การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จังหวัดตราด ผลการเฝ้าระวังปี 2555.
Advertisements

โครงการการป้องกันเอชไอวีในกลุ่มประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
ระบบการส่งต่อผู้ป่วย จังหวัดตราด
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
ผลการดำเนินงานที่ผ่าน มาของโรงพยาบาล ปัตตานี. แรงงานข้ามชาติ พนักงานบริการ ประชาชนทั่วไป ชายรักชาย กลุ่มเป้าหมาย.
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
“ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์”
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
เก็บตก ประเด็น HOT.
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว การประชุมวิชาการด้านการตรวจทางห้องปฏิบัติการเอชไอวี/เอดส์ ระดับชาติ ครั้งที่ 3 12 กรกฎาคม 2554 พ.ญ.จิตรลดา อุทัยพิบูลย์, GAP/TUC

เนื้อหา ความสำคัญของห้องปฏิบัติการในการตรวจเลือดเอชไอวีแบบฟังผล ในวันเดียว Getting to Zero รูปแบบการบูรณาการงานป้องกันและการดูแลรักษาเอชไอวีเอดส์ ความหมายของการตรวจเลือดเอชไอวีแบบฟังผลในวันเดียว ความจำเป็นสำหรับบางกลุ่มประชากร การให้การปรึกษาในการตรวจเลือดเอชไอวีแบบฟังผลในวันเดียว ข้อดีของการตรวจเลือดแบบทราบผลในวันเดียวกับงานบริการให้การปรึกษา การสร้างความมั่นใจของผู้ให้บริการให้การปรึกษา การตรวจเลือดแบบทราบผลในวันเดียว ความหมายของการตรวจเลือดเอชไอวีแบบฟังผลในวันเดียวในความหมาย ของห้องปฏิบัติการ การจัดบริการเพื่อตรวจเลือดเอชไอวี ในบริบทต่างๆ ในสถานบริการ นอกสถานบริการ ตัวอย่างพื้นที่ดำเนินการนำร่อง

แนวคิดสู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์ (Getting to Zero) เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ เป้าหมายไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ เป้าหมายไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ สำหรับ ปี 2555-2559 ประเทศไทยกำหนดพันธกิจสำคัญด้าน เอดส์และการทุ่มเททรัพยากร เพื่อให้บรรลุ วิสัยทัศน์และ เป้าประสงค์ ในการสู่ Getting to Zero

รูปแบบการบูรณาการการป้องกันและการดูแลรักษาเอชไอวี/เอดส์ การป้องกันโรค การปรึกษาเพื่อตรวจเลือด การดูแลรักษาโรค เป้าหมาย ลดจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เป้าหมาย ในผู้ที่ผลเป็นลบ: ยังคงผลลบ ในผู้ที่ผลเป็นบวก: ได้เข้าสู่การดูแลรักษาอย่างรวดเร็ว เป้าหมาย ลดการกระจายโรค ลดการป่วย การตายจากการติดเชื้อเอชไอวี แนวทางการดำเนินงาน ปรับเปลี่ยน/ลดพฤติกรรมเสี่ยง การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายโดยอาสาสมัคร การใช้ถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น การให้ความรู้เรื่องเอดส์/STI เพื่อสร้างความตระหนัก การให้การปรึกษาเบื้องต้นเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง การสื่อสารเพื่อปรับเปลียนพฤติกรรม ส่งเสริมการเข้าถึงบริการการปรึกษา/คัดกรองโรค การบริการให้การปรึกษาเพื่อตรวจเลือดเอชไอวี การตรวจคัดกรอง STI แนวทางการดำเนินงาน การเข้าถึงบริการในผู้ที่ยังไม่ทราบสถานะการติดเชื้อ การจัดบริการให้การปรึกษาที่เป็นมิตร การจัดบริการให้การปรึกษาและตรวจเลือดที่ทราบผลในวันเดียว การตรวจคัดกรองและการดูแลรักษา STI แนวทางการดำเนินงาน การส่งเสิมสุขภาพ การลดพฤติกรรมเสี่ยง (สารเสพติด ความเสี่ยงทางเพศ การใช้ถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น) การเปิดเผยผลเลือดและการตรวจเลือดคู่นอน ด้านจิตใจและสังคม การติดตามสถานะการติดเชื้อเอชไอวี การตรวจติดตามระดับ CD4 การคัดกรองโรคร่วม การป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส การติดตามการกินยาต้านไวรัส การเชื่อมโยงระบบส่งต่อและการติดตามประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพ

รูปแบบการบูรณาการการป้องกันและการดูแลรักษาเอชไอวี/เอดส์ การป้องกันโรค การปรึกษาเพื่อตรวจเลือด การดูแลรักษาโรค เป้าหมาย ลดจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เป้าหมาย ในผู้ที่ผลเป็นลบ: ยังคงผลลบ ในผู้ที่ผลเป็นบวก: ได้เข้าสู่การดูแลรักษาอย่างรวดเร็ว เป้าหมาย ลดการกระจายโรค ลดการป่วย การตายจากการติดเชื้อเอชไอวี แนวทางการดำเนินงาน ปรับเปลี่ยน/ลดพฤติกรรมเสี่ยง การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายโดยอาสาสมัคร การใช้ถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น การให้ความรู้เรื่องเอดส์/STI เพื่อสร้างความตระหนัก การให้การปรึกษาเบื้องต้นเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง การสื่อสารเพื่อปรับเปลียนพฤติกรรม ส่งเสริมการเข้าถึงบริการการปรึกษา/คัดกรองโรค การบริการให้การปรึกษาเพื่อตรวจเลือดเอชไอวี การตรวจคัดกรอง STI แนวทางการดำเนินงาน การเข้าถึงบริการในผู้ที่ยังไม่ทราบสถานะการติดเชื้อ การจัดบริการให้การปรึกษาที่เป็นมิตร การจัดบริการให้การปรึกษาและตรวจเลือดที่ทราบผลในวันเดียว การตรวจคัดกรองและการดูแลรักษา STI แนวทางการดำเนินงาน การส่งเสิมสุขภาพ การลดพฤติกรรมเสี่ยง (สารเสพติด ความเสี่ยงทางเพศ การใช้ถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น) การเปิดเผยผลเลือดและการตรวจเลือดคู่นอน ด้านจิตใจและสังคม การติดตามสถานะการติดเชื้อเอชไอวี การตรวจติดตามระดับ CD4 การคัดกรองโรคร่วม การป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส การติดตามการกินยาต้านไวรัส HIV testing STI diagnostic lab HIV monitoring lab ARV monitoring lab OIs diagnostic lab การเชื่อมโยงระบบส่งต่อและการติดตามประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพ 5

ความหมาย (Definition) การตรวจเลือดเอชไอวีแบบทราบผลในวันเดียว เป็นการตรวจหา แอนติบอดีต่อเชื้อเอชไอวี และรายงานผลให้ผู้รับบริการทราบผลการ ตรวจได้ภายในเวลาที่รับบริการครั้งนั้น ใช้การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ตามแนวทางการตรวจเลือดหาการ ติดเชื้อเอชไอวีของประเทศไทย ซึ่งปัจจุบันใช้ 3 ชุดตรวจในการ รายงานผลบวก โดยการใช้ชุดตรวจเพื่อทราบผลในวันเดียวต้องต้อง คำนึงถึงระยะเวลาในการรายงานผลการตรวจเลือด ความสะดวกของ ขั้นตอนการทำ ซึงระยะเวลาไม่ควรนานมากกว่า 1 ชั่วโมง มีขั้นตอนการให้การปรึกษาเช่นเดียวกับการให้การปรึกษาตรวจแบบ ดั้งเดิม ประกอบด้วยการให้การปรึกษาก่อนและหลังการตรวจเลือด (pre-และ post- test counseling)

ความสำคัญของการให้บริการการปรึกษาการตรวจเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว การให้บริการตรวจเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว เป็น ทางเลือกรูปแบบหนึ่งของการให้บริการ การให้การปรึกษาและ ตรวจเอชไอวี ไม่ได้เป็นวิธีที่มาทดแทนระบบการให้บริการการให้การปรึกษา และตรวจเอชไอวีที่ดำเนินงานอยู่ในปัจจุบัน แต่สามารถจัดเป็น บริการเพิ่มเติม เพื่อการขยายการให้บริการของการให้การ ปรึกษาและตรวจเอชไอวีให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาในกลุ่มประชากรที่มีแนวโน้มไม่กลับมาฟัง ผลการตรวจเลือด (Post test counseling) หรือกลุ่มที่มีความ จำเป็นต้องทราบผลเอชไอวีในทันที

กรณีที่แนะนำให้บริการตรวจเอชไอวีแบบทราบผลในวันเดียว จากการตรวจเอชไอวีในระบบปกติ กลุ่มที่มีแนวโน้มไม่กลับมาฟังผลการตรวจสูง กลุ่มประชากรที่ต้องการทราบผลเอชไอวีในทันที กลุ่มที่ให้การปรึกษาแบบเป็นคู่ คลินิกที่ให้บริการเฉพาะจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One stop service) หรือแยกส่วนออกมาต่างหากจากบริการ ทั่วไป และลูกค้าต้องการความเป็นส่วนตัวสูง กรณีอยู่ในสถานที่ไม่สามารถตรวจเอชไอวีในระบบ ปกติได้

1. กลุ่มที่มีแนวโน้มไม่กลับมาฟังผลการตรวจสูง กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย กลุ่มหญิงบริการ กลุ่มใช้ยาฉีดเข้าเส้น (Intravenous drug use) กลุ่มที่ผู้ให้การปรึกษาประเมินได้ว่าผู้รับบริการมีความ เสี่ยงที่จะไม่กลับมาฟังผลเลือด เช่น เป็นแรงงาน เคลื่อนย้าย โดยเป็นกลุ่มเข้าถึงยาก มีการเคลื่อนย้ายที่อยู่บ่อย มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอ และ มีความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีสูง วี ซึ่งควรส่งเสริมให้เข้าถึงบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ เพื่อให้กลุ่มนี้ มีความรู้และทักษะการป้องกันโรค ได้รับรู้เรื่องการรักษาสุขภาพ และมีความเข้าใจในเรื่องสุขภาพทางเพศมากขึ้น รวมทั้งความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรค การนำเอาบริการตรวจหาเอชไอวีแบบทราบผลในวันเดียวมาใช้ จึงเป็นรูปแบบหนึ่งของการให้บริการที่จะช่วยให้กลุ่มนี้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้น และได้รับฟังผลการตรวจเลือด รวมทั้งได้เข้ารับการดูแลรักษาในกรณีที่ผลการตรวจผิดปกติ การจัดบริการอาจทำได้หลายรูปแบบ เช่น การออกหน่วยให้บริการเชิงรุกเคลื่อนที่ไปในชุมชน สถานบริการ หรือ ให้บริการที่ศูนย์บริการปฐมภูมิที่ตั้งอยู่ใกล้กับกลุ่มเป้าหมาย

1. กลุ่มประชากรที่ต้องการทราบผลเอชไอวีในทันที หญิงตั้งครรภ์ที่มาคลอดโดยไม่ได้ฝากครรภ์ หรือไม่มีผล เลือดขณะมาคลอด ผู้ป่วยที่ต้องรับการผ่าตัดด่วนฉุกเฉิน ซึ่งการทราบผลเอช ไอวีในเวลาสั้น สามารถช่วยเหลือในการวางแผนการ รักษาได้ดีขึ้น กลุ่มเจ้าหน้าที่ผู้ให้การรักษาพยาบาลเกิดอุบัติเหตุเข็มตำ หรือ กรณีต้องการให้ยาเพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี หลังมีเพศสัมพันธ์ (Post exposure prophylaxis) สามารถทราบผลยืนยันได้ในเวลาสั้น

3. กลุ่มที่ให้การปรึกษาแบบเป็นคู่ การให้การปรึกษาแบบคู่ สามารถช่วยลดปัญหาการไม่ เปิดเผยผลเลือดระหว่างคู่ ปัญหาการไม่มาตรวจเลือด ของสามี รวมถึงการไม่กลับมาฟังผลเลือดของฝ่ายชาย ประเทศไทยได้ประกาศนโยบายที่ให้การปรึกษาแก่หญิง ตั้งครรภ์ พร้อมคู่ (สามี) ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2553 เพื่อ เพิ่มการมีส่วนร่วมเรื่องการตั้งครรภ์ และเพิ่มเข้าถึงการ ตรวจเลือดเอชไอวีของสามี ซึ่งนำไปสู่การป้องกันการ ถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี ระหว่างคู่เพศสัมพันธ์ และการ ถ่ายทอดเชื้อฯไปสู่ลูก

4. คลินิกที่ให้บริการเฉพาะ คลินิกที่ให้บริการตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งผู้มารับบริการอาจจะไม่พร้อมในการไปที่อื่นนอกจาก คลินิกนี้ เนื่องจาก อาย ไม่ต้องการเปิดเผยตัว คุ้นเคยกับเจ้าหน้าที่ ผู้ให้การปรึกษาสามารถเสนอบริการนี้ให้ไม่ต้องไปใช้ บริการในส่วนอื่นนอกคลินิก

5.กรณีอยู่ในสถานที่ไม่สามารถตรวจเอชไอวีในระบบปกติได้ หน่วยปฐมภูมิ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล มีข้อจำกัดไม่สามารถตรวจเอชไอวีในหน่วยบริการได้ ต้องส่ง เลือดเพื่อไปทำการตรวจในห้องปฏิบัติการอื่น เสียเวลาและ ค่าใช้จ่าย หากนำเอาวิธีทดสอบเอชไอวีด้วยชุดตรวจอย่างเร็ว (Rapid test) 3 ชนิดมาใช้ ก็จะสามารถตรวจและรายงานผลได้ ในสถานบริการนั้นๆเลย