ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยบุษราคัม สมิท ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง ผู้วิจัย : อ. วัชราภรณ์ วงศ์สุนทร วิทยาลัยเทคโนโลยี พัทยา
2
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่อง การ ทำงานของหม้อแปลงไฟฟ้า ของ นักเรียนชั้น ปวช.1 สาขาวิชาไฟฟ้า กำลัง โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ และแบบทดลอง
3
ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร คือ นักเรียน ชั้น ปวช. 1 สาขาวิชา 1.1 ประชากร คือ นักเรียน ชั้น ปวช. 1 สาขาวิชา ไฟฟ้ากำลัง ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2557 1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน ชั้น ปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 12 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน ชั้น ปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 12 คน
4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลคะแนนการสอนแบบร่วมมือ นักเรียนที่เรียนด้วยการสอนแบบร่วมมือ มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางเรียนก่อน เรียน = 3.50 และหลังเรียน = 7.50 มี คะแนนเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 4 คะแนน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ.05 = เมื่อ t > t วิกฤต (18.76>1.79) แสดงให้เห็นว่านักเรียนที่ เรียนโดยวิธีการสอนแบบร่วมมือ มีการ พัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ เพิ่มขึ้นเป็นที่น่าพอใจ
5
ผลคะแนนการสอนแบบทดลอง นักเรียนที่เรียนด้วยการสอนแบบทดลอง มี คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางเรียนก่อนเรียน = 3.50 และหลังเรียน = 7.75 มีคะแนน เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 4.25 คะแนน แตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 = เมื่อ t > t วิกฤต (11.43>1.79) แสดง ให้เห็นว่านักเรียนที่เรียนโดยวิธีการสอน แบบทดลอง มีการพัฒนาความก้าวหน้า ทางการเรียนรู้เพิ่มขึ้นเป็นที่น่าพอใจ
6
ตารางการวิเคราะห์ความแตกต่าง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างผลทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียน วิธีการ สอน NDf คะแนน เต็ม ก่อนเรียนหลังเรียน t XX S.D XX แบบ ร่วมมือ 1211103.5017.500.4518.76 แบบ ทดลอง 1211103.501.3 6 7.750.211.43
7
สรุปผลการวิจัย หลังจากการวิเคราะห์ข้อมูล ผลที่ได้ ปรากฏดังต่อไปนี้ - คะแนนของนักเรียนจากการสอนแบบ ร่วมมือ นักเรียนสามารถ - คะแนนของนักเรียนจากการสอนแบบ ร่วมมือ นักเรียนสามารถ ทำคะแนนได้โดยเฉลี่ย ก่อนเรียน = 3.50 และหลังเรียน = 7.50 - คะแนนของนักเรียนจากการสอนแบบ ทดลอง นักเรียนสามารถ - คะแนนของนักเรียนจากการสอนแบบ ทดลอง นักเรียนสามารถ ทำคะแนนได้โดยเฉลี่ย ก่อนเรียน = 3.50 และหลังเรียน = 7.75 ซึ่งมีค่ามากกว่าการสอนแบบร่วมมือ - ค่าสถิติทดสอบ t ของการสอนแบบ ร่วมมือ ได้เท่ากับ 18.76 - ค่าสถิติทดสอบ t ของการสอนแบบ ร่วมมือ ได้เท่ากับ 18.76 มีนัยสำคัญทางสถิติ.05 และค่าสถิติ ทดสอบ t ของการสอน แบบร่วมมือ ได้เท่ากับ 11.43 มีนัยสำคัญ ทางสถิติ.05
8
อภิปรายผลการวิจัย การศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้แบบฝึกหัด และแบบทดสอบเรื่อง การทำงาน ของหม้อแปลงไฟฟ้า ผลคะแนนที่ได้ ก่อนเรียนและหลังเรียน มีค่าคะแนนที่ แตกต่างกันคือ ค่าเฉลี่ยคะแนนของ การสอนแบบร่วมมือ มีค่าน้อยกว่าการ สอนแบบทดลอง มีค่าความแตกต่าง ของคะแนนก่อนและหลังเรียน แสดง ว่าวิธีการสอนแบบทดลอง ทำให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นใน ระดับนัยสำคัญทางสถิติ.05
9
ข้อเสนอแนะ 1. ครูควรอธิบายความหมาย ให้ความ สนใจ คอยให้กำลังใจ คำแนะนำ และ ตอบคำถามในกรณีที่นักเรียนมีปัญหา ขัดข้องในการทำแบบฝึกหัดและใบงาน 2. ครูควรให้นักเรียนเขียนสัญลักษณ์และ พารามิเตอร์ต่าง ๆ ให้ถูกต้อง เพื่อให้ได้ การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นขั้นตอน สามารถ สรุปและอภิปรายผลการทดลองได้ 3. ครูควรสังเกตการปฎิบัติงานของ นักเรียนและวิธีการใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ ของนักเรียนอย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน เพื่อให้ได้ผลการทดลอง ที่ถูกต้อง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.