งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1. แนวทางการดำเนินงาน OPPP individual ในปี 2559  ระยะเวลาการรับข้อมูล การดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559  มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และแฟ้มที่จะรับ  รูปแบบ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1. แนวทางการดำเนินงาน OPPP individual ในปี 2559  ระยะเวลาการรับข้อมูล การดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559  มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และแฟ้มที่จะรับ  รูปแบบ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1

2 แนวทางการดำเนินงาน OPPP individual ในปี 2559  ระยะเวลาการรับข้อมูล การดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559  มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และแฟ้มที่จะรับ  รูปแบบ เงื่อนไขการประมวลผล  แนวทางการจัดสรรฯ ตามข้อมูลผลงานการให้บริการฯ 2

3 แผนการรับข้อมูล individual data 2559 เปิดรับข้อมูลปี 2559 โครงสร้างมาตรฐาน 43/50 แฟ้ม ข้อมูลวันที่ส่ง (date_send) พ.ย. 58 – ก.ค. 59 ประกาศแนวทางการดำเนินงานฯ ปี 59 ข้อมูลวันที่ส่ง (date_send) ก.ค. 58 – ต.ค. 58 โครงสร้าง มาตรฐาน 43 แฟ้ม (date_serv) ก.ค. 58 – ก.ย. 58 (date_serv) ต.ค. 58 – มิ.ย. 59

4 มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่รับในปี 2559 โครงสร้างมาตรฐานข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ และการส่งต่อผู้ป่วย Version 2.0 (43 แฟ้ม หรือ 50 แฟ้ม) ประกาศใช้โดย กระทรวงสาธารณสุข เมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 เริ่มรับข้อมูลที่ส่งตั้งแต่วันที่ 3 กรกฎาคม 2558 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2559 กรณีที่มีการประกาศเปลี่ยนแปลงโครงสร้างมาตรฐานข้อมูลด้านการแพทย์และ สุขภาพ และการส่งต่อผู้ป่วย จากกระทรวงสาธารณสุข ที่เกิดขึ้นระหว่าง ปีงบประมาณ 2559 ให้ถือตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข โดยจะมีการแจ้งให้ ทราบในการกำหนดรับข้อมูลตามมาตรฐานใหม่ต่อไป 4

5 รพ.สต. 43 แฟ้ม รพ.สต. 43 แฟ้ม มาตรฐาน โครงสร้างแฟ้มข้อมูล และแฟ้มที่จะรับ A แฟ้มส่วนกลางไม่ใช้งาน 6 แฟ้ม A แฟ้มไม่ประมวลผล/นำเข้า 7 แฟ้ม A แฟ้มที่ประมวลผล37 แฟ้ม รพ. 50 แฟ้ม รพ. 50 แฟ้ม รพ.สต. 30 แฟ้ม รพ.สต. 30 แฟ้ม รพ. 37 แฟ้ม รพ. 37 แฟ้ม ใช้แฟ้มที่ประมวลผล แฟ้มที่สามารถส่งได้

6 รพ.สต./PCU โรงพยาบาล / หน่วยบริการประจำ ช่องทางการส่งข้อมูล 44 แฟ้ม สสจ. HDC 52 แฟ้ม Rep Statement 52 แฟ้ม สธ. ข้อมูล OP/PP indiv.

7 เงื่อนไขที่ใช้ในการรับข้อมูลในปี 2559 จำนวนแฟ้มข้อมูลที่รับได้ 50 แฟ้ม ข้อมูลที่เปิดรับในเดือน พฤศจิกายน 58 จะรับข้อมูลบริการ (date_serv) ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2558 เป็นต้นไป ไฟล์ zip เดียวกันในกรณีที่ขนาดเกิน 20 MB ให้แยก zip file เป็น ไฟล์ใหม่ (เพื่อประสิทธิภาพในการตรวจสอบและการส่งข้อมูล แนะนำ ขนาดไฟล์ ที่ไม่เกิน 10 MB) 7

8 เงื่อนไขที่ใช้ในการรับข้อมูลในปี 2559 (แฟ้มสะสม) การส่งแฟ้มข้อมูลกรณีแฟ้มสะสมในปี 2559 1. แฟ้ม PERSON ไม่ได้รับทั้งหมด (ไม่ต้องส่ง person ทั้งหมดในคราวเดียว) จะรับในกรณีที่ มีบริการเชื่อมโยงกับแฟ้มอื่นๆ รายเดือน ตามเงื่อนไขเดิมปีงบประมาณ 2558 2. แฟ้ม CHRONIC,DISABILITY,DRUGALLERGY การส่งต้องแฟ้ม PERSON ที่เชื่อมโยงกัน ได้มาในไฟล์เดียวกัน 3. แฟ้มที่ไม่ต้องเชื่อมโยงแฟ้ม PERSON ในการส่ง คือ PROVIDER,VILLAGE วิธีการดำเนินการ 1. ในกรณีที่แฟ้มข้อมูลมีขนาดใหญ่ สามารถแบ่งข้อมูลในการส่งได้ในระยะเวลาการรับข้อมูล และส่งเพิ่มในกรณีมีการปรับปรุงข้อมูล หรือ เป็นข้อมูลรายใหม่ 2..ในกรณีที่แฟ้มข้อมูลมีขนาดเล็ก สามารถส่งข้อมูลทั้งหมดได้ และส่งเพิ่มในกรณีมีการ ปรับปรุงข้อมูล หรือ เป็นข้อมูลรายใหม่ 8

9 เงื่อนไขที่ใช้ในการตรวจสอบในปี 2559 ไม่ตรวจสอบความเชื่อมโยงในส่วนของ OP ในการรับข้อมูลและ รายงานผลการตรวจสอบ ไม่แจ้ง error การตรวจสอบช่วงเวลารับบริการ (ช่วงเวลาเป็นไปตาม เงื่อนไขของการใช้ข้อมูลในแต่ละแผนงาน) ต้องส่งแฟ้ม PERSON และ แฟ้มที่ให้บริการ แฟ้มบริการกึ่งสำรวจ แฟ้มสะสม ข้อมูลต้องสามารถเชื่อมโยงกันได้กับแฟ้ม PERSON เพื่อที่จะระบุบุคคลได้ ตามเงื่อนไขฟิลด์ที่กำหนด ยกเว้นแฟ้มที่ไม่ต้อง เชื่อมโยงกับแฟ้ม PERSON คือ PROVIDER, COMMUNITY_ACCTIVITY, VILLAGE, HOME 9

10 การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการ OP SERVICE HOSPCODE PID SEQ DATE_SERV DIAGNOSIS_OPD HOSPCODE PID SEQ DATE_SERV (Add on) ยกเลิก error code OPXXXX

11 การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการ OP SERVICE HOSPCODE PID SEQ DATE_SERV DIAGNOSIS_OPD HOSPCODE PID SEQ DATE_SERV (Add on) ต้องสามารถเชื่อมโยงแฟ้ม PERSON

12 การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการ ANC ANC HOSPCODE PID SEQ DATE_SERV ANC HOSPCODE PID SEQ DATE_SERV ต้องมี แฟ้ม PERSON ไม่มี แฟ้ม PERSON

13 13 การแจ้งรหัส error code ใน REP ปี 2559

14 รหัส error code ปี 2559 FORMAT XXX92XX ตัวอักษรขื่อย่อแฟ้ม 3 หลักสำหรับแฟ้ม IPD และ REFER PE = PERSON DXI = DIAGNOSIS_IPD รหัสฟิวต์ที่ error 9200 – การเชื่อมโยง 9201 – ไม่พบรหัส HCODE … 9299 - ข้อมูลซ้ำซ้อน

15 รหัส error code ปี 2559 เพิ่มหลักสำหรับ error code ในส่วน IPD รหัสเดิมที่ใช้อยู่ 24 แฟ้ม รหัสใหม่ที่เพิ่มเติม 15 แฟ้ม

16 รูปแบบการรับส่งข้อมูล รูปแบบของแฟ้มข้อมูลที่จะส่งให้ สปสช. ต้องเป็น Text file เท่านั้น และส่งเป็น Zip file เพียงชุดเดียวที่รวมข้อมูลไว้ด้วยกันโดยมีชื่อแฟ้ม และชื่อฟิลด์ (field) ตรงตามโครงสร้างมาตรฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ใช้เครื่องหมายไปป์ ( | ) คั่นระหว่างฟิลด์ทุกฟิลด์ ทั้งนี้ แนะนำให้ใส่ Header มาในแฟ้มข้อมูลด้วยเพื่อง่ายต่อการตรวจสอบ ตัวอย่างแฟ้ม EPI= EPI.txt HOSPCODE|PID|SEQ|DATE_SERV|VACCINCETYPE|VACCINEPLACE|PROVIDER|D_UPDATE 90821|091211|120264644|2011120|010|10821|000001|20111201 90821|091202|120264558|2011120|041|10821|000001|20111201 90821|040429|110107616|2011120|111|10821|000001|20111201 HOSPCODE|PID|SEQ|DATE_SERV|VACCINCETYPE|VACCINEPLACE|PROVIDER|D_UPDATE 90821|091211|120264644|2011120|010|10821|000001|20111201 90821|091202|120264558|2011120|041|10821|000001|20111201 90821|040429|110107616|2011120|111|10821|000001|20111201

17 รูปแบบการรับส่งข้อมูล 1.ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลตามที่ สนย. กำหนด เช่น PERSON.txt,SERVICE.txt เป็นต้น 2.ต้องไม่มีแฟ้มที่ไม่เกี่ยวข้องติดอยู่ใน folder เช่น office.txt 3.นำแฟ้มข้อมูลใส่ในโฟลเดอร์ ที่ตั้งชื่อโฟลเดอร์เป็น F43_HOSPCODE_YYYYMMDDhhmmss 4.จากนั้นให้ ZIP ข้อมูลทั้งโฟลเดอร์ ตั้งชื่อไฟล์ ZIP เป็น ชื่อเดียวกับโฟลเดอร์ F43_HOSPCODE_YYYYMMDDhhmmss.zip

18 การตั้งชื่อและการ ZIP ไฟล์ F43_HOSPCODE_YYYYMMDDhhmmss รูปแบบการตั้งชื่อ Folder: F43_HOSPCODE_YYYYMMDDhhmmss HOSPCODE = รหัสสถานพยาบาล, YYYYMMDD = ปี (พ.ศ. หรือ ค.ศ.) เดือน วันที่ hhmmss = ชั่วโมง นาที วินาที (วินาที อาจระบุเป็น 00 ได้กรณีไม่ทราบชัดเจน) ตัวอย่าง เช่น F43_12345_25570801120100

19 สำนักสนับสนุนเครือข่ายระบบบริการปฐมภูมิ สำนักสนับสนุนการพัฒนาระบบยาและเวชภัณฑ์ สำนักบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ สำนักสารสนเทศเพี่อการบริหาร สำนักสารสนเทศการประกัน สำนักบริหารยุทธศาสตร์ เพื่อจัดสรรตามผลงานและคุณภาพ บริการ,QOF, PP Workload, แพทย์แผนไทย,NCD เพื่อวิเคราะห์และ วางแผนนโยบาย เพื่อรับ / ประมวลผล / รายงานข้อมูลประกอบการจ่าย หน่วยงานภายในที่เกี่ยวข้องกับระบบข้อมูล OPPP individual แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังและโรคเฉพาะ

20 สำนักสนับสนุนเครือข่ายระบบบริการปฐมภูมิ แผนงานสนับสนุนระบบบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระบบบริการการแพทย์แผนไทย ระบบสุขภาพชุมชน แผนงานสนับสนุนระบบบริการฟื้นฟูด้านการแพทย์ การบริหารจัดการค่าใช้จ่ายกองทุนทันตกรรม

21 PERSON SERVICE DIAGNOSIS_OPD PROCEDURE_OPD DRUG_OPD แฟ้มที่ใช้งาน งานอนามัยแม่ และเด็ก EPI NUTRITION FP ANC PRENATAL LABOR NEWBORN POSTNATAL NEWBORNCARE แผนงานสนับสนุนระบบบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ส่งเสริมป้องกัน โรค LABFU CHRONIC NCDSCREEN CHRONICFU โรคเรื้อรัง ผู้ป่วยนอก

22 PERSON แฟ้มที่ใช้งาน ระบบสุขภาพชุมชน บริการในชุมชน VILLAGE ADDRESS HOME DISABILITY REHABILITATION FUNCTIONAL ICF พิการและฟื้นฟู กิจกรรมในชุมชน ครัวเรือน COMMUNITY_SERVICE COMMUNITY_ACCTIVITY

23 แนวทางการจัดสรรข้อมูล individual data 59 PERSON SERVICE DIAGNOSIS_OPD PROCEDURE_OPD DRUG_OPD CHARGE_OPD แฟ้มที่ใช้งาน เพื่อจัดสรร Point ปกติ การจ่ายตามจำนวนผลงานการให้บริการผู้ป่วยนอก รอบที่ 1 ข้อมูลที่ส่งระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2558 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2558 รอบที่ 2 ข้อมูลที่ส่งระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2559 รอบที่ 3 ข้อมูลที่ส่งระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2559 รอบที่ 4 ข้อมูลที่ส่งระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2559 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2559 Point Performance การจ่ายตามคุณภาพผลงานการให้บริการผู้ป่วยนอก รอบที่ 1 ข้อมูลที่ส่งระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2558 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2559 รอบที่ 2 ข้อมูลที่ส่งระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2559 Point ปกติ การจ่ายตามจำนวนผลงานการให้บริการผู้ป่วยนอก รอบที่ 1 ข้อมูลที่ส่งระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2558 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2558 รอบที่ 2 ข้อมูลที่ส่งระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2559 รอบที่ 3 ข้อมูลที่ส่งระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2559 รอบที่ 4 ข้อมูลที่ส่งระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2559 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2559 Point Performance การจ่ายตามคุณภาพผลงานการให้บริการผู้ป่วยนอก รอบที่ 1 ข้อมูลที่ส่งระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2558 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2559 รอบที่ 2 ข้อมูลที่ส่งระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2559

24 การประมวลผลข้อมูลการให้บริการ OP Point ตามผลงานการให้บริการฯ SERVICE HOSPCODE PID SEQ DATE_SERV DIAGNOSIS_OPD HOSPCODE PID SEQ DATE_SERV (Add on)

25 การตรวจสอบข้อมูลและการคิดคะแนน OP (คะแนน) มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. การให้บริการผู้ป่วยนอก 1 คนใน 1 วัน จะได้ 1 คะแนน (บริการหลายครั้งใน 1 วัน จะคิด 1 คะแนน) การคิดคะแนน จะพิจารณาเฉพาะรหัสการวินิจฉัยที่บ่งชี้ว่าเป็นโรค หรืออาการ แสดงว่า เจ็บป่วย หรือเงื่อนไขอื่นที่ระบุว่าเป็นผู้ป่วยนอก เท่านั้น การตรวจสอบคุณภาพข้อมูลผู้ป่วยนอก (OP) เพิ่มเติม ในกรณีตรวจ ความปกติ หรือ มีความไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงของการให้บริการ หรือไม่สอดคล้องกับหลักวิชาการทางการ แพทย์และการสาธารณสุข

26 การคิดคะแนนเพื่อการจ่ายค่าใช้จ่ายตามผลงาน การให้บริการผู้ป่วยนอกเพิ่มเติม (Add on) แฟ้ม PROCEDURE_OPD (หัตถการ) หากผ่านตามเงื่อนไข จะได้เพิ่มรายการ ละ 0.01 คะแนน โดยมีเงื่อนไขดังนี้ (ก) เป็นรหัสที่อยู่ใน ICD 9 CM และ ICD 10 TM และต้องเป็นรหัสที่กำหนดให้สามารถ ให้ได้ (กรณี ที่เป็นรหัสกลุ่มของหัตถการหากมีรหัสย่อยรหัสกลุ่มนั้นไม่สามารถใช้ได้) (ข) เป็นรหัสที่เป็นการให้หัตถการกับผู้มารับบริการจริง เป็นไปตามที่ สปสช. กำหนด แฟ้ม DRUG_OPD (การใช้ยา) หากผ่านตามเงื่อนไขจะได้เพิ่มรายการละ 0.01 คะแนน ทั้งนี้ สปสช. อาจมีการระงับการจ่าย Add on ในแต่ละแฟ้มหากพบว่ามีการ บันทึกข้อมูลที่ผิดปกติ

27 การตรวจสอบข้อมูล (OP Performance)

28 สูตรการคำนวณร้อยละความถูกต้องของแฟ้มข้อมูล จำนวนข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ x 100 จำนวนข้อมูลทั้งหมด (ไม่นับรวมข้อมูลซ้ำซ้อน) สูตรการคำนวณร้อยละความถูกต้องของแฟ้มข้อมูล จำนวนข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ x 100 จำนวนข้อมูลทั้งหมด (ไม่นับรวมข้อมูลซ้ำซ้อน) การคำนวณความถูกต้องของข้อมูล หลักเกณฑ์การคิดคะแนนความถูกต้อง แฟ้มข้อมูลถูกต้องมากกว่า ร้อยละ 95.00 ได้ 1.00 คะแนน แฟ้มข้อมูลถูกต้อง ร้อยละ 90.01 – 95.00ได้ 0.50 คะแนน แฟ้มข้อมูลถูกต้อง ร้อยละ 85.01 – 90.01 ได้ 0.25 คะแนน

29 การคำนวณความซ้ำซ้อนของข้อมูล หลักเกณฑ์การคิดคะแนนความซ้ำซ้อน แฟ้มข้อมูลซ้ำซ้อนน้อยกว่า ร้อยละ 5 ได้ 1.00 คะแนน แฟ้มข้อมูลซ้ำซ้อนน้อยกว่า ร้อยละ 5.1–10 ได้ 0.50 คะแนน สูตรการคำนวณร้อยละความซ้ำซ้อนของแฟ้มข้อมูล จำนวนข้อมูลที่ซ้ำซ้อน x 100 จำนวนข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบทั้งหมด สูตรการคำนวณร้อยละความซ้ำซ้อนของแฟ้มข้อมูล จำนวนข้อมูลที่ซ้ำซ้อน x 100 จำนวนข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบทั้งหมด

30 การคำนวณความทันเวลาของข้อมูล หลักเกณฑ์การคิดคะแนนความทันเวลา แฟ้มข้อมูลทันเวลามากกว่า ร้อยละ 95.00 ได้ 1.00 คะแนน แฟ้มข้อมูลทันเวลาร้อยละ 90.01 – 95.00ได้ 0.50 คะแนน แฟ้มข้อมูลทันเวลา ร้อยละ 85.01 – 90.00 ได้ 0.25 คะแนน สูตรการคำนวณร้อยละความทันเวลาของแฟ้มข้อมูล จำนวนข้อมูลที่ส่งทันเวลาผ่านการตรวจสอบ x 100 จำนวนข้อมูลที่ส่งทั้งหมด สูตรการคำนวณร้อยละความทันเวลาของแฟ้มข้อมูล จำนวนข้อมูลที่ส่งทันเวลาผ่านการตรวจสอบ x 100 จำนวนข้อมูลที่ส่งทั้งหมด

31 Website : OP/IP/PP Individuals 59 http://op.nhso.go.th/op

32 ธนะศักดิ์ แก้วชมภู เบอร์โทรศัพท์ : 02-1414348 email : tanasak.k@nhso.go.thtanasak.k@nhso.go.th สัญญา วาสพกานต์ Email : sanya.v@nhso.go.thsanya.v@nhso.go.th สำนักบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ 32


ดาวน์โหลด ppt 1. แนวทางการดำเนินงาน OPPP individual ในปี 2559  ระยะเวลาการรับข้อมูล การดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559  มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และแฟ้มที่จะรับ  รูปแบบ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google