นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
Advertisements

วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
กลวิธี 3. มาตรการทางกฎหมายเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การดำเนินงาน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว จังหวัดอุตรดิตถ์
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
แนวทางการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค (HPH PLUS) ปีงบประมาณ 2552 ภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ.
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การสร้างแรงจูงใจและพัฒนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม
ความหมายและกระบวนการ
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ส่งเสริมสัญจร.
โครงการสำคัญตามนโยบาย
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
รายงานความก้าวหน้า การดำเนินงานโครงการสำคัญ โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน ด้านสุขภาพอนามัยและพัฒนาการ ของเด็ก พ
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดย ปวริศา ยอดมาลัย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี

พัฒนาการรวมปกติเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2542, 2547, 2550

พัฒนาการรวมปกติเด็กอายุ 1 - 3 ปี พ.ศ. 2542, 2547, 2550 พัฒนาการรวมปกติเด็กอายุ 1 - 3 ปี พ.ศ. 2542, 2547, 2550

พัฒนาการรวมปกติเด็กอายุ 4 – 5 ปี พ.ศ. 2542, 2547, 2550 พัฒนาการรวมปกติเด็กอายุ 4 – 5 ปี พ.ศ. 2542, 2547, 2550

น้ำหนักเทียบอายุเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2547, 2550 น้ำหนักเทียบอายุเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2547, 2550

ส่วนสูงเทียบอายุเด็กปฐมวัย ปี 2547, 2550

น้ำหนักเทียบส่วนสูงเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2547, 2550

การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

ความสัมพันธ์ของมาตรการส่งเสริม การพัฒนาเด็กปฐมวัยในแต่ละช่วงวัย ความสัมพันธ์ของมาตรการส่งเสริม การพัฒนาเด็กปฐมวัยในแต่ละช่วงวัย วัยรุ่น – ก่อนตั้งครรภ์ มุมเพื่อนใจวัยรุ่น บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น กิจกรรมสาธารณะในชุมชน ก่อนตั้งครรภ์ - คลอด ลูกครบ 32 สมองดี ควบคุมป้องกัน การขาดสารไอโอดีน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว 6 – 21 ปี คุณภาพการศึกษา โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร เรียนฟรี 15 ปี 3 – 6 ปี การเลี้ยงดูของพ่อแม่ ศูนย์เด็กเล็กเรียนรู้ กิน กอด เล่น เล่า เรียนรู้ แรกเกิด – 3 ปี การเลี้ยงดูของพ่อแม่ หนังสือเล่มแรก กิน กอด เล่น เล่า เรียนรู้

และการพัฒนาการของเด็ก พ.ศ. 2553 - 2555 ปี พ.ศ. 2553 ใช้งบกลางในวงเงิน มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 23 มีนาคม 2553 เห็นชอบในหลักการโครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก ในชุมชนด้านสุขภาพอนามัย และการพัฒนาการของเด็ก พ.ศ. 2553 - 2555 ปี พ.ศ. 2553 ใช้งบกลางในวงเงิน 60,964,000 บาท ให้กรมอนามัยเสนอขอตั้งงบประมาณ รายจ่ายประจำปี ตามความเหมาะสม และจำเป็น ปี พ.ศ. 2554 วงเงินที่ขอ 78,922,000 บาท ปี พ.ศ. 2555 วงเงินที่ขอ 92,545,762 บาท

โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน ด้านสุขภาพอนามัยและการพัฒนาการของเด็ก พ.ศ. 2553 - 2555

วัตถุประสงค์ 1. เด็กในศูนย์เด็กเล็กมีสุขภาพอนามัย พัฒนาการ และการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ 2. พัฒนาศักยภาพครูผู้เลี้ยงดูเด็ก / ผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ ทักษะ การดูแลสุขภาพอนามัยอย่างรอบด้าน 3. พัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน อปท. / หน่วยงานต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาเด็ก 4. พัฒนาศูนย์เด็กเล็ก เป็นศูนย์การเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย

การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชนด้านสุขภาพอนามัยและการพัฒนาการของเด็ก พ.ศ. 2553 - 2555 1. หนังสือเล่มแรก พัฒนาเจ้าหน้าที่สาธารณสุข มอบนิทานเด็กทุกคน อสม. ส่งเสริม/ติดตาม ผลลัพธ์ เด็กปฐมวัย สมส่วนพัฒนาการสมวัย ศูนย์เด็กเล็กเรียนรู้ ทักษะบุคลากรสาธารณสุข/ ผู้ดูแลเด็ก การมีส่วนร่วมของชุมชน 2. พัฒนาคุณภาพ ศูนย์เด็กเล็ก พัฒนาครูพี่เลี้ยง จัดทำสื่อสนับสนุน ประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก 4. การบริหารจัดการ รพ.สต. นิเทศ ติดตาม พ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก สร้างกระแสสังคม ประเมินโครงการ 3. อสม./องค์กรปกครองท้องถิ่น พัฒนาศักยภาพ อปท. มีส่วนร่วม สนับสนุน เยี่ยมติดตาม

ศูนย์เด็กเล็ก กรุงเทพมหานคร 328 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 17,821 กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ 1,663 กระทรวงสาธารณสุข 58 กระทรวงกลาโหม 104 กระทรวงแรงงาน 69 รวม 20,043

กลุ่มเป้าหมายการดำเนินงาน ปี 2553 ศูนย์เด็กเล็กที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 4,667 แห่ง ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับพื้นฐาน พัฒนาเป็นระดับดี จำนวน 876 แห่ง ปี 2554 ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับพื้นฐาน พัฒนาเป็นระดับดี จำนวน 4,522 แห่ง ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับดี พัฒนาเป็นระดับดีมาก จำนวน 2,000 แห่ง ปี 2555 ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับพื้นฐาน พัฒนาเป็นระดับดี จำนวน 5,832 แห่ง ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับดี พัฒนาเป็นระดับดีมาก จำนวน 2,000 แห่ง

เป้าหมายการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก พ.ศ. 2553 - 2555 เป้าหมายการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก พ.ศ. 2553 - 2555 ก่อนโครงการ 2553 สิ้นปี งบประมาณ 2553 สิ้นปี งบประมาณ 2554 สิ้นปี งบประมาณ 2555 ดีมาก 3,146 5,146 7,146 ดี 5,667 6,543 9,065 12,897 พื้นฐาน 6,563 10,354 5,832 ไม่ผ่าน 4,667 รวม 20,043

ผลลัพธ์ ศูนย์เด็กเล็กทั่วประเทศผ่านมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ เด็กในศูนย์เด็กเล็กมีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์อายุ ร้อยละ 93 เด็กในศูนย์เด็กเล็กมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90 ครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้เกี่ยวข้องมีทักษะ เรื่อง - อาหารที่จำเป็นต่อการพัฒนาสมอง - พัฒนาการ

โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน ด้านสุขภาพอนามัย และการพัฒนาการของเด็ก พ.ศ. 2553 - 2555 ผลลัพธ์ เด็กปฐมวัย สมส่วน พัฒนาการสมวัย ศูนย์เด็กเล็กเรียนรู้ ทักษะบุคลากรสาธารณสุข/ผู้ดูแลเด็ก การมีส่วนร่วมของชุมชน

สวัสดี