ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร เรื่อง ความปลอดภัยในงานเชื่อม จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สนับสนุนโดย สำนักงานประกันสังคม
2
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
วัตถุประสงค์ 1. ระบุการแต่งกายที่เหมาะสมได้ 2. ระบุอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลได้ 3. ระบุวิธีทำงานเชื่อมที่ปลอดภัยได้ ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
3
การทดสอบความรู้ก่อนเรียน
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
4
เครื่องเชื่อมแก๊ส เชื่อมไฟฟ้า ในงานต่าง ๆ
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
5
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
6
อันตรายจากงานเชื่อมโลหะ
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร 6
7
อันตรายจากงานเชื่อมโลหะ (ต่อ)
ก. อันตรายด้านความปลอดภัย 1. ลูกไฟจากการเชื่อม 2. อันตรายจากไฟฟ้า 3. อันตรายจากอัคคีภัย 4. อุบัติเหตุจากการเชื่อม 1) ตกจากที่สูง 2) ไหม้จากสะเก็ด 3) สะเก็ดวัตถุเล็ก ๆ โลหะร้อน เข้าตา 4) สะเก็ดโลหะร้อนหรือเปลวไฟเข้าไปในหู ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
8
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
อันตรายในงานเชื่อม ข. อันตรายด้านสุขภาพ 1. ฟูมโลหะ – สารก่อมะเร็งกลุ่ม 2A 2. โอโซน 3. คาร์บอนมอนอกไซด์ 4. เสียงดัง 5. รังสี ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
9
ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย
ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในงานเชื่อม 1. ช่างเชื่อมต้องผ่านการอบรมมาอย่างดี 2. ท่าทางการเชื่อมและการวางชิ้นงานต้องอยู่ในระดับสูง ที่เหมาะสม (ถูกหลักการยศาสตร์) ไม่เช่นนั้นจะปวดหลัง และปวดเมื่อยหัวไหล่ 3. ถ้าชิ้นงานสูงมากกว่า 1.5 เมตรจากพื้น ต้องยกระดับพื้นที่ ยืนให้สูงขึ้น ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
10
ท่าทางการเชื่อมที่ผิดหลักการยศาสตร์
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
11
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
ข้อปฏิบัติฯ (ต่อ) 4. สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ตามที่จำเป็นในแต่ละสภาพการทำงาน 5. ทำการเชื่อมในที่อับอากาศ ต้องทำเรื่องขออนุญาตทำงานและมีการตรวจสภาพอากาศว่าปลอดภัยรวมทั้งดึงสายไฟออกเมื่อหยุดงานชั่วขณะปิดเครื่องเชื่อม ปิดวาล์ว ปิดท่อแก๊ส ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
12
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
ข้อปฏิบัติฯ (ต่อ) 6. ทำการปัดกวาดพื้นที่มีเศษไม้ ถ้าเป็นพื้นไม้ให้ปูแผ่นโลหะก่อนทำการเชื่อม 7. ถ้าใช้ก๊าซเชื่อมหรือใช้ออกซิเจนตัดชิ้นงานภายในตู้ (Booth) ที่จัดให้ ต้องตั้งถังก๊าซขึ้นและให้อยู่ห่างจากการถูกประกายไฟ (sparks) ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
13
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
ข้อปฏิบัติฯ (ต่อ) 8. ระวังไม่ให้สแลก (slag) หรือก้อนโลหะร้อน (hot metal) ที่เกิดจากการเชื่อมไหลกลิ้งไปตามพื้น กระเด็นออกจากประตู รอยแตก ที่ผนังหรือหน้าต่างเพราะอาจทำให้สัมผัสกับเชื้อเพลิงได้ หรือถูกผู้อื่นเป็นอันตราย 9. ทำฉากกั้นป้องกันลูกไฟ ก้อนโลหะร้อน กระเด็นไปถูกผู้อื่นและสารไวไฟ ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
14
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
ข้อปฏิบัติฯ (ต่อ) 10. ห้ามใช้เครื่องเชื่อมเกินอัตรากำลังติดต่อกันเป็นเวลานาน 11. เมื่อการเชื่อมเสร็จสิ้นลง ทำเครื่องหมายส่วนที่ร้อน หรือติดป้ายตือน 12. ใช้อุปกรณ์ด้วยความระมัดระวัง - ไม่ทิ้งชิ้นส่วนลงพื้นแรง ๆ - ดึงสายออกจากอุปกรณ์ด้วยความระมัดระวัง - จัดเก็บในที่ปลอดภัย ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
15
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
หวังว่าภาพต่อไปนี้ จะไม่ใช่พวกเรานะ ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
16
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
16
17
การแต่งกายในงานเชื่อมโลหะอย่างถูกต้อง
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร 17
18
การเชื่อมโลหะที่ปลอดภัย
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
19
การทดสอบความรู้ก่อนเรียน
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเครื่องจักร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.