การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
Advertisements

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา

นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสุพัณณรัฎฐ์ ประชานิยม วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเลขานุการ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
รายงานผลการวิจัย.
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ครูโรงเรียนเมืองชลพณิชยการ จ. ชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายทัศนชัย เหน็บบัว โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ ชื่อเรื่อง : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาไทยของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยี
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย ของผู้เรียนระดับประกาศนียวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ ผู้วิจัย นางสาวปานแข รุ่งศรีฟ้า เลขที่ 2 ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200

ปัญหาการวิจัย ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติที่คนไทยใช้ในการติดต่อสื่อสารกันในสังคม ด้วยจุดมุ่งหมายเพื่อดำเนินกิจการต่างๆ ให้ลุล่วงไปด้วยดี ทั้งทางด้านการประกอบอาชีพและการศึกษาหาความรู้โดยการใช้ทักษะทั้ง 4 อันได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ได้กล่าวถึงความสำคัญของการใช้ภาษาในด้านการประกอบอาชีพว่า เมื่อบุคคลหนึ่งเติบโตขึ้นแล้วก็จำเป็นต้องประกอบอาชีพ คนที่ประสบความสำเร็จในชีวิตย่อมต้องมีความสามารถในวิชาการแห่งวิชาชีพ อันได้มาจากการฟังและการอ่าน ในขณะเดียวกันก็ย่อมจะต้องสามารถสื่อสารถ่ายทอดและพัฒนาความรู้ให้ผู้อื่นได้ประจักษ์ ผู้ที่สามารถทำให้ผู้อื่นเข้าใจในความคิด ความรู้ของตนโดยการพูดและการเขียนได้นั้น ย่อมมีโอกาสก้าวหน้าได้มากกว่าคนที่ไม่มีพัฒนาการ

ปัญหาการวิจัย (ต่อ) จากการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับวิธีการ ตลอดจนงานวิจัยต่างๆ จึงทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะนำวิธีสอนแบบซินดิเคทมาทดลองสอนให้กับผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 เพื่อต้องการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยระหว่างก่อนและหลังจากที่ได้รับการสอนแบบ ซินดิเคทว่าแตกต่างกันเพียงใด ตลอดจนต้องการศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียนในขณะที่ได้รับการสอนแบบซินดิเคท และศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนที่ได้รับการสอนแบบซินดิเคทอันจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนในด้านความรู้ความเข้าใจ การตระหนักในปัญหา การรู้จักวิธีแก้ปัญหา และการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาชีพต่อไปในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการสอนภาษาไทยในระดับอาชีวศึกษาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

วัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ของผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ก่อนและหลังจากการได้รับการสอนแบบซินดิเคท 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียนในขณะที่ได้รับการสอนแบบซินดิเคท 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนที่ได้รับ การสอนแบบซินดิเคท

สรุปผลการวิจัย คะแนน SD t ก่อนการเรียน 11.78 2.85 13.90* หลังการเรียน ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดลองค่าทีของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนและหลังจากที่ได้รับการสอนแบบซินดิเคท คะแนน SD t ก่อนการเรียน 11.78 2.85 13.90* หลังการเรียน 16.19 2.56 *p .01 จากตารางที่ 1 พบว่า ค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนและหลังจากที่ได้รับการสอนแบบซินดิเคทแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบหลังจากที่ได้รับการสอนแบบซินดิเคทสูงกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบก่อนที่จะได้รับการสอนแบบซินดิเคท

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 หลังจากที่ได้รับการสอนแบบซินดิเคทสูงกว่าก่อนได้รับการสอนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .001 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการสอนแบบซินดิเคททำให้การเรียนภาษาไทยก้าวหน้าขึ้น 2) ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้เรียนในขณะที่ได้รับการสอนแบบซินดิเคท ผลปรากฎว่า ค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมของผู้เรียนในขณะที่ได้รับการสอนแบบซินดิเคท ค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมของผู้เรียนในขณะที่ได้รับการสอนแบบซินดิเคทในพฤติกรรมด้านการแสดงความคิดเห็น การพูดและทำอย่างมีเหตุผล การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การให้ความร่วมมือในกิจกรรมและความพึงพอใจในการทำกิจกรรมอยู่ในระดับดีและดีมาก พฤติกรรมด้านความกระตือรือร้นที่จะเรียนอยู่ในระดับดี และพฤติกรรมด้านการซักถามอยู่ในระดับพอใช้ถึงดี 3) ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เรียนที่ได้รับการสอนแบบซินดิเคท ผลปรากฏว่าผู้เรียนมีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน ด้านวิธีสอน และด้านกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก

ขอบพระคุณทุกท่าน