การย้ายข้าราชการ
ความหมายโดยทั่วไป การย้ายข้าราชการ เป็นการแต่งตั้งข้าราชการซึ่ง ดำรงตำแหน่งในเลขที่หนึ่งไปดำรงตำแหน่ง อีกเลขที่หนึ่งในระดับที่ไม่สูงกว่าเดิม โดยได้รับอัตราเงินเดือนไม่สูงกว่าเดิม
การย้ายแบ่งออกได้หลายกรณี ดังนี้ การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในระดับควบ การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งซึ่งมีลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติโดยอาศัย ความรู้ ความชำนาญ และประสบการณ์เฉพาะตัว สำหรับสายงานที่เริ่มต้นจาก ระดับ 1 และระดับ 2
3. การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งซึ่ง ก.พ. กำหนดเป็นระดับ 6 การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในระดับ ที่ต่ำกว่าเดิม ตั้งแต่ระดับ 8 ลงมา การย้ายข้าราชการซึ่งได้รับวุฒิเพิ่มขึ้น
การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งสำหรับ ผู้ปฏิบัติงาน ที่มีประสบการณ์ ตำแหน่งประเภท ทั่วไป (ว) ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ (วช) และตำแหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะ (ชช) การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งระดับ 7 และระดับ 8 เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งนักบริหาร
การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับกลาง การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งนักบริหาร ฯลฯ การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งนักบริหาร
ขอบเขตการนำเสนอในครั้งนี้
1. การย้ายข้าราชการในระดับควบ
การย้ายข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งซึ่งมีลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติโดยอาศัยความรู้ ความชำนาญ และประสบการณ์เฉพาะตัว สำหรับสายงาน ที่เริ่มต้นจากระดับ 1 และระดับ 2
3. การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ก.พ.กำหนดเป็นระดับ 6
4. การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในระดับ ที่ต่ำกว่าเดิม ตั้งแต่ระดับ 8 ลงมา
การย้ายข้าราชการในระดับควบ นางปัจมาภรณ์ สมรไกรสรกิจ นำเสนอโดย นางปัจมาภรณ์ สมรไกรสรกิจ
การย้ายข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งซึ่งปฏิบัติโดยอาศัยความรู้ ความชำนาญ และประสบการณ์เฉพาะตัว สำหรับสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 และระดับ 2 นำเสนอโดย น.ส.อโณทัย แสงศิริ
การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ก. พ การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ก.พ.กำหนดเป็นระดับ 6 และการย้าย ข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในระดับ ที่ต่ำกว่าเดิม ตั้งแต่ระดับ 8 ลงมา นำเสนอโดย นางพลับพลึง ชวนสกุล
สำหรับกระผม นายยุทธนา จันทโรภาส จะนำเสนอในส่วนของ กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง