Output of C.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การควบคุมตำแหน่งการแสดงผล และการจัดวางข้อมูลบนจอภาพ
Advertisements

Computer Language.
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Introduction to C Introduction to C.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ Data Types and Operator (บทที่ 3)
LAB # 1.
Introduction to C Programming
ครั้งที่ 8 Function.
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
การรับและการแสดงผลข้อมูล
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
Lecture no. 2: Overview of C Programming
Lecture no. 3: Review and Exercises
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
C Programming Lecture no. 6: Function.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Chapter 4 คำสั่งควบคุมทิศทาง
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
ความหมาย การประกาศ และการใช้
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
Overview of C Programming
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล (Variables & Data Types)
โครงสร้าง ภาษาซี.
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Output of C

การแสดงผลข้อมูล การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพในภาษาซี ส่วนใหญ่จะเรียกใช้งานฟังก์ชัน printf (อยู่ใน stdio.h) รูปแบบ printf (“format”, argument1, argument2, …); format : รูปแบบการแสดงผลที่ถูกระบุเพื่อกำหนดรูปแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการ ซึ่งจะประกอบด้วย ข้อความที่ต้องการแสดงผลโดยตรง format ของการพิมพ์ข้อมูล (อักษรที่มีเครื่องหมาย % นำหน้า) Introduction to C

Ex. printf(“Hello World”); printf(“%d got score %d .\n”, ID, mark); argument : ข้อมูล ซึ่งอาจเป็นค่าคงที่ ตัวแปร หรือนิพจน์ที่ต้องการจะพิมพ์ค่า ซึ่งจะพิมพ์ตามรูปแบบที่กำหนดไว้ในส่วน format Ex. printf(“Hello World”); printf(“%d got score %d .\n”, ID, mark); printf(“The value of PI is %f\n”, pi); printf(“Dang is %d years old , and Dum is %d years old too.\n”,age,age); printf(“This computer cost %c%d”,‘$’, cost); Introduction to C

การกำหนด format ใน printf ซึ่งต้องกำหนดให้ถูกกับชนิดของตัวแปรด้วย int, unsigned int - กำหนด format เป็น %d, %o, %x long - กำหนด format เป็น %ld, %lo, %lx, float, double - กำหนด format เป็น %f, %e char – กำหนด format เป็น %c Introduction to C

การกำหนด format ใน printf ให้ทดลองพิมพ์โปรแกรมดังนี้ void main() { int i = 16; long l = 16; float f = 12.345; char c = ‘a’; printf(“%d\t %o\t %x\n” , i , i , i ); printf(“%ld\t %lo\t %lx\n” , l , l , l ); printf(“%f\t %e\n” , f , f); printf(“%c\n” , c ); } Introduction to C

การกำหนด format ใน printf  %d : พิมพ์ int ด้วยตัวเลขฐานสิบ %o : พิมพ์ int ด้วยตัวเลขฐานแปด %x : พิมพ์ int ด้วยตัวเลขฐานสิบหก %ld , %lo , %lx : พิมพ์ long (รูปแบบตามหลังเหมือน int) %f : พิมพ์ float, double แบบจุดทศนิยม (หกตำแหน่ง) %e : พิมพ์ float, double แบบวิทยาศาสตร์ เช่น 1.23e+23 %c : พิมพ์ char %s : พิมพ์ข้อความ เช่น “Hello”     Introduction to C

คำสั่งเพิ่มเติมของการจัดรูปแบบการแสดงผล ใช้ร่วมกับ format ต่างๆ ที่นิยมใช้บ่อย คือ เครื่องหมาย + ใช้ร่วมกับการแสดงผลข้อมูลที่เป็นตัวเลข พิมพ์เครื่องหมายบวกหน้าข้อมูลถ้าข้อมูลมีค่าเป็นบวก Ex. float w=15.2 , x=-13.3; printf (“w=%f x=%f\n” , w , x); printf (“w=%+f x=%+f\n” , w , x); Re. w=15.200000 x=-13.300000 w=+15.200000 x=-13.300000 Introduction to C

ใช้กำหนดจำนวนช่องที่ใช้ในการแสดงผล ตัวเลข ใช้กำหนดจำนวนช่องที่ใช้ในการแสดงผล ถ้าจำนวนข้อมูลมีน้อยกว่าช่อง จะแสดงผลโดยจัดชิดด้านขวา ถ้าจำนวนข้อมูลมีมากกว่าช่อง จะแสดงผลโดยไม่สนใจจำนวนช่อง Ex. float w=15.2 ; printf (“%f|%5f|%9f|%10f|%12f|”,w,w,w,w,w); Re. 15.200000|15.200000|15.200000| 15.200000| 15.200000| Introduction to C

จุดทศนิยมตามด้วยตัวเลข (.Number) นิยมใช้ตามหลังคำสั่งตัวเลข Ex. float w=32.5762 ; printf (“%f|%.f|%.2f|%7.2f|”,w,w,w,w); Re. 32.576200|32|32.58| 32.58| Introduction to C

ให้พิมพ์ข้อมูลชิดขอบซ้ายของฟิลด์ (ปกติข้อมูลจะชิดขวา) เครื่องหมาย - ให้พิมพ์ข้อมูลชิดขอบซ้ายของฟิลด์ (ปกติข้อมูลจะชิดขวา) มักใช้ร่วมกับคำสั่งจัดรูปแบบแสดงผลแบบอื่นๆ Ex. float w=32.5762 ; printf (“%f|%8.f|%+8.2f|\n”,w,w,w); printf (“%f|%-8.f|%-+8.2f|\n”,w,w,w); Re. 32.576200| 32| +32.58| 32.576200|32 |+32.58 | Introduction to C

การรับข้อมูล การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดในภาษาซีส่วนใหญ่จะเรียกใช้งานฟังก์ชัน scanf ซึ่งเป็นฟังก์ชันมาตรฐานที่บรรจุอยู่ใน header file ที่ชื่อ stdio.h เช่นเดียวกับฟังก์ชัน printf รูปแบบ scanf (“format”, argument1, argument2, …); format : รูปแบบของข้อมูล (argument) ที่ใช้รับข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามา Introduction to C

ตัวแปรต้องเป็นชนิดเดียวกับที่กำหนดไว้ใน format argument : ตำแหน่ง (Address) ของตัวแปรที่ใช้รับข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามา สามารถระบุตำแหน่งของตัวแปรได้โดยการเพิ่มเครื่องหมาย & ไว้หน้าตัวแปรนั้น ตัวแปรต้องเป็นชนิดเดียวกับที่กำหนดไว้ใน format Example int day , month ,year; char ch; scanf (“%d , %d , %d , %c ”, &day , &month , &year, &ch); Introduction to C

Ex2_3.c #include <stdio.h> #include <conio.h> void main() { clrscr(); int integer1, integer2, sum; printf( "Enter first integer : " ); scanf( "%d", &integer1 ); printf( "Enter second integer : " ); scanf( "%d", &integer2 ); sum = integer1 + integer2; printf( "Sum is %d\n", sum ); } Introduction to C

Ex2_3.c จงเขียนโปรแกรมเพื่อรับชื่อ นามสกุล ชั้น เลขที่ คะแนนเก็บ คะแนนกลางภาค คะแนนสอบปลายภาค จากนั้นแสดงข้อมูล และคะแนนรวม Introduction to C

การบ้าน ในการแปลงค่าอุณหภูมิระหว่าง องศาเซลเซียส กับ องศาฟาเรนไฮต์ สามารถหาได้จากสูตรว่า C = ( 5 / 9 ) * ( F – 32 ) เมื่อ C คืออุณหภูมิมีหน่วยเป็นองศาเซลเซียส F คืออุณหภูมิมีหน่วยเป็นองศาฟาเรนไฮต์ จงเขียนโปรแกรมเพื่อรับข้อมูลอุณหภูมิจากผู้ใช้ โดยมีหน่วยเป็นองศาฟาเรนไฮต์ แล้วแปลงเป็นองศาเซลเซียส และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกทางหน้าจอ Introduction to C