงสร้างพื้นฐาน (ผศ.ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 899,000 บาท) โครงการการบริการ จัดการภัยพิบัติในเขต เมือง: กรณีศึกษา อุทกภัยใน เขตเมือง เชียงใหม่ (ดร.ผทัยรัตน์ ภาสน์พิพัฒน์กุล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรอบวงเงินที่พิจารณา อนุมัติ 2,373,600 บาท) ปี 2555: ศึกษาการเตรียมความพร้อมการจัดการโลจิสติกส์ในระดับ ปฏิบัติการในสถานการณ์อุทกภัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) กลุ่มโจทย์โลจิสติกส์อุตสาหกรรม  แผนงานภัยพิบัติ ที่มา ปี 2556 ศึกษาในภูมิภาคอื่นๆเพิ่มเติม โครงการการ เตรียมพร้อมโลจิสติกส์ใน การตอบสนองภัยพิบัติ สำหรับ สภากาชาดไทย (ผศ.ดร.เจริญชัย โขมพัตราภรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี กรอบวงเงินที่พิจารณา อนุมัติ 845,000 บาท) โครงการการบริการ จัดการภัยพิบัติในเขต เมือง: กรณีศึกษา อุทกภัยใน เขตเมือง หาดใหญ่ (รศ.ดร.ธนิต เฉลิมยานนท์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ กรอบวงเงินที่ พิจารณาอนุมัติ 1,011,100 บาท) โครงการการศึกษาโครงสร้าง พื้นฐานทางโลจิสติกส์และ โซ่อุปทานของโครงข่าย ระดับประเทศและระดับเมืองที่ เสี่ยงภัยต่อผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นจากอุทกภัย (ผศ.ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 774,100บาท) Output แนวทางการจัดการเพื่อเตรียมความพร้อม รับมือกับภัยพิบัติในระดับเมืองและ ระดับประเทศ

33 33 Thailand Research Fund (TRF) โครงการการศึกษาความพร้อมและศักยภาพในการบริหารจัดการเพื่อ ดำเนินการด้าน โลจิสติกส์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมชิ้นส่วน ยานยนต์ในประเทศไทย (ผศ.ดร. อำพล นววงศ์เสถียร วิทยาลัยเซาร์อีสบางกอก กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 569,500 บาท) โครงการการพัฒนากระบวนการจัดการโลจิสติกส์ย้อนรอยของ อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย (ดร.ฎาฎะณี วุฒิภดาดร กรมสรรพากร กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 386,000 บาท) แผนงานการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรม ชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย (ผศ.ดร. อำพล นววงศ์เสถียร วิทยาลัยเซาร์อีสบางกอก กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 133,900 บาท) 2) กลุ่มโจทย์โลจิสติกส์อุตสาหกรรม  แผนงาน Green Logistics Output แนวทางการบริหารจัดการจัดการโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อม ของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย

34 34 Thailand Research Fund (TRF) ปี 2555 ปี 2556 หาต้นแบบสำหรับรูปแบบ Cluster ผู้ประกอบการขนส่งที่เหมาะสมกับประเทศไทย และ Implement ระบบบริหารจัดการ Cluster ต้นแบบที่ได้ อยู่ในช่วงออกแบบระบบบริหาร จัดการ Cluster ต้นแบบ และ คัดเลือกสมาชิกผู้ขนส่งเข้า ร่วมคลัสเตอร์ต้นแบบ ผลการดำเนินงานล่าสุค ทำต่อจาก ปี 2555 โดย Implement เพิ่มกับ กลุ่มความร่วมมือทางการขนส่ง 3 กลุ่ม โดย 1 กลุ่มมาจากกพร.คัดเลือกให้ (จากการเข้าพบ 2) กลุ่มโจทย์โลจิสติกส์อุตสาหกรรม  แผนงาน Transportation นำเสนองานวิจัยต่อผอ.อนงค์ ไพจิตรประภรณ์ ผู้อำนวยการสำนัก โลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) เมื่อ วันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ที่ กพร.)

35 35 Thailand Research Fund (TRF) 35 แผนงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบวางแผนเส้นทางการขนส่งสำหรับหลาย ศูนย์กระจายสินค้าและมีกรอบเวลาบนระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (ผศ.ดร. ทรงศักดิ์ รองวิริยะพานิช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 313,400 บาท) โครงการการพัฒนาโปรแกรมสำหรับการจัดกลุ่มจุดจัดส่ง สำหรับการขนส่งสินค้าที่มีหลายศูนย์กระจายสินค้าบน ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (ผศ.ดร. ทรงศักดิ์ รองวิริยะ พานิช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรอบวงเงินที่พิจารณา อนุมัติ 678,000 บาท) โครงการวิจัยย่อยที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมสำหรับการจัด เส้นทางการขนส่งสินค้าสำหรับการขนส่งสินค้าที่มีหลายศูนย์ กระจายสินค้าบนระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (รศ.ดร.เทอด ศักดิ์ รองวิริยะพานิช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 678,000 บาท) โครงการการนำแพลตฟอร์มสารสนเทศไปใช้ในวงกว้างอย่างยั่งยืนสำหรับการรวมกลุ่ม ประกอบการขนส่ง (พ.อ. ดร. วิชิต ซ้ายเกล้า บริษัท ดี เอ็กซ์ อินโนเวชั่น จำกัด กรอบวงเงินที่พิจารณาอนุมัติ 5,491,900 บาท) Output ต้นแบบการดำเนินธุรกิจแบบการรวมกลุ่มบนแพลตฟอร์มสารสนเทศ Output ต้นแบบระบบวางแผนเส้นทางการขนส่งสำหรับหลายศูนย์กระจายสินค้า

36 Kasetsart Univesity & Thailand Research Fund (TRF) สำนักประสานงานโครงการวิจัยด้านโลจิสติกส์ ร่วมระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ( วช.) และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ( สกว.) 3.) กลุ่มโจทย์โลจิสติกส์เกษตร 36 2554 ผลผลิตที่ได้ คือ แนวทางการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์สินค้าเกษตร ซึ่งเน้นกลุ่ม สินค้าเกษตรหลัก ตามประกาศของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยเริ่มพิจารณาห่วงโซ่ อุปทานที่ครอบคลุม AEC ด้วย นอกจากนี้ยังได้ทดสอบโครงการนำร่องการวิจัยแบบมุ่งเป้า โดยการวิจัยประยุกต์ RFID กับตะกร้าหมุนเวียนของโครงการหลวง งานวิจัยเหล่านี้เป็นองค์ ความรู้ที่ทำให้ทราบแนวการพัฒนาโจทย์วิจัยในปีต่อไป (ตามกรอบยุทธศาสตร์วิจัยโลจิ สติกส์ฯ) 2555 ศึกษาต้นทุนโลจิสติกส์เกษตร การสร้างคุณค่าและจัดการคุณค่าในโซ่อุปทานสินค้า เกษตรและอาหาร การยกระดับผลผลิตของโลจิสติกส์เกษตร การประกันคุณภาพและระบบ การตรวจสอบย้อนกลับเพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ คือ ทราบ ต้นทุนโลจิสติกส์เกษตรของประเทศอย่างแท้จริง ต้นแบบการตรวจสอบย้อนกลับด้าน อาหาร และข้อมูลประกอบการตัดสินใจสำหรับการปรับรูปแบบอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ อาหารพร้อมรับประทานในการเปิดเสรีการค้าอาเซียน

37 37 Thailand Research Fund (TRF) 3.) กลุ่มโจทย์โลจิสติกส์เกษตร 6 แผนงาน (ตามกรอบ วิจัยที่ วช. ประกาศ) 1 โครงการ (เร่งด่วน) กลุ่มโจทย์ โลจิสติกส์เกษตร ปี 2556

38 Kasetsart Univesity & Thailand Research Fund (TRF) สำนักประสานงานโครงการวิจัยด้านโลจิสติกส์ ร่วมระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ( วช.) และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ( สกว.) 3.1) กลุ่มโจทย์โลจิสติกส์เกษตร 1. สินค้าฮาลาล 2. สารอันตรายตกค้าง 3. การส่งออกผลไม้สู่ AEC, BIMSTEC และจีน 4. เจาะลึกอุตสาหกรรมเกษตร ในการเข้าสู่ AEC 5. มะม่วงส่งออกสู่ AEC และ ยุโรป 6. เส้นทางขนส่ง ไทย- ยูนนาน โดยระบบ ท่าเรือในแม่น้ำล้านช้าง-แม่น้ำโขง และ เส้นทางขนส่ง R3a 38

39 Kasetsart Univesity & Thailand Research Fund (TRF) 39 1.แผนงาน การสร้างคุณค่าในโซ่อุปทานอุตสาหกรรม สินค้าฮาลาล ผศ.ดร.ธนิต พุทธพงษ์ศิริพร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1.แผนงาน การสร้างคุณค่าในโซ่อุปทานอุตสาหกรรม สินค้าฮาลาล ผศ.ดร.ธนิต พุทธพงษ์ศิริพร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1.1 การปรับรูปแบบ โซ่อุปทานของอุตสาหกรรม สินค้าฮาลาลเพื่อรองรับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Halal product supply chain redesign for AEC) 1.2 การวิจัยตลาดและ ผู้บริโภคอาหารไทย สำเร็จรูปประเภทฮาลาล เพื่อการสํงออก Output แนวทางการ จัดการห่วงโซ่อุปทานและการ สร้างมูลค่าในอุตสาหกรรมสินค้าฮาลาลในการ รองรับเข้าสู่ AEC งบประมาณ 7,115,000 บาท

40 Kasetsart Univesity & Thailand Research Fund (TRF) 40 2.แผนงาน ภัยเงียบอันตรายที่ต้องเฝ้าระวังจากการรวมกลุ่มประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน AEC:ผลกระทบและมาตราการรองรับสารอันตรายตกค้าง ของโลจิสติกส์สินค้าเกษตรและอาหาร ดร.สุวรรณณา (กิจผาติ) บุญตานนท์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2.แผนงาน ภัยเงียบอันตรายที่ต้องเฝ้าระวังจากการรวมกลุ่มประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน AEC:ผลกระทบและมาตราการรองรับสารอันตรายตกค้าง ของโลจิสติกส์สินค้าเกษตรและอาหาร ดร.สุวรรณณา (กิจผาติ) บุญตานนท์ มหาวิทยาลัยมหิดล Output แนวทางการตรวจสอบโลจิสติกส์ย้อนกลับใน กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารทางการเกษตรของกลุ่ม ประเทศ AEC งบประมาณ 3,355,000 บาท 2.1 ระบบเฝ้าระวังและ ตรวจสอบย้อนกลับยา สัตว์ตกค้างและวัตถุเจือ ปนอาหารในสินค้ากลุ่ม สัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ 2.2 ระบบเฝ้าระวังและ ตรวจสอบย้อนกลับยาสัตว์ ตกค้างและวัตถุเจือปนอาหาร ในสินค้ากลุ่มปศุสัตว์และ ผลิตภัณฑ์

41 Kasetsart Univesity & Thailand Research Fund (TRF) 41 3.แผนงานการปรับเปลี่ยนโครงสร้างห่วงโซ่คุณค่าและการพัฒนาระบบการจัดการโซ่อุปทาน และโลจิสติกส์สมัยใหม่ สำหรับสินค้าเกษตรในระบบเครือข่ายสหกรณ์ในเขตภาคเหนือ ตอนบนของไทย: ปัจจัยความสำเร็จเพื่อยกระดับการส่งออกผลไม้เศรษฐกิจไทยสู่ประเทศใน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) กลุ่มประเทศสมาชิก BIMSTEC และจีน ดร.สุเทพ นิ่มสาย มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 3.แผนงานการปรับเปลี่ยนโครงสร้างห่วงโซ่คุณค่าและการพัฒนาระบบการจัดการโซ่อุปทาน และโลจิสติกส์สมัยใหม่ สำหรับสินค้าเกษตรในระบบเครือข่ายสหกรณ์ในเขตภาคเหนือ ตอนบนของไทย: ปัจจัยความสำเร็จเพื่อยกระดับการส่งออกผลไม้เศรษฐกิจไทยสู่ประเทศใน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) กลุ่มประเทศสมาชิก BIMSTEC และจีน ดร.สุเทพ นิ่มสาย มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง Output ระบบการจัดการโลจิสติกส์ และห่วงโซ่อุปทานสินค้า เกษตรไทยต่อการส่งออกไปสู่ กลุ่มประเทศ AEC,BIMSTEC, China ของสหกรณ์ทาง การเกษตรเขตภาคเหนือ ตอนบน งบประมาณ 3,309,000 บาท 3.1 การปรับเปลี่ยนโครงสร้างห่วงโซ่คุณค่าและการพัฒนาระบบการจัดการโซ่อุปทานและโลจิ สติกส์สมัยใหม่ สำหรับสินค้าเกษตรในระบบเครือข่ายสหกรณ์ในเขตภาคเหนือตอนบน:เพื่อ พัฒนาตลาดและยกระดับการส่งออก สู่ประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) กลุ่ม ประเทศสมาชิก BIMSTEC และจีน 3.2 การศึกษาประสิทธิภาพโซ่อุปทานและการจัดการโลจิสติกส์ของสหกรณ์ การเกษตรผู้ผลิตและส่งออกผลไม้เศรษฐกิจในเขตภาคเหนือตอนบนเพื่อเพิ่ม ความสามารถในการแข่งขัน ในตลาดกลุ่มประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) กลุ่มประเทศสมาชิก BIMSTEC และจีน 3.3 การวิเคราะห์โอกาศทางการตลาดมาตราฐานและต้นทุนการ ขนส่งเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการส่งออกผลไม้เศรษฐกิจของ สหกรณ์การเกษตรผู้ปลูกไม้ผลในเขตภาคเหนือตอนบนไปยังกลุ่ม ประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) กลุ่มประเทศสมาชิก BIMST BIMSTEC และจีนEC และจีน 3.4 การศึกษาความเสี่ยงความเปราะบางและผลกระทบจาก ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงต่อการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน สมัยใหม่สำหรับสหกรณ์การเกษตรผู้ผลิตและส่งออกสินค้าเกษตร ในเขตภาคเหนือตอนบน

42 Kasetsart Univesity & Thailand Research Fund (TRF) 42 4.การพัฒนากลยุทธ์ห่วงโซ่อุปทาน เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรม เกษตร เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดร.ดนัยพงศ์ เชษฐโชติศักดิ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 4.การพัฒนากลยุทธ์ห่วงโซ่อุปทาน เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรม เกษตร เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดร.ดนัยพงศ์ เชษฐโชติศักดิ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 4.1 การพัฒนากล ยุทธ์ห่วงโซ่อุปทาน เพิ่มศักยภาพการ แข่งขันของ อุตสาหกรรมอ้อย และน้ำตาลทราย เพื่อเตรียมความ พร้อมในการเข้าสู่ ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน 4.2 การศึกษาเพื่อ ยกระดับผลผลิต ด้านโลจิสติกส์ของ อุตสาหกรรมกุ้งแช่ เย็นแช่แข็งเพื่อการ ปรับตัวรองรับ ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน 4.3 การพัฒนา แผนการจัดลำดับ การเก็บเกี่ยวอ้อย ของรถตัดอ้อย เพื่อให้ได้ผลผลิต น้ำตาลโดยรวมมีค่า มากที่สุด 4.4 การจัดการโลจิ สติกส์สำหรับ เครื่องจักรกล การเกษตรเพื่อ พัฒนาศักยภาพการ แข่งขันของ อุตสาหกรรมเกษตร รองรับ AEC Output กลยุทธ์การพัฒนากิจกรรมโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมเกษตร ไทยโดยทำการเปรียบเทียบกับกลุ่มประเทศ AEC งบประมาณ 5,755,000 บาท

43 Kasetsart Univesity & Thailand Research Fund (TRF) 43 5.การปรับปรุงระบบห่วงโซ่อุปทานของมะม่วงเพื่อเพิ่มศักยภาพในการส่งออก และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ดร.ปนัดดา กสิกิจวิวัฒน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 5.การปรับปรุงระบบห่วงโซ่อุปทานของมะม่วงเพื่อเพิ่มศักยภาพในการส่งออก และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ดร.ปนัดดา กสิกิจวิวัฒน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ งบประมาณ 3,953,000 บาท Output ขีดความสามารถทางการแข่งขัน ของระบบโลจิสติกส์และห่วงโซ่ อุปทานเพื่อการส่งออกมะม่วงไทย ไปยังกลุ่มประเทศ AEC และ EU 5.1 การศึกษา เปรียบเทียบระบบห่วง โซ่อุปทานของการ ส่งออกมะม่วงไปยุโรป และเอเซีย 5.2 การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานของ มะม่วงสดและสุก เพื่อการส่งออก:ศึกษาการส่งออก ไปประเทศในกรอบความร่วมมือประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน และประเทศในกรอบความร่วมมือสหภาพ ยุโรป

44 Kasetsart Univesity & Thailand Research Fund (TRF) 44 6.การวิเคราะห์ศักยภาพระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทานของสินค้าเกษตร ไทย-จีน ภายใต้กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ASEAN-Chaina: กรณีศึกษาเส้นทางขนส่งประเทศไทย-มณฑลยูนนาน โดยระบบท่าเรือ พาณิชย์ในแม่น้ำล้านช้าง-แม่น้ำโขงและเส้นขนส่ง 3a(R3a) ดร.ภูวนาท ฟักเกตุ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 6.การวิเคราะห์ศักยภาพระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทานของสินค้าเกษตร ไทย-จีน ภายใต้กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ASEAN-Chaina: กรณีศึกษาเส้นทางขนส่งประเทศไทย-มณฑลยูนนาน โดยระบบท่าเรือ พาณิชย์ในแม่น้ำล้านช้าง-แม่น้ำโขงและเส้นขนส่ง 3a(R3a) ดร.ภูวนาท ฟักเกตุ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง งบประมาณ 2,513,000 บาท 6.1 การศึกษาโครงสร้าง พื้นฐานของระบบโลจิสติกส์ สินค้าเกษตรนำเข้า - ส่งออก ระหว่างไทย-จีน กรณีศึกษา เส้นทางขนส่งประเทศไทย- มณฑลยูนนาน โดยระบบ ท่าเรือพาณิชย์ในแม่น้ำล้าน ช้าง-แม่น้ำโขงและเส้นขนส่ง 3a(R3a) 6.2 การศึกษาและเปรียบเทียบ นโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวกับ การค้า การลงทุนและการขนส่งของ สินค้าเกษตรนำเข้า-ส่งออก ระหว่าง ไทย-จีน กรณีศึกษาเส้นทางขนส่ง ประเทศไทย-มณฑลยูนนาน โดย ระบบท่าเรือพาณิชย์ในแม่น้ำล้าน ช้าง-แม่น้ำโขงและเส้นขนส่ง 3a(R3a) 6.3 การวิเคราะห์ห่วงโซ่ คุณค่าและการพัฒนา ระบบโลจิสติกส์ของ อุตสาหกรรมการนำเข้า- ส่งออกสินค้าเกษตรระหว่าง ไทย-จีน กรณีศึกษาเส้นทาง ขนส่งประเทศไทย-มณฑล ยูนนาน โดยระบบท่าเรือ พาณิชย์ในแม่น้ำล้านช้าง- แม่น้ำโขงและเส้นขนส่ง 3a(R3a) Output ต้นแบบระบบโลจิสติกส์เพื่อการขนส่งและห่วงโซ่คุณค่าสินค้าเกษตร ไทยสู่ประเทศจีน

45 Kasetsart Univesity & Thailand Research Fund (TRF) 45 7.โครงการการประเมินต้นทุนและอุปสรรคการขนส่งข้าวไทยเพื่อ การส่งออกผ่านเส้นทาง R3A และแม่น้ำโขงสู่ตลาดประเทศจีน อ.ดนัยธัญ พงษ์พัชราธรเทพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ งบประมาณ 3,000,000 บาท Output ต้นแบบระบบโลจิสติกส์เพื่อการขนส่งและห่วงโซ่คุณค่าการส่งออก ข้าวไทยสู่ประเทศจีน

46 Kasetsart Univesity & Thailand Research Fund (TRF) สำนักประสานงานโครงการวิจัยด้านโลจิสติกส์ ร่วมระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ( วช.) และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ( สกว.) กิจกรรมเด่นชุดโครงการโลจิสติกส์ ปี 2556 จาก ผลงานปี 2555 ที่ได้นำผลไปใช้อย่างแท้จริง 46 1) นักวิจัย “โครงการการนำแพลตฟอร์มสารสนเทศไปใช้ในวงกว้างอย่าง ยั่งยืนสำหรับการรวมกลุ่มประกอบการขนส่ง”นำเสนองานวิจัยต่อผอ.อนงค์ ไพจิตรประภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและ การเหมืองแร่ (กพร.) เกริกกล้า สนธิมาศ ประธานสมาพันธ์โลจิสติกส์ไทย และคุณชุมพล สายเชื้อ เลขาธิการสมาคมขนส่งและโลจิสติกส์ไทย เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ที่ กพร. สิ่งที่เกิดขึ้น  กพร. เลือกกลุ่มตัวอย่างให้นักวิจัย เพื่อนำมา Implement ระบบแพลตฟอร์มของคลัสเตอร์ผู้ประกอบการขนส่ง 2) งาน The 1 st International Healthcare Logistics Conference 2013 วันที่ 7 มิถุนายน 2556 ณ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ สิ่งที่เกิดขึ้น  ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระบบสาธารณสุข เช่น กระทรวง สาธารณสุขมีความตระหนักและเข้าใจแนวทางที่เป็น Best Practice เพื่อ นำไปสู่การประยุกต์พัฒนาฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมสุขภาพ รวมทั้งยาและเวชภัณฑ์ และเป็นองค์ความรู้สำหรับนักวิจัยที่นำไปสู่การทำ วิจัยการพัฒนาฐานข้อมูลยาและเวชภัณฑ์ต่อไป ในปี 2556

47 Kasetsart Univesity & Thailand Research Fund (TRF) สำนักประสานงานโครงการวิจัยด้านโลจิสติกส์ ร่วมระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ( วช.) และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ( สกว.) 47 3) งานประชุมนักวิจัยทีม AEC เพื่อในวันที่ 5 มิถุนายน 2556 ณ วีรันดา เชียงใหม่ เดอะ ไฮท์ รีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่ และ Focus Group ของทีมนักวิจัย AEC 3 กลุ่มร่วมกับประเทศ CLMV ในอาเซียน และ ERIA วันที่ 20 มิถุนายน 2556 เพื่อร่วม Approve ต่อ Scenario ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ ปาร์ค สิ่งที่เกิดขึ้น  ได้ Scenario ที่นำไปสู่การ Run Model โดยได้เชิญคณะกรรมการกำกับแผนงานวิจัยฯ เข้าร่วมการ ประชุมด้วย ทำให้ได้ข้อมูลเชิงนโยบาย และเป็นข้อมูลต่อยอดสู่การทำโครงการ AEC ในปี 2556

48 Kasetsart Univesity & Thailand Research Fund (TRF) สำนักประสานงานโครงการวิจัยด้านโลจิสติกส์ ร่วมระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ( วช.) และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ( สกว.) 48 4) โลจิสติกส์เกษตร

49 49 Thailand Research Fund (TRF) ถาม - ตอบ รศ.ดร.สมยศ เชิญอักษร ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ประสานงานโลจิสติกส์เกษตร สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) somyot.c@ku.ac.th


ดาวน์โหลด ppt 1 Thailand Research Fund (TRF) ยุทธศาสตร์วิจัยโลจิสติกส์แห่งชาติ มุมมองท้องถิ่นกับการใช้สิทธิประโยชน์ ว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดน โดย รศ.ดร.สมยศ เชิญอักษร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google