ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยอนันต์ พิศาลบุตร ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีการศึกษา
2
แนวคิดแบบดั้งเดิม -เน้นทักษะการจดจำ ท่องจำอย่างเดียว เท่านั้น แนวคิดยุคปฏิรูป -ให้คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น และสามารถ ศึกษาด้วยตนเองได้
3
1.วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช้สื่อการสอนของครูสมศรีตลอดจน วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล้องกับยุค ปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ วิธีจัดการเรียนการสอนและการใช้สื่อการสอนของครูสมศรีเป็น แนวคิดดั้งเดิมเกี่ยวกับการเรียนการสอน วิธีการเรียนรู้ของนักเรียนของครูสมศรีไม่สอดคล้องกับยุคปฏิรูป การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กล่าวคือ การเรียนรู้ของเด็ก นักเรียนของครูสมศรีจะเป็นการเรียนรู้แบบท่องจำมากกว่าทำ ความเข้าใจในเนื้อหาของบทที่เรียน
4
2.วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา มาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการเปลี่ยนแปลง ทางด้านใดบ้าง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน การเปลี่ยนแปลงทาง การศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป การเรียนรู้มีการ เปลี่ยนแปลง 5 ด้าน ดังนี้ ด้านสื่อการสอน ด้านวิธีการจัดการ เรียนการสอน ด้านหลักสูตร ด้านการวัดและ ประเมินผล ด้านบริหารจัดการ
5
เหตุผล ที่ต้อง เปลี่ยนแปลง การศึกษา มาสู่ยุค ปฏิรูปการ เรียนรู้ ได้แก่ 1.คุณภาพทางการศึกษาพื้นฐานขั้นต่ำ 2. ปัญหาของการปฏิรูปโครงสร้าง 3. ปัญหาของครู 4. ปัญหาการขาดแคลนบัณฑิตก็ยังตกงาน 6. การขาดวิจัยและพัฒนา ขาดนวัตกรรม และ ปัญหาความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม 5.คุณภาพอุดมศึกษา/ปริญญาเฟ้อ 7. การปฏิรูปการเงินเพื่อการอุดมศึกษา 8.การขาดแคลนเทคโนโลยีสารสนเทศทาง การศึกษา
6
3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครู สมศรี ให้เหมาะสมกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูสมศรีควรคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อจัดการให้ผู้เรียนได้ เกิดการเรียนรู้ที่รวดเร็ว หากมัวบรรยายหรืออธิบายกับสิ่งที่ครู เตรียมมา ไม่พอที่จะทำให้นักศึกษามีสมรรถนะตามมาตรฐาน การเปลี่ยนแปลงกระบวกทัศน์ การสอนมาสู่การเรียนรู้ ดังนั้น เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่นำมาเพิ่มประสิทธิภาพก็ต้องสอดรับ กับแนวคิดดังกล่าว คือ มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ของผู้เรียนเทคโนโลยี และนวัตกรรม หรือสื่อมาใช้ที่สอดคล้อง กับการปฏิรูปการเรียนรู้เป็นเช่นการใช้เว็บร่วมกับการเรียนแบบ ร่วมมือเพื่อเปิดโอกาสให้ลงมือกระทำอย่างตื่นตัวในกระบวนการ เรียนรู้ของตัวเองและเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.