มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค. 52 1
ความหมายของคำว่า “คุณธรรม” “จริยธรรม” ความหมายของคำว่า “คุณธรรม” “จริยธรรม” จริยธรรม คุณธรรม สภาพคุณงามความดี ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ (จาก พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2546) 2
ที่มา : จิตนา บุญจงการ (2551) ข้อแตกต่างระหว่างคุณธรรมจริยธรรมกับกฎหมาย เครื่องมือที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อควบคุมพฤติกรรมของบุคคล คุณธรรมจริยธรรม กฎหมาย ไม่ระบุการลงโทษอย่างชัดเจน แต่เป็นการลงโทษทางสังคม เป็นข้อบังคับทางสังคมไม่มี เป็นลายลักษณ์อักษร เป็นเรื่องของจิตสำนึกที่ควรทำ เพราะเห็นว่าดีถูกต้อง มีบทลงโทษสำหรับ ผู้ฝ่าฝืนอย่างชัดเจน เป็นข้อบังคับจากรัฐ ที่เป็นลายลักษณ์อักษร เป็นบทบัญญัติว่าด้วยต้องทำ และละเว้นการกระทำ ที่มา : จิตนา บุญจงการ (2551) 3
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม หลักการหรือ แนวทางปฏิบัติ องค์กร ประมวลขึ้น ให้สมาชิก ยึดถือปฏิบัติ เพื่อเป็นเครื่องมือ กำกับความประพฤติ ของคน ในองค์กรหรือ อาชีพเดียวกัน ให้อยู่ในความ ถูกต้องดีงาม 4
คติธรรมของสังคมชาวอังกฤษ 7 ประการ สัจจะ พูดความจริง (TRUTH) ความซื่อสัตย์สุจริต (HONESTY) ความระลึกในหน้าที่ (SENSE OF DUTY) ความอดกลั้น (PATIENCE) ความเป็นธรรม (FAIR PLAY) ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา (CONSIDERATION FOR OTHERS) เมตตาธรรม (KINDNESS) 5
การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรมของข้าราชการ ตำแหน่งประเภทระดับ ระดับที่ 1 มีความสุจริต ทั่วไป ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน วิชาการ ปฏิบัติการ ระดับที่ 2 มีสัจจะเชื่อถือได้ ทั่วไป อาวุโสขึ้นไป วิชาการ ชำนาญการ ระดับที่ 3 ยึดมั่นในหลักการ วิชาการ ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ ระดับต้น ระดับที่ 4 ยืนหยัดเพื่อความถูกต้อง วิชาการ เชี่ยวชาญ อำนวยการ ระดับสูง ระดับที่ 5 อุทิศตนเพื่อความยุติธรรม วิชาการ ทรงคุณวุฒิ 6
จรรยาบรรณของข้าราชการ ส.ป.ก. กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง มีความซื่อสัตย์สุจริตและความรับผิดชอบ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะพลเมืองดีของประเทศ ส.ป.ก. 24 ก.ย. 52 7
มาตรฐานในการปฏิบัติหน้าที่และจริยธรรม ผู้ตรวจราชการ ผู้รับการตรวจ ตรวจติดตามงาน เต็มความสามารถ รวดเร็ว ทันเหตุการณ์ ให้ความร่วมมือช่วยเหลือผู้รับการตรวจ ให้ความคิดเห็น เสนอแนะ ร่วมแก้ไขปัญหา สั่งการแก้ไขปัญหาอย่างถูกต้อง พึงดูแลเอาใจใส่ผู้รับการตรวจ ด้านการปฏิบัติงาน ขวัญกำลังใจ สวัสดิการ ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิด ความสามัคคี ร่วมแรงร่วมใจกันในการปฏิบัติงาน ปราศจากอคติ ไม่เลือกปฏิบัติ ประสานความร่วมมือ รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน อำนวยความสะดวกและให้ความร่วมมือ แก่ผู้ตรวจราชการ เตรียมหลักฐาน เอกสารครบถ้วน พร้อมให้ผู้ตรวจราชการตรวจสอบได้ มีวินัย วินัยในตนเอง ปฏิบัติตามระเบียบ จิตบริการ 8
ขอให้มีความสุขกับการทำงาน จบการบรรยาย ขอให้มีความสุขกับการทำงาน และ ทำงานอย่างมีความสุข 9