พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
Advertisements

การปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
พัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่อย่างเป็นระบบ (The Civil Service Academy)
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
กรมควบคุมโรค 8 มีนาคม 2554.
แผนแม่บทการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
Participation : Road to Success
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
เราเป็นผู้นำ.
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
การบริหารทรัพยากรบุคคล
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
สมรรถนะการทำงาน ดร. จักรพงศ์ สุวรรณรัศมี.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวางแผนคนวางแผนงานสำหรับหัวหน้างาน
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
Change Management.
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
วิพากษ์วิจารณ์ข้อดีของทฤษฎี
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 72 ให้ส่วนราชการมีหน้าที่ดำเนินการให้มีการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญเพื่อให้ข้าราชการพลเรือนสามัญมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ

(2) ข้าราชการต้องได้รับการพัฒนา อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง หลักการ พ.ร.บ. 2551 มาตรา 72 “การเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการของข้าราชการ พลเรือนสามัญ” (1) ข้าราชการต้องได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็น (2) ข้าราชการต้องได้รับการพัฒนา อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง หลักการ (3) ข้าราชการต้องได้รับการพัฒนา อย่างน้อย 10 วันต่อคนต่อปี (4) งบประมาณเพื่อการพัฒนาข้าราชการควรได้รับการจัดสรรไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓ ของงบบุคลากร 2

พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 76 ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาแต่งตั้งและเลื่อนเงินเดือน อีกทั้งให้นำผลการประเมินนี้ไปใช้ เพื่อประโยชน์ ในการพัฒนาและเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการด้วย 3

ว 20 / 2552 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ว 20 / 2552 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ให้มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างน้อย 2 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) ผลสัมฤทธิ์ของงาน และ (2) พฤติกรรมการปฏิบัติ ราชการหรือสมรรถนะ โดยผลสัมฤทธิ์ของงานจะต้องมีสัดส่วนคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ในระหว่างรอบการประเมินให้ผู้ประเมินให้คำปรึกษาแนะนำ ผู้รับการประเมินเพื่อการปรับปรุง แก้ไข พัฒนาเพื่อนำไปสู่ ผลสัมฤทธิ์ของงาน และพฤติกรรมหรือสมรรถนะในการปฏิบัติ ราชการ เมื่อสิ้นรอบการประเมินผู้ประเมินดังกล่าวกับผู้รับการประเมิน ควรร่วมกันทำการวิเคราะห์ผลสำเร็จของงาน และพฤติกรรม หรือสมรรถนะในการปฏิบัติราชการ เพื่อหาความจำเป็นในการ พัฒนาเป็นรายบุคคลด้วย

10

ระดับของสมรรถนะ แต่ละระดับมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน จนทำให้คนสังเกตได้ (Just Noticeable Difference) ดังนั้น หากมีสมรรถนะระดับสูงต้องมีสมรรถนะ ในระดับที่ต่ำกว่ามาก่อน

ความเข้มข้น หรือ ความสมบูรณ์ ของกิจกรรม ความซับซ้อน ของพฤติกรรม มิติของสมรรถนะ ความเข้มข้น หรือ ความสมบูรณ์ ของกิจกรรม ขนาด ของผลกระทบ ความซับซ้อน ของพฤติกรรม ระดับ ความพยายาม มิติเฉพาะ

การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) ความสมบูรณ์ ของการทำกิจกรรมในงาน มิติเฉพาะ ระดับนวัตกรรมที่สร้าง (ต่อหน่วยงาน ส่วนราชการ หรือ วิชาชีพ) ผลกระทบของผลสำเร็จในงาน (กลุ่มงาน องค์กร)

การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) แสดงความพยายามในการปฏิบัติหน้าที่ราชการให้ดี (พยายาม)+ ทำผลงานได้ตามเป้าหมาย (คุณภาพ & ปริมาณ)ที่วางไว้ (มีผลงาน) + ปรับปรุงวิธีการทำงาน ให้ได้ผลงานที่ดีขึ้น (ปรับปรุงวิธีการทำงาน) + ได้ผลงานใหม่ ที่ไม่เคยมีมาก่อน (ผลงานใหม่) + กล้าตัดสินใจ กล้าเสี่ยงเพื่อให้ บรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน

การสั่งสมความเชี่ยวชาญในอาชีพ(Expertise) ระดับของ วุฒิการศึกษา ระดับของ การบริหารจัดการความรู้ ขอบเขตของการเผยแพร่ความรู้ ความพยายาม ที่จะรักษา และ เพิ่มพูนความรู้

การสั่งสมความเชี่ยวชาญในอาชีพ(Expertise) แสดงความสนใจและติดตามความรู้ใหม่ๆในสายอาชีพของตนหรือที่เกี่ยวข้อง (สนใจติดตาม)+ แสดงให้เห็นว่ามีความรู้ใหม่ โดยควรกำหนดวิธีการ เช่น อธิบาย ถ่ายทอด (แสดงว่ามีความรู้) + นำความรู้มาปรับใช้กับการปฏิบัติงานให้มีผลงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น (ปรับปรุงผลงาน) + พัฒนาตนเองให้มีความรู้กว้าง และ รู้ลึก (รู้กว้าง/ลึก) + สนับสนุนการทำงานของคนอื่นๆในองค์กร เพื่อนำองค์กรสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้

การทำงานเป็นทีม (Teamwork) ระดับของ การช่วยเหลือ &สนับสนุนทีม ระดับความพยายาม ที่จะช่วยเหลือ สนับสนุนทีม ขนาดของ ทีมที่เกี่ยวข้อง

การทำงานเป็นทีม (Teamwork) ทำหน้าที่ของตนในทีมให้สำเร็จ (ทำหน้าที่ตนเอง) + ให้ความร่วมมือในการทำงานกับเพื่อนร่วมงาน (ร่วมมือกับเพื่อนร่วมทีม) + ประสานความร่วมมือของสมาชิกในทีม ถือเป็นการเริ่มตนทำงานผ่านผู้อื่น (ประสาน) + สนับสนุน ช่วยเหลือเพื่อนร่วมทีมเพื่อให้งานสำเร็จ โดยไม่ต้องรอให้ร้องขอ (สนับสนุน ช่วยเหลือ) + นำทีมให้ปฏิบัติภารกิจให้เกิดผลสำเร็จได้ ทำทีมเข้มแข็ง สามัคคี ไม่มีข้อขัดแย้ง

มาตรฐาน ความรู้ ทักษะ สมรรถนะหลัก สมรรถนะ ประจำกลุ่มงาน ในงาน กฎหมาย คอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษ การคำนวณ การจัดการข้อมูล สมรรถนะหลัก มุ่งผลสัมฤทธิ์ บริการที่ดี สั่งสมความเชี่ยวชาญในอาชีพ ยึดมั่นใน ความชอบธรรมฯ การทำงานเป็นทีม สมรรถนะ ประจำกลุ่มงาน กำหนดเอง 3 ตัว ต่างกันตามสายงาน

ตัวอย่าง สมรรถนะสำหรับสายงานต่างๆ

ผู้อำนวยการ นักวิชาการเกษตร นักวิชาการเงิน และบัญชี นายช่างไฟฟ้า/โยธา การคิดวิเคราะห์ การมองภาพองค์รวม ความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ ผู้อำนวยการ การมองภาพองค์รวม การคิดวิเคราะห์ การสืบเสาะหาข้อมูล นักวิชาการเกษตร นักวิชาการเงิน และบัญชี การตรวจสอบความถูกต้องตามกระบวนงาน ความยืดหยุ่นผ่อนปรน การคิดวิเคราะห์ นายช่างไฟฟ้า/โยธา /เครื่องกล/สำรวจ ความยืดหยุ่นผ่อนปรน การคิดวิเคราะห์ การตรวจสอบความถูกต้องตามกระบวนงาน ศิลปะการสื่อสารจูงใจ การดำเนินการเชิงรุก ความมั่นใจในตนเอง นักวิชาการเผยแพร่

บุคลิกภาพของท่านเป็นแบบใด ข้อที่ ก. ข. ค. ง. 1 I S C D 2 3 4

Gen BB Gen X Gen Y รูปแบบการปฏิสัมพันธ์ เป็นทีม ชอบการประชุม นักบริหาร นายจ้าง ชอบมีส่วนร่วม การสื่อสาร ส่วนตัว ตรงไปตรงมา ทันทีทันใด E-mail Voice mail Feedback ไม่ค่อยชอบ อยากทราบว่าทำงานเป็นอย่างไร อยากรู้ทันที Reward เงิน / ตำแหน่ง อิสระในการทำงาน งานที่มีความหมาย สิ่งที่จูงใจให้ทำงาน “คุณมีคุณค่า/ เป็นที่ต้องการ” ทำตามวิธีของตนเอง ไม่ต้องยึดกฎ ระเบียบ ให้ทำงานกับคนเก่ง

Generation in Organizations Categories Baby Boomer 1961-1960 2489-2507 Gen X 1961-1980 2508-2522 Gen Y 1981-2001 2523-2543 ค่านิยมในการ ทำงาน • งานมาก่อน • ประสิทธิภาพ, คุณภาพ • แสวงหาความสำเร็จในชีวิต • เริ่มกระด้างกระเดื่องกับผู้มีอำนาจ • ผ่อนงานที่หนักให้เบาลง • ช่างสงสัย • เน้นความเป็นระบบ และ ทิศทางที่ชัดเจน • ตนคือที่พึ่งแห่งตน • ดื้อ เชื่อมั่นในตัวเอง • เบื่อง่าย ชอบความท้าทาย • มุ่งเป้าหมาย • ทำหลายอย่าง คำนิยามของการทำงาน การผจญภัยที่ตื่นเต้น • ความท้าทายที่ยุ่งยาก • สัญญา (Contract) • เครื่องมือที่จะช่วยเติมเต็ม เป้าหมายบางอย่าง สไตล์การทำงาน • ทำงานหนัก • ชอบอ้างหลักการ • ประชาธิปไตย แต่ไม่ค่อยฟัง • เน้นความเป็นระบบ • หาเครื่องมือใหม่ๆมาช่วย ในการบริหารจัดการ • มีสไตล์เป็นของตนเอง • ใช้เทคโนโลยี • ทุกอย่างง่ายแค่เอื้อมสัมผัส การสื่อสาร • การพูดคุย • ต่อสายถึงกัน • E-mail / Voice Mail ข้อความที่กระตุ้น กำลังใจในการ • คุณคือคนที่เราต้องการ • คุณมีค่าสำหรับเรามาก • ลุยไปตามแบบของคุณเลย • ไม่ต้องพะวงกับกฎระเบียบนัก • คุณจะได้ทำงานกับเพื่อน ร่วมงานที่เจ๋ง ช่างคิดช่าง สร้างสรรค์ รางวัลที่ต้องการ • การได้รับการกล่าวขวัญถึง • ความมีอิสระในการทำงาน • การได้รับมอบหมายงานที่สำคัญ ชีวิตการทำงาน และครอบครัว • งานคือเงิน เงินคืองาน บันดาลสุข • งานคือชีวิต • ความสมดุลของงาน และ ครอบครัว • ชีวิตที่สมดุล งาน และเล่น

กฎ 5 ประการในการสื่อสาร

การนำกฎห้าประการไปประยุกต์ใช้ Key Principle เมื่อลูกน้อง ...... หัวหน้าต้องใช้วิธี..... Esteem จิตตก ท้อถอย หมดกำลังใจ ขาดความมั่นใจ เน้นที่ข้อเท็จจริง (อาทิ วิธีการทำงาน ผลที่เกิดขึ้น) โดยไม่เน้นที่ตัวบุคคล Empathy อยู่ในภาวะทางอารมณ์ อาทิเสียใจ ดีใจ โกรธ เห็นใจ แต่อาจไม่เห็นด้วย Involvement ไม่มั่นใจในศักยภาพของตนเอง ต้องดึงศักยภาพโดยการถามคำถาม หาโอกาสให้แสดงความคิด Share มีความเห็นไม่ตรงกับหัวหน้า หรือ ไม่แน่ใจ หรือ ไม่มั่นใจใน สิ่งที่หัวหน้าเสนอ สร้าง Trust เสนอทางเลือกหลายๆทาง โดยเปิดเผยความรู้สึก ความเห็น แลกเปลี่ยนความเห็น Support ต้องการการสนับสนุน ช่วยเหลือให้ช่วยตัวเองได้ สนับสนุนแต่ให้ทำเอง Five Key Principles for Communication