งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

PMQA Organization ตัวชี้วัด 14 การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 น้ำหนัก : ร้อยละ 20 ตัวชี้วัด 14 การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "PMQA Organization ตัวชี้วัด 14 การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 น้ำหนัก : ร้อยละ 20 ตัวชี้วัด 14 การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 PMQA Organization ตัวชี้วัด 14 การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 น้ำหนัก : ร้อยละ 20 ตัวชี้วัด 14 การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 น้ำหนัก : ร้อยละ 20 มิติ ที่ 4

2 PMQA Organization เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เกณฑ์ หมวด1-6 เกณฑ์ 42 ประเด็น

3 PMQA Organization 3 น้ำหนักร้อยละ 20 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละส่วนราชการมีความ เข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและ พัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง กำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” ซึ่งหมายถึง ค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจ ประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากส่วนราชการใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ใน หมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว สำหรับส่วนราชการที่ ผ่านเกณฑ์ฯอย่างครบถ้วนแล้วจะได้ค่าคะแนนนี้โดยปริยาย น้ำหนักร้อยละ 20 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละส่วนราชการมีความ เข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและ พัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง กำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” ซึ่งหมายถึง ค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจ ประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากส่วนราชการใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ใน หมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว สำหรับส่วนราชการที่ ผ่านเกณฑ์ฯอย่างครบถ้วนแล้วจะได้ค่าคะแนนนี้โดยปริยาย 2553

4 PMQA Organization  มุ่งเน้นเพื่อผลักดันให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง โดยวัด ความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐานต่อไป  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่ สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัด ความสำเร็จและสามารถสะท้อนผลการดำเนินงานของหมวดนั้น ๆ ได้อย่าง แท้จริง แต่อย่างไรก็ตาม ยังเปิดโอกาสสำหรับส่วนราชการที่จะกำหนด ตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อความสอดคล้องกับภารกิจบางประเภทที่มี ลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม  มุ่งเน้นเพื่อผลักดันให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง โดยวัด ความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐานต่อไป  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่ สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัด ความสำเร็จและสามารถสะท้อนผลการดำเนินงานของหมวดนั้น ๆ ได้อย่าง แท้จริง แต่อย่างไรก็ตาม ยังเปิดโอกาสสำหรับส่วนราชการที่จะกำหนด ตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อความสอดคล้องกับภารกิจบางประเภทที่มี ลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม

5 PMQA Organization  กำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” ซึ่งหมายถึง ค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจ ประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากส่วนราชการใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ในหมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว  ส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดี แม้ ในหมวดที่ส่วนราชการได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ไปแล้วก็ตาม เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหาร จัดการในขั้น Successful Level  กำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” ซึ่งหมายถึง ค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจ ประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากส่วนราชการใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ในหมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว  ส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดี แม้ ในหมวดที่ส่วนราชการได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ไปแล้วก็ตาม เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหาร จัดการในขั้น Successful Level

6 PMQA Organization Roadmap การพัฒนาองค์การ 2552 2554 กรมด้านบริการ กรมด้านนโยบาย จังหวัด เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 2553 3 5 6 2 4 1 2 4 6 3 5 1 4 2 3 5 6 สถาบันอุดมศึกษา เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 1 5 3 6 2 4 SuccessfulLevel

7 PMQA Organization 7 การประเมินผลตัวชี้วัด

8 PMQA Organization ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 11.1ระดับความสำเร็จของการ ดำเนินการตามแผนการพัฒนา องค์การ หมวด11.3ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 12 11.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 44 11.3.1 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะ สำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 1 11.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วง น้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จ ของผลลัพธ์ในการดำเนินการตาม แผนพัฒนาองค์การ 11 11.3.2 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการ ประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน 1 11.1.3 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ใน หมวดที่ส่วนราชการดำเนินการไม่ผ่าน เกณฑ์ฯในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 11 11.3.3 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (2 แผน) 2 664 12 11.2ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วง น้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ความสำเร็จของผลลัพธ์ในการ ดำเนินการของส่วนราชการ ตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 4 ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก ร้อยละ 20)

9 PMQA Organization 9

10 10 แนวทางการดำเนินงาน 25522553 ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. 1. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตาม แผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ. ศ. 2553 2. ทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร 3. ประเมินองค์กรเพื่อจัดทำแผนพัฒนา องค์การปีงบประมาณ พ.ศ 2554 4. การรายงานผลการดำเนินการตาม ตัวชี้วัดรอบ 6 เดือน และ 12 เดือน 5. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมิน ภายนอก

11 PMQA Organization เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ “รางวัลคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ หมวด........” 1 80 100 หมวด 1 หมวด 2หมวด 3 หมวด 4หมวด 5หมวด 6 2 3 4 5 6 7 8 9 10 หมวด 7 ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) Successful Level

12 PMQA Organization แผนภาพ : แสดงร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ ระดับพื้นฐาน ( FL) ประจำปี 2552 คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตัวชี้วัด เท่ากับ 3.7858

13 PMQA Organization 13

14 PMQA Organization แนวทางการถ่ายทอดตัวชี้วัด 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ สู่การปฏิบัติระดับสำนัก/กอง 1.ความเกี่ยวข้องกับภารกิจ หลักสำนัก/กอง : เจ้าของ ระบบงาน (หมวด 1-7) 2.ระบบงานที่ทุกสำนัก/กอง ต้องพัฒนาองค์การร่วมกัน : LD 5/IT7.. 1.KPI แผนพัฒนาองค์การ : ระบบงานหลักของสำนัก/ กอง (หมวด 1-6) 2.KPI ระบบงานที่ทุกสำนัก/ กองต้องพัฒนาองค์การ ร่วมกัน : LD 5/IT7..

15 PMQA Organization หมวดประเด็น หน่วยงาน เจ้าภาพหมวด / แผน หน่วยงานเจ้าภาพ เฉพาะประเด็น หน่วยงานปฏิบัติการ หมวด 1 การนำองค์กร สนผ. LD1, LD4, LD6, LD7 สลก. LD1, LD4, LD7 กกจ.LD2,LD3,LD5,LD6 กพร.กปส. LD4,LD5,LD6 ศสช. LD6, กกร. LD2 นตส. LD6, กคล. LD2 ทุกสำนัก/กอง หมวด 2 การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ สนผ. SP1 - SP7 กกจ. SP3, SP5 ศสช. SP2, สลก. SP4 กพร.กปส. SP7 ทุกสำนัก/กอง หมวด 3 การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการ และ ผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย สนผ. (CS1, CS6,) สพป. สปต. สวท. สทท. สนข. สปช. กกช. ศสช. และ สปข.1-8 : CS1-CS7, ศสช. CS1,CS2,CS3 สพป. CS4,CS5 กคล. (CS1-CS7) หน่วยงานสนับสนุน สลก. กกร. กคล. สพท. นตส. ( CS1-CS7) หน่วยงานรับผิดชอบดำเนินการ แผนพัฒนาองค์การ ตามเกณฑ์ (PMQA) ระดับพื้นฐาน ประจำปี2553

16 PMQA Organization หมวดประเด็น หน่วยงาน เจ้าภาพหมวด / แผน หน่วยงานเจ้าภาพ เฉพาะประเด็น หน่วยงานปฏิบัติการ หมวด 4 การวัด การ วิเคราะห์ และ การจัดการความรู้ ศสช. (IT1- IT6) สนผ.(IT1, IT2) กกจ (IT3,IT7) กคล. (IT3) ทุกสำนัก/กอง หมวด 5 การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล กกจ. (HR1- HR5) สลก.(HR1) สปช. (HR3,HR4) สนผ.(HR2,HR3) ทุกสำนัก/กอง หมวด 6 การจัดกระบวนการ กระบวนการที่สร้าง คุณค่า กระบวนการ สนับสนุน สนผ. (PM1) สพป. สปต. สวท. สทท. สนข. สปช. กกช. ศสช. และ สปข.1-8 : (PM1-PM6) สพท. (PM1-PM6) สลก. กกร. กคล. สพท. นตส. หน่วยงานรับผิดชอบดำเนินการ แผนพัฒนาองค์การ ตามเกณฑ์ (PMQA) ระดับพื้นฐาน ประจำปี2553

17 PMQA Organization หน่วยงานรับผิดชอบดำเนินการ แผนพัฒนาองค์การ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (PMQA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552-2554 หมวด ประเด็นหน่วยงาน เจ้าภาพแผน หน่วยงานเจ้าภาพ เฉพาะประเด็น หมวด 7ผลลัพธ์การดำเนินงาน กพร. กปส. (RM1- RM6) สพป. สปต. สวท. สทท. สนข. สปช. สปข.1-8 : RM1, RM3, RM6 สลก. และทุกสำนัก/กอง : RM4.1 สนผ. : RM1, RM2,RM3, RM4.2 กกจ. : RM4.3, RM5,RM6 กคล. : RM5 ศสช. : RM4.2

18 PMQA Organization ตัวอย่าง : การถ่ายทอดตัวชี้วัด 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) : หมวดตัวชี้วัดน้ำหนัก 1 1. ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ ของมาตรการ / โครงการตามนโยบายการกำกับดูแล องค์การที่ดี ( ด้านละ 1 โครงการ ) 2 2. ระดับความเชื่อมั่นด้านธรรมาภิบาลของผู้รับบริการ ต่อองค์การ ( ค่าเฉลี่ย ) 2 3 3. ร้อยละความพึงพอใจ และความไม่พึงพอใจของ ผู้รับบริการ 4 4. ร้อยละของข้อร้องเรียนที่ได้รับการตอบสนอง ภายใน 15 วันทำการ ( ผู้รับบริการภายนอกองค์กร ) 2 5. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ส่วน ราชการเปิดโอกาส ให้เข้ามามีส่วนร่วม 4 4 6. ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ ของการดำเนินการ ตามแผนการจัดการความรู้ ( ระดับ สำนัก : 3 องค์ความรู้ ) 2 6 7. ร้อยละของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ( ในความ รับผิดชอบ ) ที่ได้การปรับ ปรุงให้ผลการดำเนินงานดี ขึ้น ( ตามเกณฑ์ หมวด 6 / มีคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) 4 KPI กรม KPI สำนัก : สพป.

19 PMQA Organization 19 หมวดตัวชี้วัดน้ำหนัก ร้อยละ 20 1 1. ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของมาตรการ / โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ( ด้านละ 1 โครงการ ) 2 3 2. ร้อยละความพึงพอใจ และความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการ ( ขั้นตอนการปฏิบัติงาน / เจ้าหน้าที่ / สิ่งอำนวยความสะดวก ) 4 3. ร้อยละของข้อร้องเรียนที่ได้รับการตอบสนองภายใน 15 วันทำการ ( ผู้รับบริการกรม / ผู้รับบริการภายใน ) 2 4 4. ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ตาม พ. ร. บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ. ศ. 2540 4 5. ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตาม แผนการจัดการความรู้ ( ระดับกอง : 3 องค์ความรู้ ) 2 6 6. จำนวนกระบวนการสนับสนุน ( ในความรับผิดชอบ ) ที่ได้รับการปรับปรุงให้ ผลการดำเนินงานดีขึ้น ( ตามเกณฑ์ หมวด 6 / มีคู่มือการปฏิบัติงาน ( Work Manual) ) 4 7. ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน ( ภาพรวม กรม ) 2 ตัวอย่าง : การถ่ายทอดตัวชี้วัด 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) : สลก.

20 PMQA Organization คู่มือคำอธิบายตัวชี้วัด PMQA ปี 2553 (ระดับกรม : สีชมพู) คู่มือคำอธิบายตัวชี้วัด PMQA ปี 2553 ชุดเครื่องมือการพัฒนาองค์การ หมวด 1-7 คลีนิคให้คำปรึกษาทุกวันศุกร์ ที่ สำนักงาน กพร.กปส. (ชั้น 5) และการ นิเทศงาน : โดยทีมเจ้าหน้าที่ กพร. เว็บไซต์ กพร.กปส. คู่มือคำอธิบายตัวชี้วัด PMQA ปี 2553 (ระดับกรม : สีชมพู) คู่มือคำอธิบายตัวชี้วัด PMQA ปี 2553 ชุดเครื่องมือการพัฒนาองค์การ หมวด 1-7 คลีนิคให้คำปรึกษาทุกวันศุกร์ ที่ สำนักงาน กพร.กปส. (ชั้น 5) และการ นิเทศงาน : โดยทีมเจ้าหน้าที่ กพร. เว็บไซต์ กพร.กปส. E-Mail : opdc@prd.go.th http://center.prd.go.th/opdc/ Tel. 0-2618-2323#1500,1523 Fax. 0-2618-2396 E-Mail : opdc@prd.go.th http://center.prd.go.th/opdc/ Tel. 0-2618-2323#1500,1523 Fax. 0-2618-2396

21 PMQA Organization ติดตามความเคลื่อนไหวและข้อมูลเพิ่มเติม Download ข้อมูลได้ที่ Website http//: www.opdc.go.th/ www.opdc.go.th/ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ/ เอกสารและสื่อ/2553 Download ข้อมูลได้ที่ Website http//: www.opdc.go.th/ www.opdc.go.th/ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ/ เอกสารและสื่อ/2553


ดาวน์โหลด ppt PMQA Organization ตัวชี้วัด 14 การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 น้ำหนัก : ร้อยละ 20 ตัวชี้วัด 14 การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google