ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ นายแพทย์สุเทพ วัชรปิยานันทน์ ผู้ช่วยปลัดกระทรวงสาธารณสุข ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๖ 1
ยุคสมัย.. แห่งการสาธารณสุขไทย
“รักษาฟรี ผู้มีรายได้น้อย” ยุคที่ 1 ยุคโรคติดต่อระบาด ปี 2511 สำนักงานผดุงครรภ์ ปี 2517 สุขศาลา ปี 2518 ประกาศ นโยบาย “รักษาฟรี ผู้มีรายได้น้อย”
ทศวรรษ...พัฒนาสถานีอนามัย ปี 2527 สถานีอนามัย ทศวรรษ...พัฒนาสถานีอนามัย ปี 2535
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2545-2546 หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 30 บาทรักษาทุกโรค
ปี 2553 รพ.สต.
ยุคสาธารณสุขมูลฐาน 2521 ยุคที่ 2 สสม. รณรงค์สร้างส้วม ภาวะโภชนาการในเด็ก
Primary Health Care N = Nutrition E = Education W = Water Supply 8 Elements N = Nutrition E = Education W = Water Supply S = Sanitation
T = Treatment of Common Diseases E = Essential Drugs 2521 สสม. Primary Health care 8 Elements I = Immunization T = Treatment of Common Diseases E = Essential Drugs M = Maternal and Child Health
ปีแห่งการณรงค์คุณภาพชีวิต 2528-2530 เกิด ปีแห่งการณรงค์คุณภาพชีวิต จปฐ. กม. กสต. คปต.
ประชุม ณ ประเทศ แคนาดา เกิด “Ottawa Charter” 2539 2543 Health For All สุขภาพดีถ้วนหน้า
ยุค “สร้างเสริมสุขภาพ” ยุคที่ 3 ยุค “สร้างเสริมสุขภาพ” NCD
“ส่งเสริมสุขภาพโลก ครั้งที่ 6” 2548 เจ้าภาพจัดประชุม “ส่งเสริมสุขภาพโลก ครั้งที่ 6” สิงหาคม 2548 The Bangkok Charter for Health Promotion in a Globalized World
วิวัฒนาการสุขภาพ Phase 1 Mortality Program ใช้การแพทย์แก้ปัญหา Phase 2 Morbidity Program ใช้การสาธารณสุขแก้ปัญหา Phase 3 Beyond Morbidity Program ใช้พฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์แก้ปัญหา
ความเชื่อมโยงและพลวัตเกี่ยวกับสุขภาพ กายภาพ/ชีวภาพ นโยบายสาธารณะ กรรมพันธุ์ เศรษฐกิจ/การเมือง พฤติกรรม วัฒนธรรม/ศาสนา ประชากร/การศึกษา ความเชื่อ ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม ความมั่นคง จิตวิญญาณ การสื่อสาร/คมนาคม วิถีชีวิต สุขภาพ เทคโนโลยี/องค์ความรู้ การแพทย์&สาธารณสุข กระแสหลัก ระบบบริการ สาธารณสุข บริการส่งเสริม&ป้องกัน&รักษา&ฟื้นฟู การแพทย์แผนไทย&พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ พลวัต
ระบบสุขภาพ ระบบสาธารณสุข ระบบ บริการทาง การแพทย์
สุขภาพ : สุขภาวะ สังคม จิต กาย บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม สร้างเสริม ป้องกัน จิตวิญญาณ (ปัญญา) รักษา สังคม ฟื้นฟู จิต กาย สุขภาพ : สุขภาวะ
นโยบายรัฐบาล ลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มการเข้าถึงบริการ ปรับปรุงคุณภาพบริการ ลดคิว/ระยะเวลารอแพทย์
Value Chain ปฐมภูมิ ลดแออัด เป้าหมาย – ลดจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังใน รพศ./รพท. ยุทธศาสตร์ – สุขภาพดีวิถีไทย, รพสต/ศสม, ระบบส่งต่อ รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ การส่งเสริมสุขภาพประชาชน จัดเวทีความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบ 6 อ. คัดกรองผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดย อสม. บริการให้คำปรึกษา หมอออนไลน์ บริการเยี่ยมบ้านต่อเนื่อง Hotline สุขภาพ บริการตรวจรักษา ที่ รพ.สต./ศสม. บริการส่งต่ออย่างครบวงจร บริการ Mobile Clinic 1.ลดจำนวนผู้ป่วย DM ใน รพศ/รพท. 2.ลดจำนวนผู้ป่วย HT ใน รพศ/รพท. โครงสร้างพื้นฐาน - ต่อเติม ปรับปรุง รพ.สต. 2. ครุภัณฑ์ - คอมพิวเตอร์ PC - อื่นๆ เช่น เครื่องมือวัดความดันโลหิต และ เครื่องตรวจเบาหวาน 3. สนับสนุนงบดำเนินการ 4. สื่อสาร( Skype ) 5. บุคลากร -อบรมพยาบาลเวชฯ 500 คน -อบรมจนท.รพ.สต. 9750 คน -อบรมแผนไทย 200 คน -อบรมทันตาภิบาล 400 คน -อบรม ผอ รพ.สต. 9,750 คน ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดี มีพฤติกรรมสุขภาพเหมาะสม สามารถควบคุมและลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง ภัยพิบัติ
สาธารณสุขมูลฐาน ( Primary Health Care ) แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) เวชปฏิบัติครอบครัว บริการปฐมภูมิ ( Primary medical care ) เขตเมือง : ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง ( ศสม.) เขตชนบท : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) สาธารณสุขมูลฐาน ( Primary Health Care ) แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM)
ลดแออัด OPD - บ้านที่อยู่ วิเคราะห์ผู้ป่วย 2. จัดระบบบริการ - ชนิดโรค 2. จัดระบบบริการ - สร้างความเข้มแข็ง รพ.สต. / ศสม. - สนับสนุนช่วยเหลือ
ลดแออัด IPD One day treatment รพช.เป็น ward รับส่งต่อกลับ จัดทีมดูแลการส่งกลับทุกวัน จัดระบบตามดูผู้ป่วย on line
ผู้ป่วย..จาก..... ลดแออัด ในอำเภอ : รพ.สต./ศสม. นอกอำเภอ : รพช. บ้าน /ชุมชน .. สร้างสุขภาพ PHC ..บริการเชิงรุก( Home Ward /HHC /Home Visit ) ผู้ป่วย..จาก..... ในอำเภอ : รพ.สต./ศสม. ..ปิด OPD // ..No OPD Walk In // นอกอำเภอ : รพช. ..พัฒนา Node ..พัฒนาคุณภาพ /ศักยภาพบริการ DM/HT Service Plan 23
พัฒนาคุณภาพบริการ รพ.สต. / ศสม. /รพช. DHS Referral System Service Plan วางเป้าหมาย ปรับกระบวนการทำงาน สนับสนุนทรัพยากร เป็นพี่เลี้ยง / ที่ปรึกษา ร่วมดำเนินงาน ติดตาม ประเมินผล 24
การนำนโยบายมาปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุข DHS สุขภาพดี/สุขภาวะดี DHS ระบบบริการสาธารณสุขที่ดี(ครอบคลุม และมีคุณภาพ) ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพดี (ปชช.มีศักยภาพ/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ) Primary Health Care (PHC) Basic Health Service (BHS) Service Oriented Service Plan เขต เน้น - 1° care - รพ.สต. - 1° care เขตเมือง:ศสม. ใช้ “ Family Medicine” พัฒนาคุณภาพบริการ/ ส่งต่อ -Development Oriented -แผนชุมชน/องค์กร ใช้ SRM/ค่ากลาง -กองทุนสุขภาพตำบล -โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพ (รน.สช.) -พัฒนา อสม. ต้นแบบ -ถอดบทเรียนการทำงานชุมชน
.............. ...............
สวัสดีครับ