วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Introduction to C Introduction to C.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
CSI1201 การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง Structured Programming
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงาน.
Introduction to C Programming
ครั้งที่ 8 Function.
Department of Computer Business
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
ฟังก์ชัน (Function).
Structure Programming
Structure Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
องค์ประกอบของโปรแกรม
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
C Programming Lecture no. 6: Function.
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ บทที่ 5 การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย MS Visual Basic 2010 ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Php Variable , Expression Professional Home Page :PHP
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงานลักษณะของฟังก์ชั่นมีความรอบรัดสั้นกว่าแบบวนลูป.
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
Lecture 7 ฟังก์ชัน To do: Hand back assignments
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ตัวดำเนินการในภาษาซี
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
Week 2 Variables.
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
Computer Programming for Engineers
Week 7 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
Computer Programming for Engineers
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
PHP: [8] การสร้างฟังก์ชั่นขึ้นใช้เอง (User-defined functions)
หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓
โครงสร้าง ภาษาซี.
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure) พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี การเขียนโปรแกรมแบบฟังก์ชัน

พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี โครงสร้าง อย่างง่าย ดังนี้ #include <library> หรือ header file ส่วนประกาศ หรือ declaration part ส่วนนี้ใช้ประกาศตัวแปร ค่าคงที่ ชนิดของข้อมูล แบบ global main() ฟังก์ชันหลักของโปรแกรม { คำสั่งต่าง ๆ ค่าคงที่ ฯลฯ } ฟังก์ชันย่อย (sub function)

Function ฟังก์ชั่นมาตรฐาน (Standard Libraries Function) โปรแกรมภาษาซีสามารถสร้างฟังก์ชันได้มากกว่าหนึ่งฟังก์ชัน แต่จะมี ฟังก์ชันที่ชื่อว่า main() เพียงฟังก์ชันเดียว โดยฟังก์ชัน main จะเป็นฟังก์ชัน แรกที่เริ่มทำงาน ในภาษาซีสามารถแบ่งฟังก์ชันออกได้เป็น 2 ประเภทคือ ฟังก์ชั่นมาตรฐาน (Standard Libraries Function) ฟังก์ชั่นที่ผู้ใช้กำหนด (User-Define Function)

ฟังก์ชันมาตรฐาน (Standard Libraries Function) คือฟังก์ชันที่ตัวภาษาซี มีการกำหนดไว้แล้วในไลบรารี ให้เราเรียกใช้ได้เลย เช่น การหารากที่ 2 sqrt ฟังก์ชันนี้เก็บอยู่ในไลบรารี math.h sqrt(4) จะได้ผลลัพธ์เป็น 2.0 การสุ่มเลข rand() ฟังก์ชันนี้เก็บอยู่ในไลบรารี stdlib.h rand()%100 จะได้เลขสุ่มมีค่าในช่วง 0-99

ฟังก์ชันที่ผู้ใช้กำหนด (User-Define Function) ฟังก์ชั่นที่ผู้ใช้กำหนด คือ ส่วนย่อยของโปรแกรมที่ทำหน้าที่อย่างใดอย่าง หนึ่ง เช่น โปรแกรมเครื่องคิดเลข ก็สามารถแบ่งฟังก์ชั่นออกเป็นฟังก์ชั่นของ การบวก, ฟังก์ชั่นของการลบ, การคูณ, และการหาร เป็นต้น ข้อดีคือ โปรแกรมเป็นสัดส่วน แต่ละส่วนทำงานเฉพาะอย่าง ตรวจสอบ ความถูกต้องง่าย

ส่วนประกอบของ Function โดยฟังก์ชันจะประกอบด้วย 2 ส่วนคือ หัวฟังก์ชัน (Function Header) ตัวฟังก์ชัน (Function Body)

ส่วนประกอบของ Function ส่วนหัวฟังก์ชัน data-type function-name (type var1,type var2,…) ส่วนตัวฟังก์ชัน { variable declaration; statements; }

ฟังก์ชันที่ผู้ใช้กำหนด (User-Define Function) สำหรับในภาษาซีนั้นฟังก์ชันที่สร้างขึ้น (user-define function) จะ ใช้งานได้ ต้องมีการประกาศฟังก์ชัน (function prototype) ให้รู้จัก ก่อน จึงสามารถเรียกใช้งานได้ การรับค่า การ return ค่ากลับ function_test( ) function_test( )

ฟังก์ชันที่ผู้ใช้กำหนด (User-Define Function) ไม่มีการรับค่า ไม่มีการ return ค่ากลับ ไม่มีการรับค่า มีการ return ค่ากลับ มีการรับค่า ไม่มีการ return ค่ากลับ มีการรับค่า มีการ return ค่ากลับ

ฟังก์ชันที่ผู้ใช้กำหนด (User-Define Function) ไม่มีการรับค่า ไม่มีการ return ค่ากลับ

ฟังก์ชันที่ผู้ใช้กำหนด (User-Define Function) ไม่มีการรับค่า มีการ return ค่ากลับ

ฟังก์ชันที่ผู้ใช้กำหนด (User-Define Function) มีการรับค่า ไม่มีการ return ค่ากลับ

ฟังก์ชันที่ผู้ใช้กำหนด (User-Define Function) มีการรับค่า มีการ return ค่ากลับ

ขอบเขตของตัวแปร ตัวแปรแบบ Global ตัวแปรแบบ Local ขอบเขตของตัวแปรในภาษาซี แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ตัวแปรแบบ Global เป็นตัวแปรที่สามารถนำไปใช้ได้ในทุกๆ ฟังก์ชันของโปรแกรมนั้น โดยต้อง ประกาศตัวแปรไว้เหนือฟังก์ชัน main() ตัวแปรแบบ Local เป็นตัวแปรที่สามารถใช้ได้เฉพาะในฟังก์ชันที่ประกาศตัวแปรนี้เท่านั้น โดยการ ประกาศจะอยู่ภายในของแต่ละฟังก์ชัน

ตัวแปรแบบ Local

ตัวแปรแบบ global

ทดสอบ ให้นักศึกษาเขียนผลจากการรันโปรแกรมต่อไปนี้

แบบฝึกหัด เขียนโปรแกรมตัดเกรด รับค่าแล้วแจ้งเกรดที่ได้รับ 80-100 (A) 70-79 (B) 60-69 (C) 50-59 (D) น้อยกว่า 50 (F) เขียนโปรแกรมเครื่องคิดเลข บวก ลบ คูณ หาร โดยรับค่าเข้าไป 2 ตัว แล้ว เลือกว่าจะให้ทำอะไร แสดงผลลัพธ์เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง เขียนโปรแกรมสูตรคูณ เลือกแม่ได้ (คราวนี้ให้เขียนแบบแยกฟังก์ชัน คือไม่ให้ทำทุกอย่างใน main อัน เดียว ให้กระจายงานออกมาให้ฟังก์ชันย่อยทำ)