งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วันที่ 28 ตุลาคม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วันที่ 28 ตุลาคม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วันที่ 28 ตุลาคม 2552

2 PMQA Organization 2 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และ ความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ Source: http://www.quality.nist.gov/Business_Criteria.htm

3 PMQA Organization 3 1951 1984 1987 1988 1991 1994 1995 1999 2001 Deming Prize Canada Award Malcolm Baldrige National Quality Award Australian Business Excellence Awards European Foundation Quality Management Singapore Quality Award Japan Quality Award MBNQA : Education and Healthcare Thailand Quality Award Japan Canada USA Australia EU Singapore Japan USA Thailand Quality Performance / Organizational Excellence

4 PMQA Organization 4 หลักคิด : 11 Core Values 1 2 5 6 7 8 9 10 11 4 3

5 PMQA Organization Customer Driven Excellence มุ่งเน้นลูกค้า 5 Lead the organization Manage the organization Improve the organization Focus on Results & Creating Value เน้นผลลัพธ์ สร้างคุณค่า Systems Perspective มองเชิงระบบ Focus on Future เน้นอนาคต Social Responsibility รับผิดชอบ สังคม Visionary Leadership นำอย่างมี วิสัยทัศน์ Agility คล่องตัว Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญ พนักงาน เครือข่าย Managing For Innovation เน้นนวัตกรรม Org. & Personal Learning องค์กรเรียนรู้ Management By Fact ตัดสินด้วย ข้อเท็จจริง 1 2 5 11 6 4 3 10 8 7 9 คิดทำปรับ

6 PMQA Organization ApproachAApproachA DeploymentDDeploymentD LearningLLearningL ResultResult การประเมิน หมวด 1-6 ADLI IntegrationIIntegrationI Plan Do Check/Share/Act PDCA Alignment

7 PMQA Organization LinkageLiLinkageLi LevelLeLevelLe TrendTTrendT CompareCCompareC การประเมิน หมวด 7 LeTCLi KRAKPIKRAKPI Goal Benchmark Trend Key Measure

8 PMQA Organization 8

9 9 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

10 PMQA Organization เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ “รางวัลคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ หมวด........” 1 80 100 หมวด 1 หมวด 2หมวด 3 หมวด 4หมวด 5หมวด 6 2 3 4 5 6 7 8 9 10 หมวด 7 ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) Successful Level

11 PMQA Organization Roadmap การพัฒนาองค์การ 2552 2554 กรมด้านบริการ กรมด้านนโยบาย จังหวัด เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 2553 3 5 6 2 4 1 2 4 6 3 5 1 4 2 3 5 6 สถาบันอุดมศึกษา เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 1 5 3 6 2 4 SuccessfulLevel

12 PMQA Organization

13 13

14 PMQA Organization  มุ่งเน้นเพื่อผลักดันให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง ระดับพื้นฐานต่อไป  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่ สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัด  กำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” หากส่วนราชการใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ใน หมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว  ส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดี แม้ ในหมวดที่ส่วนราชการได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ไปแล้วก็ตาม  มุ่งเน้นเพื่อผลักดันให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง ระดับพื้นฐานต่อไป  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่ สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัด  กำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” หากส่วนราชการใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ใน หมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว  ส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดี แม้ ในหมวดที่ส่วนราชการได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ไปแล้วก็ตาม

15 PMQA Organization ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ ของส่วนราชการ ตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รายหมวด (หมวดภาคบังคับ,หมวดสมัครใจและหมวด 7) จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด ปรับปรุงองค์กรในประเด็นที่ไม่ผ่านเกณฑ์ FL ในปี 52 ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 54 ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ ของส่วนราชการ ตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รายหมวด (หมวดภาคบังคับ,หมวดสมัครใจและหมวด 7) จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด ปรับปรุงองค์กรในประเด็นที่ไม่ผ่านเกณฑ์ FL ในปี 52 ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 54 ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ ของส่วนราชการ ตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รายหมวด (หมวดภาคบังคับ,หมวดสมัครใจ และหมวด 7) จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 53 ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ ของส่วนราชการ ตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รายหมวด (หมวดภาคบังคับ,หมวดสมัครใจ และหมวด 7) จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 53 สิ่งที่ต้องส่งมอบ วันที่ 1 พ.ย. 2553 รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน แผนพัฒนาองค์การปี 54 (หมวดภาคบังคับ,หมวดสมัครใจ) สิ่งที่ต้องส่งมอบ วันที่ 1 พ.ย. 2553 รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน แผนพัฒนาองค์การปี 54 (หมวดภาคบังคับ,หมวดสมัครใจ) ปี 2552 แผนพัฒนาองค์การปี 52 (30 ม.ค.52) รายงานแสดงตัวชี้วัดผลลัพธ์ แผนพัฒนา องค์การปี 52 (30 ม.ค.52) รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน แผนพัฒนาองค์การปี 53 (หมวดภาคบังคับ,หมวดสมัครใจ) แผนพัฒนาองค์การปี 52 (30 ม.ค.52) รายงานแสดงตัวชี้วัดผลลัพธ์ แผนพัฒนา องค์การปี 52 (30 ม.ค.52) รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน แผนพัฒนาองค์การปี 53 (หมวดภาคบังคับ,หมวดสมัครใจ) ปี 2553

16 PMQA Organization ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 11.1ระดับความสำเร็จของการ ดำเนินการตามแผนการพัฒนา องค์การ หมวด11.3ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 12 11.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 44 11.3.1 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะ สำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 1 11.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วง น้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จ ของผลลัพธ์ในการดำเนินการตาม แผนพัฒนาองค์การ 11 11.3.2 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการ ประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน 1 11.1.3 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ใน หมวดที่ส่วนราชการดำเนินการไม่ผ่าน เกณฑ์ฯในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 11 11.3.3 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (2 แผน) 2 664 12 11.2ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วง น้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ความสำเร็จของผลลัพธ์ในการ ดำเนินการของส่วนราชการ ตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 4 ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก ร้อยละ 20)

17 PMQA Organization 17 3. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 3. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)

18 PMQA Organization “ ระดับพื้นฐาน ” หมายถึง กระบวนการเริ่ม ได้ผล “ ระดับพื้นฐาน ” หมายถึง กระบวนการเริ่ม ได้ผล  มีกระบวนการ/ระบบที่มีประสิทธิภาพและทำอย่างเป็นระบบเพื่อรองรับ กิจกรรมในหัวข้อที่ประเมิน (Approach)  กระบวนการ/ระบบ เป็นที่เข้าใจยอมรับ และเริ่มมีบทบาทสนับสนุน กระบวนการ/กิจกรรมในกิจกรรมด้านนี้ (Deployment)  องค์กรเริ่มมีการประเมินประสิทธิผลของกระบวนการ/ระบบของกิจกรรมด้านนี้ อาจมีการปรับปรุงให้กระบวนการ/ระบบให้ดีขึ้นบ้าง (Learning)  กระบวนการ/ระบบเกี่ยวกับกิจกรรมด้านนี้สอดรับ สนับสนุนกิจกรรมระดับ สำคัญขององค์กรที่ระบุไว้ในภารกิจ/ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ (Integration)

19 PMQA Organization 1. Continuous improvements 2. Breakthroughs 3. Standardization Continuous improvements Breakthroughs Standardization กรอบแนวคิดการพัฒนา องค์กรอย่างเป็นขั้นตอน

20 PMQA Organization  ประกอบด้วย 7 หมวด รวม 47 ประเด็น  แต่ละประเด็นเป็นการมุ่งเน้นกระบวนการและระบบงานพื้นฐานที่จำเป็น เพื่อตอบสนองประเด็นต่าง ๆ ของ พรฎ. ต่าง ๆ  ส่วนราชการต้องดำเนินการในแต่ละประเด็นให้ครบในทุกข้อและทุกหมวด

21 PMQA Organization  มีแนวทาง (มีระบบ)  มีการนำไปใช้จริง  เริ่มเกิดผล  มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง  มีการพัฒนา  มีความก้าวหน้า  เริ่มบูรณาการกับระบบงานอื่น ๆ โดยสรุป

22 PMQA Organization 1. ส่วนราชการประเมินตนเองภายใต้กรอบ Fundamental Level ระบุจุดที่ยังต้องพัฒนา(OFI) 2. จัดทำแผนพัฒนาและปรับปรุงประจำปีให้ สอดคล้อง โดยระบุตัวชี้วัดที่เป็นผลลัพธ์ให้ชัดเจน 3. ดำเนินการปรับปรุงตามแผน4. วัดผลการปรับปรุง

23 PMQA Organization ตัวอย่างการประเมินตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) LD 2ผู้บริหารส่วนราชการมีการเพิ่มอำนาจในการตัดสินใจ (Empowerment) ให้แก่ เจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ ภายในองค์การ โดยมีการมอบอำนาจให้กับผู้ดำรงตำแหน่งอื่น ในส่วนราชการเดียวกัน หรือในส่วนราชการอื่นๆ เกณฑ์ หมวด 2 คำอธิบาย การมอบอำนาจการตัดสินใจ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ส่วนราชการสามารถแก้ไขปัญหาให้กับผู้รับบริการ ตลอดจน ปรับปรุงคุณภาพและผลการดำเนินงานได้ทันเวลา และมีประสิทธิผลที่สุด เช่น การมอบอำนาจให้ผู้ปฏิบัติระดับ รองลงมาให้สามารถตัดสินใจได้อย่างทันท่วงที เพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ส่วนราชการสามารถมอบ อำนาจให้ให้กับผู้ดำรงตำแหน่งอื่นในส่วนราชการเดียวกัน หรือในส่วนราชการอื่นๆ ตาม พรบ.ระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน (แก้ไข) (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการมอบอำนาจ พ.ศ. 2550 วิธีการประเมิน A - คำสั่ง/วิธีปฏิบัติ/แนวทางในการมอบอำนาจการตัดสินใจไปสู่บุคลากร D - รายงานผลการดำเนินการการมอบอำนาจดังกล่าว พร้อมยกตัวอย่าง L - รายงานผลการติดตาม/ทบทวนเรื่องการมอบอำนาจไปสู่บุคลากร I - การมอบอำนาจไปสู่บุคลากร สอดคล้องตาม พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (แก้ไข) (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการมอบอำนาจ พ.ศ. 2550 ผ่าน / ไม่ผ่าน – จะผ่านต่อเมื่อทำครบทุก bullet

24 PMQA Organization 24 รหัสแนวทางการดำเนินการ การนำองค์การ LD1ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ครอบคลุมในเรื่องวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์หรือผลการดำเนินการที่คาดหวังขององค์การ โดยมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดทิศทางดังกล่าวสู่บุคลากร เพื่อให้เกิดการรับรู้ ความเข้าใจ และการนำไป ปฏิบัติของบุคลากร อันจะส่งผลให้การดำเนินการบรรลุผลตามเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8) LD 2ผู้บริหารส่วนราชการมีการเพิ่มอำนาจในการตัดสินใจ (Empowerment) ให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ ภายในองค์การ โดยมีการมอบอำนาจให้กับผู้ดำรงตำแหน่งอื่นในส่วนราชการเดียวกัน หรือในส่วนราชการ อื่นๆ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 27) LD 3ผู้บริหารของส่วนราชการส่งเสริมให้มีกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการบูรณาการและ สร้างความผูกพัน ร่วมมือภายในองค์การ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ ตามเป้าหมาย (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 11) LD 4ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ และกำหนดให้มีระบบการติดตามและประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ สำหรับใช้ในการทบทวนผลการปฏิบัติงานและนำผลการทบทวนดังกล่าวมาจัดลำดับ ความสำคัญ เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของส่วนราชการให้ดีขึ้น (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8) หมวด 1 การนำองค์การ (Leadership)

25 PMQA Organization 25 รหัสแนวทางการดำเนินการ ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม LD 5 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance) เพื่อเป็นเครื่องมือในการกำกับดูแลให้การดำเนินงานของส่วนราชการเป็นไปตามหลักธรร มาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8 (2)) LD 6 ส่วนราชการต้องจัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่ดีตามแนวทางของ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8 (2)) LD 7ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดให้มีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อ สังคม อันเป็นผลมาจากการดำเนินการของส่วนราชการ รวมทั้งต้องนำวิธีการหรือมาตรการที่กำหนดไว้ไป ปฏิบัติ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8(3)) หมวด 1 การนำองค์การ (Leadership)

26 PMQA Organization หมวด 1 กำหนดทิศทาง องค์กร สื่อสาร สร้าง ความเข้าใจ วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยม ผลการดำเนินการ ที่คาดหวัง Stakeholder โดยยึด หลักโปร่งใส 2 ways แต่ละกลุ่ม OP 3,8 สร้างบรรยากาศ เป็นตัวอย่างที่ดี (role model) ทบทวนผลการ ดำเนินการ ตัวชี้วัด (5) (หมวด 4.1) ประเมินความสำเร็จการบรรลุเป้าประสงค์ หมวด 2 ประเมินความสามารถ การตอบสนองการเปลี่ยนแปลง จัดลำดับ ความสำคัญ ปรับปรุงทั่วทั้ง องค์กร ผ่านกลไกการกำกับดูแลตนเองที่ดี (OP 6) การนำองค์กรการนำองค์กร LD 1 LD 2LD 3 LD 4 LD 3 ทำงานอย่างมี จริยธรรม LD 5,6 LD 6 นโยบายกำกับดูแล องค์การที่ดี สื่อสาร สร้างความเข้าใจ ติดตามผล การทำงานมีผลกระทบ ต่อสังคม เชิงรับ- แก้ไข เชิงรุก คาดการณ์ ป้องกัน LD 7 ความรับผิดชอบต่อสังคมความรับผิดชอบต่อสังคม

27 PMQA Organization ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 1 LD 1การสร้างการรับรู้ เข้าใจและการนำไปปฏิบัติของบุคลากร สิ่งที่ยากคือตัว D ส่วนราชการต้องผลักดันเรื่องนี้ จนมั่นใจว่า บุคลากรรับรู้และเข้าใจในทิศทางองค์กร ในประเด็นที่กำหนด LD 2จุดยากของ LD2 คือตัว L การติดตามผลการมอบอำนาจ แต่ถ้าส่วนราชการใช้ แบบฟอร์ม (slide ที่ 36) จะครอบคลุมการดำเนินการของตัว L ด้วย LD 3ประเด็นสำคัญของ LD 3 คือ ผู้บริหารต้องเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ LD 4การผลักดันการดำเนินการ ส่วนราชการอาจกำหนดเป็นวาระเกี่ยวกับการติดตาม ตัวชี้วัดดังกล่าว ไว้ในวาระการประชุมผู้บริหาร อย่างสม่ำเสมอ และต้องแสดงให้เห็นว่า ได้มีการจัดลำดับความสำคัญของตัวชี้วัด และนำไปปรับปรุงการดำเนินงาน LD 5จุดเน้นอยู่ที่การเลือกโครงการที่จะนำมาปฏิบัติ ส่วนราชการต้องเลือกโครงการที่ สะท้อนการผลักดัน OG อย่างชัดเจน LD 6เป็นการดำเนินการให้ครบถ้วนตามมาตรฐานของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน LD 7 การที่ส่วนราชการจะกำหนดมาตรการจัดการผลกระทบทางลบให้ได้ดีนั้น ส่วนราชการอาจนำบทเรียนในอดีตที่เคยจัดการผลกระทบทางลบมาเป็นตัวอย่าง และนำมาวิเคราะห์ว่าหากส่วนราชการใช้มาตรการที่เคยทำไว้แล้ว จะเกิดผลดี หรือไม่ สามารถดูตัวอย่างได้จากชุดToolkit หมวด 1 หน้า 53 – 54

28 PMQA Organization 28 รหัสแนวทางการดำเนินการ การวางยุทธศาสตร์ SP1 ส่วนราชการต้องมีการกำหนดขั้นตอน/กิจกรรม และกรอบเวลาที่เหมาะสม รวมถึง มีการระบุผู้รับผิดชอบ อย่างชัดเจน ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยมุ่งเน้นที่จะผลักดัน ให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ บรรลุเป้าหมายตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและกลุ่มภารกิจ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 9,16) SP2 ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ (4 ปี และ 1 ปี) ต้องมีการนำปัจจัยทั้งภายในและ ภายนอกที่สำคัญและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป มาใช้ประกอบการวิเคราะห์ อย่าง น้อยประกอบด้วย วิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ รวมถึง กฎหมาย ระเบียบ และโครงสร้างส่วน ราชการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8(3)) SP3ส่วนราชการต้องมีการวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ของส่วนราชการ รวมทั้ง ต้องมีการวางแผนเตรียมการจัดสรร ทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อรองรับการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 16) หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Planning)

29 PMQA Organization 29 รหัสแนวทางการดำเนินการ การสื่อสารและถ่ายทอดยุทธศาสตร์เพื่อนำไปปฏิบัติ SP4 ผู้บริหารต้องมีการสื่อสารและทำความเข้าใจในเรื่องยุทธศาสตร์และการนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ไปยัง บุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บุคลากรได้รับรู้เข้าใจและนำไปปฏิบัติ รวมทั้ง เพื่อให้มีการถ่ายทอดแผนไปสู่ การปฏิบัติดังกล่าวบรรลุผล (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 16) SP5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/ กอง) ทุกหน่วยงาน (ทั้งที่มีโครงสร้างรองรับตามกฎหมายและสำนัก/กองที่จัดตั้ง เพื่อรองรับการบริหาร จัดการภายในส่วนราชการเอง) และระดับบุคคล (อย่างน้อย 1 หน่วยงาน) อย่างเป็นระบบ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 12) SP6 ส่วนราชการต้องจัดทำรายละเอียดโครงการเพื่อใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานให้สามารถบรรลุ เป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการได้สำเร็จ ซึ่งประกอบด้วย ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ การจัดสรรทรัพยากร ให้แก่แผนงานโครงการ/กิจกรรม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 20) SP7ส่วนราชการต้องมีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO เพื่อเตรียมการ รองรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการดำเนินแผนงาน/โครงการที่สำคัญซึ่งต้องครอบคลุมความ เสี่ยงด้านธรรมาภิบาล หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Planning)

30 PMQA Organization ทิศทางองค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม วางแผน ยุทธศาสตร์ ปัจจัย (9 ตัว) ภายนอก ภายใน ประเด็นยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์/กลยุทธ์หลัก ถ่ายทอดแผน ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) สื่อสาร สร้างความเข้าใจ แผนปฏิบัติการ การบริหารความ เสี่ยง ตัวชี้วัด ใช้ติดตาม เป้าหมาย การคาดการณ์ - ผลปีที่ผ่านมา การคาดการณ์ - ผลปีที่ผ่านมา จัดสรร ทรัพยากร นำไปปฏิบัติ แผนหลักด้าน ทรัพยากรบุคคล โอกาส/ความท้าทาย (OP) ระยะสั้น ยาว Stakeholder (OP) การวางแผน ยุทธศาสตร์ ผู้รับบริการ/IT/คู่เทียบ/ บุคลากร/จุดแข็ง จุดอ่อน/ การปรับเปลี่ยนทรัพยากร SP 1 SP 2 SP 1 SP 6 SP 7 SP 3 SP 5 SP 6 SP 4 SP 3 หมวด 2 การสื่อสารและ ถ่ายทอด ยุทธศาสตร์ -ความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ -ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล - ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ - ความเสี่ยงด้านกระบวนการ

31 PMQA Organization ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 2 SP 1ส่วนราชการต้องให้แสดงให้เห็นถึงความสอดคล้อง เชื่อมโยง ว่ากลยุทธ์ที่กำหนดมี ความสอดคล้องกับแผน 4 ปี และแผน 1 ปี อย่างไร SP 1 จุดยากอยู่ที่ ส่วนราชการ ต้องแสดงให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการจัดทำแผน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้บริหาร (ตัวอย่างขั้นตอน Slide ที่ 41) SP 2มุ่งเน้นให้ส่วนราชการทำแผนให้มีคุณภาพ โดยต้องนำปัจจัยภายในและภายนอกที่ กำหนด มาประกอบการทำแผนให้ครบถ้วน (ดูตัวอย่าง Slide ที่ 42) SP 3จุดเน้นอยู่ที่ การวางแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับแผน 4 ปี และ 1 ปี SP 4ส่วนราชการต้องมั่นใจว่าบุคลากรสามารถนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติได้ และมุ่งเน้นที่ ผู้บริหารต้องสื่อสารทำความเข้าใจ SP 5จุดยากอยู่ที่ ระยะเวลาเตรียมการ ต้องเริ่มดำเนินการเพื่อให้มีการประเมินผลการ ปฏิบัติงานทันรอบ 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ SP 6จุดเน้นของ SP 6 ต้องการให้เห็นว่าส่วนราชการมีการติดตามโครงการอย่างไร ใช้ระบบ IT หรือใช้แบบฟอร์มรายงานก็ได้ SP 7การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง และ การดำเนินการ โปรดดูรายละเอียด ภาคผนวก จ-2 เล่มคู่มือ มีตัวอย่างอย่างละเอียด

32 PMQA Organization ตัวอย่างขั้นตอนของ SP1

33 PMQA Organization ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยต่าง ๆ ของ SP2

34 PMQA Organization 34 รหัสแนวทางการดำเนินการ ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS1 ส่วนราชการมีการกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามพันธกิจ เพื่อให้ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ครอบคลุมทุกกลุ่ม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8) CS2 ส่วนราชการมีช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อนำมาใช้ ในการปรับปรุงและเสนอรูปแบบการบริการต่าง ๆ โดยแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของช่องทางการสื่อสาร ดังกล่าว (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 38,40) การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS3 ส่วนราชการมีระบบที่ชัดเจนในการรวบรวมและจัดการข้อร้องเรียน /ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น/ คำชมเชย โดยมีการกำหนดผู้รับผิดชอบ วิเคราะห์เพื่อกำหนดวิธีการและปรับปรุงคุณภาพการให้บริการเพื่อตอบสนอง ต่อความต้องการของผู้รับรับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเหมาะสมและทันท่วงที (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8,39,41) CS4 ส่วนราชการมีการสร้างเครือข่ายและจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8,39,41) CS5ส่วนราชการมีการดำเนินการในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการผ่าน กระบวนการหรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นการส่งเสริมระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 30,31,38-41) หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Customer and Stakeholder Focus)

35 PMQA Organization 35 รหัสแนวทางการดำเนินการ การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS6 ส่วนราชการมีการวัดทั้งความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกลุ่ม ตามที่ได้กำหนดไว้ เพื่อนำผลไปปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 30,31,38-41) CS7ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐานการให้บริการ ซึ่งจะต้องมีระยะเวลาแล้วเสร็จของงานบริการในแต่ละงาน โดยมีการจัดทำแผนภูมิหรือคู่มือการติดต่อราชการโดยประกาศให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบ และจัดทำคู่มือการทำงานของบุคลกรในการให้บริการ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจในการรับบริการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 38,41-42) หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Customer and Stakeholder Focus)

36 PMQA Organization หมวด 3 แบ่งกลุ่ม ผู้รับบริการ ผู้รับบริการที่พึงมี ในอนาคต หาเครื่องมือที่เหมาะสม แต่ละกลุ่ม รับฟังความต้องการ/ ความคาดหวัง หาความต้องการร่วมของแต่ละกลุ่ม (Common Need) ออกแบบกระบวนการสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดี สื่อสาร สร้างความเข้าใจ / กำหนดวิธีปฏิบัติ วัดความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจ ปรับปรุงกระบวนการ (หมวด 6) - ขอข้อมูล - ขอรับบริการ - ร้องเรียน - กิจกรรม วางแผนปฏิบัติงาน (หมวด 2) ปรับปรุงกระบวนการ (หมวด 6) พัฒนาบริการ (หมวด 6) ติดตามคุณภาพบริการ กระบวนการจัดการ ข้อร้องเรียน ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ สอดคล้องตาม OP (8) CS1 CS2 CS3 CS6 CS7 CS 2 CS5 CS3 การสร้าง ความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ CS4

37 PMQA Organization ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 3 CS 1สิ่งสำคัญของ CS 1 คือ I ซึ่งตัวที่สะท้อนให้เห็นความเชื่อมโยงได้ดี คือ การจัดทำ customer profile เป็นการให้ส่วนราชการแจกแจง โดยทำตารางสรุปว่า กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคือใคร และมีแนวทางการให้บริการอย่างไร ความคาดหวังของผู้รับบริการคืออะไร CS 2จุดเน้นของ CS 2 คือ การมีช่องทางที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งส่วนราชการต้องแสดงให้เห็นว่า ช่องทางที่มีอยู่เดิม หรือ ช่องทางที่สร้างขึ้นมาใหม่ มีประสิทธิภาพอย่างไร CS 3 ส่วนราชการต้องมีระบบจัดการข้อร้องเรียน ที่สามารถตอบสนองอย่างทันท่วงที แสดงการปรับปรุงงานที่สัมพันธ์กับกระบวนการในหมวด 6 อย่างชัดเจน การกำหนดระบบการติดตาม ส่วนราชการต้องแสดงให้เห็นว่า มีระบบการติดตาม คุณภาพการให้บริการในภาพรวมอย่างไร ความถี่ในการติดตาม องค์ประกอบที่ใช้ ในการติดตาม ผู้รับผิดชอบ และแสดงให้เห็นถึงการนำมาวิเคราะห์และปรับปรุงการ ให้บริการ CS 4ส่วนราชการอาจจัดทำทะเบียนกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และจัดให้มี ช่องทางในการติดต่อกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น e-mail, จดหมายข่าว เป็นต้น CS 5จุดยากอยู่ที่ I การแสดง next step ที่เป็นการยกระดับการมีส่วนร่วมในระดับที่สูงขึ้น หรือ เข้มข้นขึ้นในปีต่อไป CS 6การสำรวจต้องครอบคลุมทุกกลุ่มที่กำหนดไว้ใน CS 1 และ นำผลมาปรับปรุงการบริการ CS 7นอกจากการกำหนดระยะเวลาการให้บริการแล้ว ส่วนราชการควรกำหนดวิธีปฏิบัติของ บุคลากรในการให้บริการอย่างชัดเจน เพื่อให้มั่นใจว่าจะบุคลากรจะมีมาตรฐานให้บริการ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ อย่างน้อยควรมี การจัดทำคู่มือการให้บริการ 1 งานบริการที่สำคัญ

38 PMQA Organization 38 รหัสแนวทางการดำเนินการ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ IT1ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ รวมทั้งผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ที่ครอบคลุม ถูกต้อง และ ทันสมัย (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 9 (3)) IT2ส่วนราชการต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ไม่น้อยกว่า 4 กระบวนการ IT3ส่วนราชการต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน อย่างน้อย 2 กระบวนการ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ (Information and Technology)

39 PMQA Organization 39 รหัสแนวทางการดำเนินการ การจัดการ สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และความรู้ IT4ส่วนราชการต้องมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่าง เหมาะสม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 39)) IT5ส่วนราชการต้องมีระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย (Warning System) เช่น การกำหนดระบบ การเตือนภัยแบบสัญญาณไฟจราจร การจัดตั้งห้องปฏิบัติการ (Operation Room, Management Cockpit, War Room) ที่บ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น IT6ส่วนราชการต้องมีระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ IT7ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ (Information and Technology)

40 PMQA Organization ระบบการวัด เลือกข้อมูลสารสนเทศ - leading/lagging indicator ข้อมูลเปรียบเทียบ ติดตามผลการปฏิบัติงาน (หมวด 6) Daily Management ผลการดำเนินการโดยรวม (หมวด 2/7) นวัตกรรม (หมวด 2/6) รวบรวม วิเคราะห์ผล สื่อสารผล การวิเคราะห์ ทบทวนผลการดำเนินการ (หมวด 1) วางแผนยุทธศาสตร์ (หมวด 2) วางระบบการจัดการ - ข้อมูลสารสนเทศ - อุปกรณ์สารสนเทศ - ความพร้อมใช้งาน - การเข้าถึง - เชื่อถือได้ - ปลอดภัย - ใช้งานง่าย การจัดการความรู้ ข้อมูลสารสนเทศครอบคลุมถูกต้องทันสมัยข้อมูลสารสนเทศครอบคลุมถูกต้องทันสมัย ความรู้ รวบรวม จัดให้เป็นระบบ ถ่ายทอด/Sharing บุคลากร ผู้รับบริการ/องค์กรอื่น Best Practices การวัด การวิเคราะห์ สอดคล้องตาม OP (15) สอดคล้องตาม OP (4) IT 1 IT 1 - 3 IT 4 IT 5,6 IT 7 หมวด 4 การจัดการ สารสนเทศ IT และความรู้

41 PMQA Organization ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 4 IT 1ระบบการจัดเก็บข้อมูลต้องระบุแหล่งข้อมูลของตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบใน การจัดเก็บข้อมูล ความถี่ในการ update ข้อมูล IT 2นอกจากจัดเก็บฐานข้อมูลกระบวนการที่สร้างคุณค่าใหม่แล้ว ต้องมีการทบทวน ฐานข้อมูลของกระบวนการเดิมด้วย IT 3IT 3 ใช้วิธีการเช่นเดียวกับ IT 2 แต่เป็นกระบวนการสนับสนุน โดยมุ่งเน้นให้ ส่วนราชการจัดทำฐานข้อมูลตามหลักเกณฑ์ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย IT 4วัตถุประสงค์ของ IT 4 เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารของส่วนราชการผ่านระบบเครือข่าย IT (ซึ่งจะส่งผลต่อ RM 4.1) IT 5วัตถุประสงค์ของ IT 5 เพื่อต้องการให้ส่วนราชการมีระบบ warning ของระบบข้อมูล สารสนเทศ เพื่อให้ทราบผลการดำเนินการ และปรับเปลี่ยนได้อย่างทันท่วงที IT 6แสดงระบบ security ให้เห็น เช่น Anti-virus ไฟฟ้าสำรอง firewall และแสดง แผน IT Contingency Plan โดยพิจารณาคุณภาพของแผน (รายละเอียดกิจกรรม / เป้าหมายกิจกรรม / ตัวชี้วัด /ผู้รับผิดชอบ / งบประมาณ / ระยะเวลาดำเนินการ) IT 7การจัดการความรู้ โปรดดูรายละเอียดภาคผนวก จ-1เล่มคู่มือ มีตัวอย่างอย่างละเอียด

42 PMQA Organization หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (Human Resource) รหัสแนวทางการดำเนินการ การสร้างบรรยากาศการทำงาน ความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร เพื่อก่อให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ HR 1 ส่วนราชการต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากร รวมทั้งต้องมี การวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ HR 2 ส่วนราชการมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเป็นธรรม รวมทั้ง มีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น การพัฒนาบุคลากรและภาวะผู้นำ HR 3 ส่วนราชการต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไป ปฏิบัติ เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิง ยุทธศาสตร์ HR 4 ส่วนราชการต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและ ความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร HR 5ส่วนราชการมีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจใน การปฏิบัติงานให้กับบุคลากร

43 PMQA Organization หมวด 5 สภาพแวดล้อมการทำงาน ความพึงพอใจ สถานที่ อุปกรณ์ การทำงาน - ตัวชี้วัด/เป้าหมาย - การมีส่วนร่วม เตรียมพร้อมภาวะ ฉุกเฉิน หาปัจจัยหาปัจจัย กำหนดตัวชี้วัด/ วิธีการประเมิน สร้างแรงจูงใจ/จัดระบบ สวัสดิการ ประเมินผลประเมินผล จัดลำดับ ความสำคัญ ปรับปรุงปรับปรุง สอดคล้องกับผลลัพธ์องค์กร HR 1 ระบบประเมินผล ระบบยกย่อง/จูงใจ กำหนดคุณลักษณะและ ทักษะที่จำเป็น สร้างความก้าวหน้าในการทำงานให้ชัดเจน พัฒนาบุคลากร ทางการ/ไม่ทางการ ทำงานตามแผนปฏิบัติงาน (หมวด 2) สมดุลทั้งความต้องการองค์กรและความ ต้องการบุคลากร (หมวด 5.1) ความจำเป็น (Training Need) ความจำเป็น (Training Need) ความต้องการใน การฝึกอบรม ความต้องการใน การฝึกอบรม ความจำเป็น (Training Need) ความจำเป็น (Training Need) ความต้องการใน การฝึกอบรม ความต้องการใน การฝึกอบรม ความรู้ในองค์กร (หมวด 4.2) ความรู้ในองค์กร (หมวด 4.2) บุคลากร หน.งาน/ ผู้บังคับบัญชา องค์กร ส่งเสริมนำไปปฏิบัติ HR 2 HR 5 HR 3 ประเมินผลประสิทธิผลการฝึกอบรม - ผลการปฏิบัติงานของบุคคล - ผลการดำเนินงานขององค์กร ประเมินผลประสิทธิผลการฝึกอบรม - ผลการปฏิบัติงานของบุคคล - ผลการดำเนินงานขององค์กร HR 4 ความผาสุกความผาสุก การพัฒนาบุคลากร และภาวะผู้นำ

44 PMQA Organization ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 5 HR 1มีจุดเน้น 3 เรื่อง คือ มีกระบวนการ กำหนดปัจจัย มีการวิเคราะห์ปัจจัย และมีการปรับปรุง ปัจจัย ซึ่งปัจจัยที่กำหนดต้องครอบคลุมทั้งปัจจัยที่สร้าง แรงจูงใจและปัจจัยที่สร้าง บรรยากาศในการทำงาน HR 2ให้ส่วนราชการใช้แนวทางการประเมินผลตามแนวทางของ ก.พ. ที่ใช้ในการเลื่อนขั้น เงินเดือนประจำปี แต่จุดมุ่งเน้นอยู่ที่การแจ้งผลการปฏิบัติงานให้บุคลากรทราบ และให้ ส่วนราชการเก็บหลักฐานที่สะท้อนให้เห็นว่ามีการแจ้งผล ซึ่งในแบบการแจ้งผลกลับต้องมี ส่วนของข้อแนะนำให้บุคลากรปรับปรุงการปฏิบัติงานด้วย HR 3  HR 3 เป็นการนำแผนที่กำหนดไว้ตาม SP 2 มาสู่การปฏิบัติ ดังนั้น ส่วนราชการ ต้อง มีแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล มีแผนปฏิบัติการประจำปี และ มีแผนพัฒนาบุคลากร (มุ่งเน้นการพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร)  ส่วนราชการต้องมีการสำรวจความพึงพอใจของบุคลากรต่อภาพรวมการพัฒนา บุคลากรขององค์กร ไม่ใช่เพียงแค่สำรวจความพึงพอใจที่ใช้วัดในการอบรมแต่ละครั้ง HR 4ที่มาของ HR 4 เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าในการใช้งบประมาณสำหรับการพัฒนาบุคลากร ดังนั้นจึงต้องการส่งเสริมให้ส่วนราชการจัดทำระบบคุณภาพภายในของการฝึกอบรมขึ้น เพื่อให้มันใจว่าการฝึกอบรมจะเป็นไปตามมาตรฐานที่ส่วนราชการกำหนด HR 5แผนการสร้างความก้าวหน้าจะเป็นคุณลักษณะเฉพาะของแต่ละส่วนราชการที่กำหนด เพิ่มเติมจากมาตรฐานที่ ก.พ. กำหนด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากรเห็นภาพ ความก้าวหน้าของตนเองได้อย่างชัดเจน ซึ่งจะทำให้มีผลต่อการพัฒนาตนเอง

45 PMQA Organization ตัวอย่าง HR 4 หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพของการฝึกอบรม บทนำ เหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีการกำหนดหลักเกณฑ์ และคำนิยามหรือขอบเขตของหลักสูตรการฝึกอบรมที่ต้อง ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วัตถุประสงค์ กำหนดวัตถุประสงค์ของการจัดทำหลักเกณฑ์ หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพ ให้กำหนดหลักเกณฑ์กลางที่จะใช้ร่วมกันในหน่วยงาน รวมถึงวิธีการประเมินประสิทธิผลการอบรม เช่น  เนื้อหาหลักสูตร เนื้อหาหลักสูตรต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และสามารถบรรลุ เป้าหมายที่กำหนด  ความเหมาะสมผู้เข้ารับการอบรม การจัดอบรมในรูปแบบการอภิปราย ต้องมีผู้เข้าอบรมไม่เกิน 20 คน ผู้เข้ารับการอบรมต้องมีความรู้พื้นฐานหรือปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ หลักสูตรนั้น ๆ  คุณสมบัติของวิทยากร วิทยากรต้องเป็นผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ตรงกับหลักสูตรที่ อบรม และต้องมีประสบการณ์ในด้านนั้น ๆ อย่างน้อย 5 ปี  เทคนิคการฝึกอบรม ในการอบรมแต่ละหลักสูตรต้องมีสัดส่วนของการบรรยาย และ Workshop เป็น 60:40  สถานที่ใช้อบรม การจัดสถานที่อบรมต้องให้เหมาะสมกับหัวข้อการอบรมหรือกิจกรรมที่ใช้  การวัดและประเมินผลการฝึกอบรม ในการอบรมแต่ละหลักสูตรต้องมีการวัดผลความรู้ความเข้าใจของผู้เข้ารับ การอบรมก่อนเริ่มการอบรมทุกครั้ง (Pretest)

46 PMQA Organization ตัวอย่าง HR 5

47 PMQA Organization หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (Process Management) รหัสแนวทางการดำเนินการ การออกแบบกระบวนการ PM 1 ส่วนราชการต้องกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากยุทธศาสตร์ พันธกิจ และความต้องการของ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของส่วนราชการ PM 2 ส่วนราชการต้องจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากความต้องการของ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย และข้อกำหนดที่สำคัญที่ช่วยวัดผลการ ดำเนินงาน และ/หรือปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า PM 3 ส่วนราชการต้องออกแบบกระบวนการจากข้อกำหนดที่สำคัญใน PM 2 และนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่ สำคัญ มาประกอบการออกแบบกระบวนการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปรับปรุง กระบวนการอย่างต่อเนื่อง PM 4 ส่วนราชการต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดการ กระบวนการ เพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง การจัดการและปรับปรุงกระบวนการ PM 5 ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน ของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการ สนับสนุน โดยมีวิธีการในการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานดังกล่าวให้บุคลากรนำไปปฏิบัติ เพื่อให้ บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ PM 6 ส่วนราชการต้องมีการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน เพื่อให้ผลการ ดำเนินการดีขึ้นและป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และความสูญเสียจากผลการ ดำเนินการ

48 PMQA Organization หมวด 6 กำหนดกระบวนการ ข้อกำหนดที่สำคัญ ความต้องการผู้รับบริการ (หมวด 3) กฎหมาย กฎ ระเบียบ (OP) ออกแบบ กระบวนการ องค์ความรู้/IT เป้าหมายภารกิจ ระยะเวลา/ค่าใช้จ่าย/ ผลิตภาพ ความต้องการผู้รับบริการ การจัดการกระบวนการ สู่การปฏิบัติ กำหนดตัวชี้วัดควบคุม กระบวนการ ลดค่าใช้จ่ายใน การตรวจสอบ ป้องกัน ความผิดพลาด ปรับปรุงกระบวนการ สอดคล้องตาม OP แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นวัตกรรม การจัดการ กระบวนการ PM 1 PM 2 PM 3 PM6 PM 4 PM 5 การออกแบบ กระบวนการ

49 PMQA Organization ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 6 PM 1 ส่วนราชการควรกำหนดหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนว่า กระบวนการที่ส่งผลต่อการ ดำเนินการตามพันธกิจ ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ หรือไม่ ซึ่งอย่างน้อยหลักเกณฑ์ในการกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า ต้อง ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ พันธกิจ ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย PM 2 การดำเนินการตาม PM 2 ต้องให้ เจ้าของกระบวนการเข้ามามีส่วนร่วมใน การทำข้อกำหนดที่สำคัญ และตัวชี้วัดกระบวนการ รวมถึงการออกแบบ กระบวนการ จึงจะทำให้การดำเนินการประสบความสำเร็จ PM 3กระบวนการที่สร้างคุณค่าทุกกระบวนการ ต้องออกแบบกระบวนการ โดยนำปัจจัยที่กำหนด ไว้มาใช้ในการออกแบบ (การออกแบบอาจหมายถึงการกำหนดขั้นตอนของกระบวนงานที่ ชัดเจน ) และเมื่อออกแบบแล้วต้องสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ และสร้างระบบการควบคุมกระบวนการด้วย PM 4ส่วนราชการส่วนใหญ่มักมีแผนสำรองฉุกเฉิน แต่ขาดเรื่องการสื่อสารให้คนในองค์กร รับทราบ นอกจากนี้ต้องมีการนำแผนสำรองฉุกเฉินมาทบทวน ให้เหมาะสมทันสมัยเสมอ PM 5คู่มือการปฏิบัติงานต้องประกอบด้วย Workflow และมาตรฐานงาน หรือมาตรฐานคุณภาพ งาน (ข้อกำหนดในเชิงคุณภาพ) PM 6เป็นการแสดงตัวอย่างการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าอย่างน้อย 1 กระบวนการ และ กระบวนการสนับสนุน อย่างน้อย 1 กระบวนการ ที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าสามารถทำ ให้ผลการดำเนินการดีขึ้นและป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และความสูญเสีย จากผลการดำเนินการ (แต่ใน RM 6 ต้องปรับปรุง 3 กระบวนการ)

50 PMQA Organization หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) รหัสแนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 12345 มิติด้านประสิทธิผล RM 1ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของ มาตรการ/โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (อย่างน้อยด้านละ 1 มาตรการ/โครงการ) 60708090100 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ RM 2ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของเป้าหมายของโครงการ ตามแผนบริหารความเสี่ยง 60708090100 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ RM 3ร้อยละความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของการ ดำเนินการ/โครงการที่ เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการ 60708090100 RM 4.1ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการเปิดเผยข้อมูล ข่าวสาร ตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 6570758085 RM 4.2 ระดับความสำเร็จของการบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ (statXchange) ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 RM 4.3ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการ ดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ 80859095100

51 PMQA Organization รหัสแนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 12345 มิติด้านการพัฒนาองค์กร RM 5ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตาม แผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร หรือแผนพัฒนา บุคลากร 6065707580 RM 6จำนวนกระบวนการที่ได้รับการปรับปรุงให้ผลดำเนินการ ดีขึ้น 1 กระบวน การ -2 กระบวน การ -3 กระบวน การ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)

52 PMQA Organization 52 4. กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 4. กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

53 PMQA Organization 53 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด การส่งมอบงาน

54 PMQA Organization 54

55 PMQA Organization 55 แนวทางการดำเนินงาน 25522553 ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. 1. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนา องค์การของปีงบประมาณ พ. ศ. 2553 2. ทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร 3. ประเมินองค์กรเพื่อจัดทำแผนพัฒนา องค์การปีงบประมาณ พ. ศ 2554 4. การรายงานผลการดำเนินการตาม ตัวชี้วัดรอบ 6 เดือน และ 12 เดือน 5. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมิน ภายนอก

56 PMQA Organization ชุดเครื่องมือการพัฒนาองค์การ หมวด 1-7 คลีนิคให้คำปรึกษาทุกบ่ายวันศุกร์ ที่ สำนักงาน ก.พ.ร. โดยทีมเจ้าหน้าที่ สำนักงาน ก.พ.ร. ที่รับผิดชอบโครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ PMQA e-Learning เว็บไซต์ www.opdc.go.th ชุดเครื่องมือการพัฒนาองค์การ หมวด 1-7 คลีนิคให้คำปรึกษาทุกบ่ายวันศุกร์ ที่ สำนักงาน ก.พ.ร. โดยทีมเจ้าหน้าที่ สำนักงาน ก.พ.ร. ที่รับผิดชอบโครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ PMQA e-Learning เว็บไซต์ www.opdc.go.th

57 PMQA Organization ติดตามความเคลื่อนไหวและข้อมูลเพิ่มเติม Download ข้อมูลได้ที่ Website http//: www.opdc.go.th/ www.opdc.go.th/ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ/ เอกสารและสื่อ/2553 Download ข้อมูลได้ที่ Website http//: www.opdc.go.th/ www.opdc.go.th/ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ/ เอกสารและสื่อ/2553


ดาวน์โหลด ppt PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วันที่ 28 ตุลาคม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google