ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยวานี พิศาลบุตร ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา 09.30 น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยกลาง ( กอปภ. ก.) เพื่อการติดตาม เฝ้าระวัง และประเมินสถานการณ์ ภัยแล้ง ครั้งที่ 19/2559
3
สถานการณ์ภัยแล้ง ข้อมูล ณ วันที่ 2 มิ. ย. 59 ข้อมูลจังหวัดอำเภอตำบลหมู่บ้าน พื้นที่ประกาศฯภัยแล้ง 3737241 1,25 8 10,034 พื้นที่ทั้งประเทศ 76878 7,25 5 74,965 คิดเป็นร้อยละ 47.3727.45 17.3 413.38
4
3. จังหวัดที่มีการให้ความช่วยเหลือด้าน น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค และน้ำเพื่อ การเกษตร จำนวน 18 จังหวัด 122 อำเภอ 623 ตำบล 5,070 หมู่บ้าน ( จังหวัด อุตรดิตถ์ นครสวรรค์ นครราชสีมา เพชรบุรี ตราด สตูล กระบี่ นครศรีธรรมราช หนองบัวลำภู สุพรรณบุรี สระแก้ว ขอนแก่น ปราจีนบุรี ลำปาง อุทัยธานี กำแพงเพชร ราชบุรี และจังหวัดแม่ฮ่องสอน ) 1. จังหวัดที่มีการให้ความช่วยเหลือด้าน น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค จำนวน 11 จังหวัด 52 อำเภอ 289 ตำบล 2,061 หมู่บ้าน ( จังหวัดน่าน พิจิตร ลำพูน ตาก สุรินทร์ ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี ตรัง ประจวบคีรีขันธ์ และจังหวัดพังงา ) 2. จังหวัดที่มีการให้ความช่วยเหลือด้าน น้ำเพื่อการเกษตร จำนวน 8 จังหวัด 67 อำเภอ 346 ตำบล 2,903 หมู่บ้าน ( จังหวัดเชียงใหม่ พะเยา สุโขทัย มหาสารคาม บุรีรัมย์ กาญจนบุรี จันทบุรี และจังหวัดสุราษฎร์ธานี ) 2. จังหวัดที่มีการให้ความช่วยเหลือด้าน น้ำเพื่อการเกษตร จำนวน 8 จังหวัด 67 อำเภอ 346 ตำบล 2,903 หมู่บ้าน ( จังหวัดเชียงใหม่ พะเยา สุโขทัย มหาสารคาม บุรีรัมย์ กาญจนบุรี จันทบุรี และจังหวัดสุราษฎร์ธานี ) สถานการณ์ภัยแล้ง ข้อมูล ณ วันที่ 2 มิ. ย. 59 ด้านอุปโภค บริโภค ด้านเกษตร ด้านอุปโภค บริโภค และ เกษตร
5
เปรียบเทียบจังหวัดที่ประกาศให้ความ ช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ( ภัยแล้ง ) ข้อมูล ณ วันที่ 2 มิ. ย. ของทุกปี มากกว่าปี 59 - 25,293 หมู่บ้าน มากกว่าปี 59 - 10,136 หมู่บ้าน มากกว่าปี 59 - 2,420 หมู่บ้าน จำนวนหมู่บ้านประสบ ภัยแล้ง
6
สถานการณ์ฝนตกหนัก วาตภัย และคลื่นลม แรง ตั้งแต่ 20 – 1 มิ. ย. 59 ได้รับผลกระทบ 16 จังหวัด 49 อำเภอ 154 ตำบล 481 หมู่บ้าน บ้านเรือนประชาชนเสียหาย 2,980 หลัง บาดเจ็บ 50 คน และ เสียชีวิต 6 ราย
7
การเตรียมการป้องกันและแก้ไข ปัญหาอุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม ปี 2559 ในช่วงฤดูฝนของทุกปีหลายพื้นที่ของ ประเทศไทยมักจะประสบปัญหาอุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม ก่อให้เกิดอันตรายแก่ ชีวิต ร่างกายของประชาชนหรือความ เสียหายแก่ทรัพยสินของประชาชน หรือของ รัฐ ดังนั้น เพื่อให้การเตรียมความพร้อมใน การป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างมี ประสิทธิภาพ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง หมาดไทย ในฐานะผู้ บัญชาการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ สั่งการให้กอง อำนวยการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย จังหวัดดำเนินการ แบ่งเป็น 3 ด้าน คือ 1. ด้านการลดความเสี่ยง จากสาธารณภัย 2. ด้านการจัดการใน ภาวะฉุกเฉิน 3. ด้านการ ฟื้นฟู
12
หัวข้อที่ 1 ข้อมูลสถานการณ์ภัยแล้ง รายงานสภาพอากาศ และสภาพฝน โดย กรมอุตุนิยมวิทยา รายงานสถานการณ์น้ำ และสภาพ อากาศโดย สสนก. รายงานสถานการณ์น้ำ โดย กรม ชลประทาน รายงานสถานการณ์น้ำ โดย กรม ทรัพยากรน้ำ รายงานข้อมูลสถานการณ์น้ำประปา โดย การประปานครหลวง / การ ประปาส่วนภูมิภาค รายงานข้อมูลสถานการณ์น้ำประปา ท้องถิ่น โดย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น รายงานสถานการณ์น้ำในเขื่อน โดย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ รายงานข้อมูลภูมิสารสนเทศเกี่ยวกับ ภัยแล้ง โดย GISTDA รายงานสถานการณ์น้ำ โดย กรม ทรัพยากรน้ำบาดาล
13
2.1 ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม 2.2 ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองทัพบก 2.3 กองทัพภาคที่ 1 2.4 กรมฝนหลวงและการบินเกษตร 2.5 กรมประชาสัมพันธ์ 2.6 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัย หัวข้อที่ 2 การดำเนินการแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ปี 2559
14
โดย ศูนย์ปฏิบัติการ นายกรัฐมนตรี (PMOC) หัวข้อที่ 3 การรายงานสถานการณ์
15
หัวข้อที่ 4 ข้อสรุปและข้อสั่ง การ
16
paladtai.office@gmail.com dpm_disaster@yahoo.com hatasosimi@yahoo.com
17
ศูนย์อำนวยการบรรเทาสา ธารณภัย ส่วนวิเคราะห์และประเมิน สถานการณ์ 02-637-3571-6 โทรสาร 02-241-7466 E-mail : dpm_disaster@yahoo.c om ขอขอบคุ ณ DDPM สถานการณ์น้ำ
18
ขอเชิญรับประทานอาหาร กลางวัน ที่ชั้น 5 นะครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.