ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย 1. แผนกวิจัยตลาด 2. ฝ่ายขาย พยากรณ์ยอดขาย 3. จากอุตสาหกรรม
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย 1. แผนกวิจัยตลาด - จากการวิเคราะห์แนวโน้มการขายในอดีต - ยอดขาย = 400,000 + .0034 รายได้ของลูกค้า - ในปีหน้าคาดว่าลูกค้ามีรายได้รวม 2,000 ล้านบาท
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย 2. ฝ่ายขาย ผลิตภัณฑ์ A ราคาหน่วยละ 50 บาท ผลิตภัณฑ์ B ราคาหน่วยละ 80 บาท คาดว่าขายได้ 75,000 80,000 85,000 90,000 หน่วย มี prob. 30% มี prob. 40% มี prob. 20% มี prob. 10% คาดว่าขายได้ 37,000 39,000 41,000 43,000 หน่วย มี prob. 15% มี prob. 40% มี prob. 30%
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย 3. จากอุตสาหกรรม - Growth Rate ของอุตสาหกรรมในปีงบประมาณหน้าคาดว่า จะมียอดเท่ากับ 7% - ยอดขายของบริษัทในปีปัจจุบัน 6,750,000 บาท
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย การพยากรณ์ยอดขายรายไตรมาส สินค้า A @ 50 สินค้า B @ 80 งวด ร้อยละ หน่วย จำนวนเงิน ร้อยละ หน่วย จำนวนเงิน Q 1 Q 2 Q 3 Q 4 10 20 60 100 8,000 16,000 48,000 80,000 400,000 800,000 2,400,000 4,000,000 20 15 50 100 8,000 6,000 20,000 40,000 640,000 480,000 1,600,000 3,200,000
ปัญหาในการวางแผนการขาย 1. นโยบายราคาในการวางแผนการขาย ก. การกำหนดราคา ข. การขายในราคาที่ต่างกัน 2. สายผลิตภัณฑ์กับการวางแผนการขาย 3. ความสะดวกในการจัดหาวัตถุดิบ 4. กำลังการผลิต 5. ปริมาณบุคลากรที่มีอยู่ 6. เงินทุนในการดำเนินงาน
การจัดทำแผนงบประมาณการขาย 1. พยากรณ์การขาย งบประมาณขาย กำลังการผลิต กำลังคน เงินทุน ปริมาณวัตถุดิบ
การจัดทำแผนงบประมาณการขาย 3. ร่างแผนงบประมาณขาย โดย 1. + 2. รวมถึง.... งบประมาณค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการขาย งบประมาณค่าใช้จ่ายในการจัดจำหน่าย 2. พิจารณาเรื่องต่างๆ ให้สอดคล้องกัน ราคาขาย ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย ค่านายหน้า ส่วนลด ฯลฯ
การจัดทำแผนงบประมาณการขาย 4. สรุปผลกำไรจากการดำเนินงานล่วงหน้า ปรับปรุงร่าง งบประมาณขาย ขออนุมัติ 5. ส่งงบประมาณขายที่อนุมัติให้ เป็นแผนดำเนินงานแล้วไปยัง หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางจัดทำแผน ของหน่วยงานต่อไป
การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายขายโดยงบประมาณ วางแผนงานขาย: งบประมาณขาย ตามสายงานที่รับผิดชอบในการดำเนินงาน เช่น ตามเขต ตามสาย ผลิตภัณฑ์ แยกตามระยะเวลา แยกตามพนักงานขายแต่ละคน งบประมาณอื่นๆ แยกตามประเภทสินค้า แยกตามเขตขาย แยกตามบุคคลผู้รับผิดชอบในการขาย
การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายขายโดยงบประมาณ การควบคุม: จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับงบประมาณ เปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานจริงกับงบประมาณ วิเคราะห์ผลต่าง
ความรับผิดชอบในการจัดทำแผนงบประมาณการขาย ผู้บริหารระดับสูง นักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ หัวหน้าฝ่ายขายหรือผู้จัดการฝ่ายขาย หัวหน้าฝ่ายงบประมาณหรือผู้อำนวยการงบประมาณ
ประโยชน์ของการจัดทำงบประมาณของฝ่ายขาย Control of Expenses Standard of Performance Co-ordinating Merchanism Evaluation Tools