งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1/43 แก่นของการ จัดการความรู้ * ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช * บรรยายพิเศษ ณ ศูนย์บริการวิชาการ มข., 22 ม. ค.47.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1/43 แก่นของการ จัดการความรู้ * ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช * บรรยายพิเศษ ณ ศูนย์บริการวิชาการ มข., 22 ม. ค.47."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1/43 แก่นของการ จัดการความรู้ * ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช www.kmi.or.th vicharn@trf.or.th * บรรยายพิเศษ ณ ศูนย์บริการวิชาการ มข., 22 ม. ค.47

2 2/43 การจัดการความรู้ เป็นทักษะ ไม่ใช่ ความรู้เชิงทฤษฎี ไม่ทำ ไม่รู้ ฟังการบรรยาย ทำไม่เป็น คนระดับล่างผ่านการฝึก ทำได้ อธิบายไม่ได้

3 3/43 ความรู้ 2 ยุค ยุคที่ ๑ โดย นักวิชาการ เน้นเหตุผล พิสูจน์ได้ เป็น วิทยาศาสตร์ ค. เฉพาะ สาขา ยุคที่ ๒ โดยผู้ปฏิบัติ เน้น ประสบการ ณ์ตรง ค. บูรณา การ

4 4/43 ความรู้ งาน คนคน จค.จค.

5 5/43 การจัดการความรู้คือ กระบวนการนำ ทุนปัญญา ไปสร้าง มูลค่า & คุณค่า และเพิ่มพูนทุนปัญญา วงจรไม่รู้จบ วงจรยกระดับ เกลียวความรู้ การใช้งาน & ความรู้ เป็น เครื่องมือพัฒนาคน พัฒนาตน

6 6/43 การจัดการ ความรู้ เน้นความรู้ยุคที่ 2 ใช้ ค. ทั้งสองยุคให้เกิด พลังทวีคูณ (synergy) เน้นผู้ปฏิบัติ ในองค์กร - แนวหน้า K Practioner - ระดับกลาง K Engineer - ระดับสูง K Officer เกลียวความรู้ K Spiral

7 7/43

8 8/43

9 9/43 ความรู้ 4 ระดับ K- What K- How K- Why Care- Why K-Who, K-When, K- Where

10 10/43 การจัดการความรู้ คือ การนำความรู้มาใช้ ประโยชน์ โดย capture, create, distill, share, use K K = K What, K How, K Who, K When, K Why Evolving, Leveraging Process

11 11/43 การจัดการความรู้คือ (2) เครื่องมือ ในการพัฒนางาน & คน เครื่องมือทำ สิ่งที่ไม่คาดคิดว่า จะทำได้ เครื่องมือใช้ ความรู้ของทั้งโลก เครื่องมือดึง ศักยภาพของคน & ทีมออกมาใช้ เครื่องมือเพื่อความอยู่รอดใน สถานการณ์ที่พลิกผัน

12 12/43 การจัดการ ความรู้ Identify, capture, discover, do site visit, benchmark, find best practice, assess, validate, select, analyze, screen, discard, distill, create, adopt, adapt, modify, apply /exploit, share, externalize, internalize, combine, transfer, synthesize, leverage, categorize, store, disseminate, retrieve, select,

13 13/43 เป้าหมาย 4 ประการ ของ KM ให้คนหลากหลายทักษะ หลากหลายวิธีคิดทำงาน ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันพัฒนาวิธีทำงานใน รูปแบบใหม่ ๆ ทดลอง & เรียนรู้ นำเข้า K-how จากภายนอก อย่างเหมาะสม เน้น ค. ฝังลึก & โยงอยู่กับงาน

14 14/43 ความรู้ ๒ ประเภท ค. ฝังลึก Tacit K อยู่ในสมองคน เชื่อมโยงกับ ประสบการณ์ ความเชื่อ ค่านิยม ไม่ สามารถ ถ่ายทอด ออกมาได้ ทั้งหมด ค. ชัดแจ้ง Explicit/Cod ified K อยู่ในตำรา เอกสาร วารสาร คู่มือ คำอธิบาย วี ซีดี คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูล

15 15/43 ความรู้ ประเภทที่ ๓ Embedded K ฝังอยู่ในวิธีปฏิบัติงาน วัฒนธรรม ข้อตกลง กฎ กติกา คู่มือ ขององค์กร ฝังอยู่ในผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต

16 16/43

17 17/43 กฎ 3 ข้อของ จค. 1. สมัครใจ ไม่ใช่กะ เกณฑ์ 2. “ การรู้ ” เกิดเมื่อ ต้องการใช้ 3. “ รู้ ” มากกว่าที่ เขียนได้ พูดได้ Snowden, 23 May 03

18 18/43 ความรู้ 5 กลุ่ม Artifacts วัตถุ เครื่อง ห่อหุ้ม Skills ทักษะ Heuristics กฎแห่ง สามัญสำนึก Experience ประสบการณ์ Natural Talent พรสวรรค์ Snowden, 23 May 03 ASHETASHET Explicit Documents Tacit Heads

19 19/43

20 20/43 การจัดการความรู้ ใช้ และสร้าง ณ จุด ใช้งาน ร่วมกัน แลกเปลี่ยน กัน ยกระดับ แฝง ชัดแจ้ง ปฏิบัติปริยัติ

21 21/43 เริ่ม อย่างไร ตั้งเป้า พัฒนา งาน ร่วมกัน ดำเนินการ เฉลิมฉลอง ความสำเร็จ หา วิธี ช่วยกั นคิด เรียนรู้ จากผู้อื่น ดู งา น เชิญเขามา เล่า ฝึก ฝึกอบร ม คุณภ าพ องค์กร เรียนรู้ จัดการ ความรู้

22 22/43 องค์กรทำ จค. เพราะ ปัจจัย สงวน “ สมอง ” ประสิทธิผล ขององค์กร ความทรงจำ ขององค์กร เพิ่มสินทรัพย์ ทางปัญญา

23 23/43 Operational Effectiveness Responsiveness Innovation Competency Efficiency

24 24/43 ต่าง มุมมอง Data Inform ation Tacit K

25 25/43 การจัดการ ความรู้ 3 ยุค Pre-SECI : Information Mgt Technology supports human decision making SECI : K is tacit or Explicit Conversion T - E Linked to Business Process Re-engineering Maximize Efficiency Post-SECI : K not wholly T or E JIT KM Focus on Effectiveness

26 26/43 ความรู้มาจากไหน ประสบการณ์ ทดลอง สรุปบทเรียน คำบอกเล่า แลกเปลี่ยน ความรู้ ตำรา นักวิชาการ คิดไตร่ตรองจาก 3 ข้อ ข้างบน

27 27/43 KM Need & KM Solutions ความรู้ ระเหย ประสิทธิ ผล สงวนรักษา “ สมอง ” ความรู้เป็น “ ท่อน ” ฝึกคน ใหม่ EM (Lesson Learned) Mentoring Portals ICM (Intellectual Capital Mgt) Workflow CoP Content Mgt

28 28/43 คนกับ Work - based KM Global K Base Co KB Org. KB งาน contex t คนคน คนคน ผู้ปฏิบัติ facilitator, activist

29 29/43 KM-at- Work K-at-Action Org. KGlobal K Context K Individual K

30 30/43 จค. vs วิจัย เน้นการ ครอบคลุมตัว แปรจำนวน มาก และ หลากหลาย เอามา ประยุกต์ หวัง ผลเชิง ผลสัมฤทธิ์ ใน ลักษณะ tacit เน้นการจับตัว แปรจำนวน น้อย เอามา ศึกษา หรือ ดำเนินการ เพื่อหาคำตอบ เชิงเหตุผล หา คำอธิบายที่ explicit

31 31/43 D&r ภายใต้ ความเชื่อ จค. ที่แท้ = การปฏิบัติ ใน ชีวิต / งานประจำวัน เรียน จค. โดยการปฏิบัติ ไม่ใช่โดยการฟังหรืออ่านทำ ความเข้าใจ จค. เป็น tacit > explicit ความรู้ / เทคนิค จค. ที่แท้ ต้องมาจากการปฏิบัติ

32 32/43 จค. ในเครือข่าย สถาบันอุดมศึกษา 3-5 มหาวิทยาลัย ต่างขนาด ต่างสถานะ มหาฯ ละ 3-5 หน่วย “ คุณกิจ ” หน่วยละ 3 คน รวม “ คุณกิจ ” 30 - 50 คน “ คุณอำนวย ” 1 คน / มหาฯ = 3- 5 คน ผู้จัดการโครงการ 1 คน รวม 4-6 คน ปฏิบัติ และสร้างศาสตร์ร่วมกัน ใช้เวลา 18 เดือน

33 33/43 จค. ในเครือข่าย โรงพยาบาล 5 - 10 รพ., รพ. ละ 5-10 คน = 50 คน … ผู้ปฏิบัติ “ คุณกิจ ” “ คุณอำนวย ” 1 คน / รพ. = 5-10 คน ผู้จัดการโครงการ 1 คน รวม 11 คน ปฏิบัติ และสร้างศาสตร์ ร่วมกัน ใช้ เวลา 18 เดือน

34 34/43 วัตถุประสงค์ : เพื่อ พัฒนา ผลงาน ( ของคุณกิจ ) รูปแบบ จค. นัก จค. : นักปฏิบัติ จค. = คุณกิจ, นักเอื้ออำนวย ความสะดวก จค. (K Facilitator) = คุณอำนวย … นักพัฒนาในยุค จค. ตำรา คู่มือ

35 35/43 วิธีกา ร ทำกิจกรรม 18 เดือน พัฒนางานหลักด้วย จค. คุณกิจ (30 - 50) + คุณ อำนวย (5 -10) แต่ละเครือข่ายเลือกประเด็น / การดำเนินการเอง ไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทุก เดือน x 2 วัน

36 36/43 วิธีการ (2) D1 รายงานผลงาน & การ เรียนรู้ จค. D2 วางแผนเดือนต่อไป เติมความรู้ : ด้าน จค. & ด้าน งาน ร่วมกันรวบรวม & เรียบเรียง ตำรา / คู่มือ จค.

37 37/43 คุณ กิจ จัด workshop จค. เสริม 3 ครั้ง ใน 18 เดือน

38 38/43 คุณอำนวย จัด workshop คละกลุ่ม เดือนละ ครั้ง x 2 วัน x 18 เดือน เพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ - D1 รายงาน - D2 ทำแผน - เสริมความรู้ด้าน จค. & การ จัดการ เขียนตำรา / คู่มือ หลักการ & วิธีการ ทำหน้าที่ “ คุณอำนวย ”

39 39/43 ผลลัพธ์ คนที่ “ ทำเป็น ” และ ทำเป็น นิสัย ไม่ใช่แค่รู้ - นักปฏิบัติจัดการความรู้ - นักอำนวยความสะดวก จัดการความรู้ หลักการและวิธีการที่สร้าง จากการปฏิบัติ - ตำรา คู่มือ รูปแบบ จค. ในหลากหลาย บริบท

40 40/43

41 41/43

42 42/43 โครงการ D&r Organization - based Issue - based Area - based ต้องการภาคีรับผิดชอบ การจัดการ

43 43/43 สรุป การจัดการความรู้ เป็น เครื่องมือ พัฒนา งาน พัฒนาคน พัฒนา องค์กร พัฒนาสังคม ใน ยุคสังคมความรู้ ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง และความไม่แน่นอน เน้นความรู้ยุคที่ 2


ดาวน์โหลด ppt 1/43 แก่นของการ จัดการความรู้ * ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช * บรรยายพิเศษ ณ ศูนย์บริการวิชาการ มข., 22 ม. ค.47.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google